อีโคไล

Download Report

Transcript อีโคไล

เสนอ
ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ วิ ชั ย บุ ญ เจื อ
จั ด ทาโดย
นางสาวภาวิณี จิ น ดา รหั ส 54520547
คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ ภาค ภาษาอัง กฤษ (พิเ ศษ)
1
อี.โค.ไล E-Coli
Escherichia coli
Epidemiology
การติดต่ อ
เชื้อ อีโคไล ชนิดสร้ างชิก้า ท๊ อกซิน
การแพร่ ระบาดและการก่อโรค
การวินิจฉัยแยกโรค
อาการข้ างเคียง
การรักษา
การป้ องกันและทาลายเชื้อ
ทีม่ า
2
เชื้อ อีโคไล ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Escherichia coli หรือ
E-Coli เป็ น เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ (gram negative
bacteria GNB) ที่มีความสาคัญในการเกิดโรคในทางเดิน
อาหาร อยู่ใน วงศ์ (family) Enterobacteriaceae
3
4
 ซึ่ งล้วนแล้วแต่เป็ นเชื้อแกรมลบบาซิ ลไลซ์ที่ก่อให้เกิดโรค
ในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ Escherichia, Klebsiella,
Proteus, Enterobacter , Serratia ,Citrobacter , Morganella ,
Prowidensia ,Edwardsiella จริ งๆแล้วเชื้อ อีโคไล สามารถ
ก่อให้เกิดโรคที่ต่างๆในอวัยวะต่างๆของร่ างกายได้ แต่ที่เด่น
คือในระบบทางเดินอาหาร
5
epidemiology
โดยปกติ ในคนปกติ เราจะไม่พบเชื้อ อีโคไล ในทางเดิน
อาหาร คนที่จะเกิดอาการ เกิดจากการได้รับเชื้อในปริ มาณ
มากพอ เชื้ออีโคไลที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินอาหาร แบ่งเป็ น
สายพันธ์(strains) หรื อ path types 6 ตัวด้วยกันคือ....
6
 Shiga toxin producing E.coli หรือ STEC หรือ enter hemorrhagic
E.coli หรือ EHEC มีอาการคล้ายบิด อีโคไลพวกนีก้ ่อให้ เกิดอาการถ่ าย
ปวดบิดและมีเลือดปน
 Enter opathogenic E.coli หรือ EPEC
 Enter otoxigenic E.coli ETEC
 Enter invasive E.coli EIEC
 Enter aggregative E.coli EAEC
 Diffusely adherent E.coli DAEC
7
 ติดต่ อโดยการได้ รับเชื้อจากการกรับประทาน fecal oral
route เชื้อปนเปื้ อนในอาหาร หรือนา้ โดยเฉพาะ กลุ่ม
ETEC, STEC ,EIEC , EAEC , DAEC ส่ วนการติดต่ อ
โดยการสั มผัสคนสู่ คน เกิดใน EPEC และ STEC
8
 เชื้อชนิดนี้ เป็ นเชื้อในกลุ่มซึ่งสามารถสร้ างพิษ หรือ toxin ที่สามารถทา
ให้ เกิดอาการ ลาไส้ ใหญ่ อกั เสบแบบมีเลือดออก (hemorrhagic colitis)
หรือ อาการที่เรียกว่ า มีเม็ดเลือดแดงแตกและไตวาย Hemolytic Uremic
syndrome (HUS) เชื้อนีม้ ีการระบาดเป็ นระยะ เนื่องจากติดผ่ านเนือ้ หรือ
ผัก โดยเฉพาะเนือ้ ทีป่ รุงไม่ สุก และมีการระบาดในประเทศทีพ่ ฒ
ั นาแล้ว
เนื่องจากพฤติกรรมการรับประทาน โดยเฉพาะในกลุ่ม serotype
O157:H7 เป็ น serotype สาคัญ
9
 เชื้อในกลุ่มนีม้ ลี กั ษณะสาคัญ หลายอย่ าง อย่ างแรกทีส่ าคัญคือ
การสามารถสร้ างพิษ หรือ toxin ที่เรียกว่ า Shiga toxin Stx2
หรือ Stx1 (เหมือนเชื้อบิด Shigella ที่เรียกว่ า Stx) ซึ่งเป็ น
ลักษณะสาคัญในการก่ อโรคของกลุ่มนีเ้ ลยทีเดียว โดยเฉพาะ
Stx2 ซึ่งมีความสั มพันธ์ ในการก่ อโรค HUS พิษแบบ Shiga
toxins นี้ จัดอยู่ในกลุ่ม Ribosome-inactivating proteins (RIPs)
10
 ลักษณะอืน
่ ที่สาคัญ เช่ น การทนต่ อกรด และความสามารถใน
การเกาะยึดกับผนังลาไส้ หรือ adherence ซึ่งช่ วยทาให้ การก่ อโรค
ของเชื้อนีม้ ีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้ เราค้ นพบยีนหรื อ จีโมนทีส่ ร้ าง
การเกาะยึดที่เรียกว่ า Locus for enterocyte effacement (LEE)
จริงๆแล้ ว ยีนในตาแหน่ ง LEE มีพบใน EPEC ด้ วยเช่ นกัน และ
ก่ อให้ เกิดการจับยึดผนังลาไส้ และเชื้อในกลุ่ม STEC ที่มียนี
ตาแหน่ ง LEE นี้ จัดเป็ นอีกชื่อหนึ่งว่ าเป็ น Entero hemorrhagic
E.coli EHEC
11
 อีโคไล พวกนี้ ระบาดในกลุ่มประเทศทีพ
่ ฒ
ั นาแล้ว ในรูปแบบของอาหาร
สาเร็จ หรือแพคห่ อ เช่ นเนือ้ ผัก เชื้อเพียงแค่ น้ อยกว่ า 1000 CFU ก็
สามารถก่อโรคได้ และเมื่อมีการระบาด ในสถานที่บางแห่ งเช่ น สถานรับ
เลีย้ งเด็ก ก็อาจก่อให้ เกิดการระบาดต่ อเป็ น secondary infection ได้
 เชื้อ O157 เป็ นโรคที่รายงานเป็ นอันดับ 4 ของโรคติดเชื้อแบคทีเรียใน
ทางเดินอาหารของสหรัฐ (รองลงมาจาก Campylobacter , Salmonella ,
และ Shigella)
 ระยะการฟักตัว 3-4 วันหลังจากได้ รับเชื้อ มีอาการท้ องเสี ย ในตอนแรก
ต่ อมาจะมีอาการ STEC syndrome คือ ปวดท้ องบิด ถ่ ายเป็ นมูกปนเลือด
หรือเลือดสดๆใน 90% ของคนไข้ ปวดท้ อง ตรวจอุจจาระมีเม็ดเลือดขาว
ปน แต่ มักไม่ ค่อยมีไข้
12
ต้ องระวังเชื้อเหล่านีใ้ ห้ อาการคล้ายๆกันคือ
 shigella
 Campylobacter
 Clostridium difficile
 Inflammatory bowel disease ที่ไม่ ใช่ จากการติด
เชื้อ
 อาการของโรค STEC จะหายเอง ใน 5-10 วัน
13
 อาการข้ างเคียงแบบเม็ดเลือดแดงแตก และไตวาย HUS จะเกิดใน
2-14 วันหลังจากมีอาการท้ องเสี ย อีโคไลใน 2-8% ของคนไข้
โดยเฉพาะในกลุ่มคนอายุน้อย หรือคนแก่ ๆ เกิดจากการที่ พิษ Stx
กระจายเข้ าไปในกระแสเลือด และเกาะกับเม็ดเลือด ไปยังเส้ น
เลือดเล็กๆของไต และสมอง เกิดลิม่ เลือดอุดตันเล็กๆ ไข้ เกร็ด
เลือดต่า ไตวาย อาการทางสมอง เช่ นชัก ซึม และอาจก่ อให้ เกิด
อาการทางไตหรือสมองอย่ างถาวร
14
 การให้ สารนา้ อย่ างเหมาะสม และยาฆ่ าเชื้อ มีประโยชน์ อย่ างมาก
ในการรักษา
อีโคไลหลีกเลีย่ งยาในกลุ่ม loperamide ทีท่ าให้ หยุดท้ องเสี ย
 ยาฆ่ าเชื้อ E.coli ในกลุ่ม quinolone พอเพียงสาหรับการรั กษา
เช่ น ciprofloxacin ยาอืน่ ๆเช่ น 3rd generation cephalosporin,
amikacin
15
 เชื้อนีส้ ามารถป้องกันได้ โดย รับประทานอาหารทาสุ ก สะอาด
การทาให้ สุกโดยอุณหภูมิมากกว่ า 70 องศาเซลเซียสนานกว่ า
5 นาที แอลกอฮอล์ หรือยาฆ่ าเชื้ออ่ อน ก็ฆ่าได้ หมั่นล้ างมือให้
สะอาด และเมื่อสั มผัสผู้ทที่ ้ องเสี ย อย่ าลืมล้ างมือให้ สะอาด
16
 นพ.กิจการ จันทร์ ดา อายุรแพทย์
 http://infectious.thaihealth.net/
17
จบการนาเสนอ
The End!
กลับหน้ าหลัก
HOME
18