Transcript ******* 1

บทที่ 9
ปัจจัยดอกเบีย้ และการตัดสิ นใจทางการเงิน
(Interest Factor and Financial Decision)
ตัวอย่ าง (เพิม่ เติม) นายสองนาเงิน 500,000 บาท ไปลงทุนในบริษัทแห่ ง
หนึ่งเป็ นเวลา 10 ปี โดยได้ รับดอกเบีย้ ในอัตรา 10% ต่ อปี เมื่อครบกาหนดจะได้ รับ
เงินทั้งหมดเท่ าใด
F10
= P ( CVIF n = 10 ,i = 10% )
F10 =
F10 =
500,000 ( 2.5937 )
1,296,850 บาท
ตัวอย่ างเพิม่ เติม
นายพิเศษมีเงินอยู่ 200,000 บาท ในอนาคตต้ องการมีเงิ น
ทั้ ง หมด 466,320 บาท โดยถ้ า นายพิ เ ศษน าไปฝากกั บ สถาบั น
การเงินจะได้ รับดอกเบี้ยทบต้ นในอัตรา 8% ต่ อปี อยากทราบว่ า
นายพิเศษจะต้ องนาเงินไปฝากไว้ เป็ นเวลากีป่ ี
Fn =
i =
466,320
8%
P = 200,000
n = ? ปี
Fn
=
n
P(1+i)
n
200,000 ( 1 + 8% )
466,320 =
n
466,320 ÷ 200,000 = ( 1 + 8% )
( 1 + 8% )n = 466,320 ÷ 200,000
( 1 + 8% )n = 2.3316
เปิ ดตาราง CVIF i = 8%
n = 11 ปี
ดังนั้นนายพิเศษต้ องฝากเงินต้ น 200,000 บาท เป็ นเวลา 11 ปี แบบทบ
ต้ นในอัตราดอกเบีย้ 8% ถึงจะได้ รับเงินสิ้นปี ที่ 11 เท่ ากับ 466,320 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 13 หน้ า 224
ฝากเงินต้ นปี 10,000 บาท ดอกเบีย้ 12% ฝาก 1 ปี
คิดดอกเบีย้ ปี ละครั้ง สิ้นปี จะได้ รับเงินเท่ าไหร่
Fn
F1
F1
F1
F1
F1
=
=
=
=
=
n
x
m
P(1+i/m)
10,000 ( 1 + 12% / 1 )1 X 1
1
หรือ
10,000 ( 1 + 12%)
10,000 ( CVIF n = 1, i = 12%)
10,000 ( 1.1200)
= 11,200.00 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 13
ฝากเงินต้ นปี 10,000 บาท ดอกเบีย้ 12% ฝาก 1 ปี
คิดดอกเบีย้ งวด 6 เดือน สิ้นปี จะได้ รับเงินเท่ าไหร่
Fn
F1
F1
F1
F1
F1
=
=
=
=
=
P ( 1 + i / m )n x m
10,000 ( 1 + 12% / 2 )1 X 2
10,000 ( 1 + 6%)2
หรือ
10,000 ( CVIF n = 2 , i = 6%)
10,000 ( 1.1236)
= 11,236.00 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 13
ฝากเงินต้ นปี 10,000 บาท ดอกเบีย้ 12% ฝาก 1 ปี
คิดดอกเบีย้ งวดไตรมาส สิ้นปี จะได้ รับเงินเท่ าไหร่
Fn
F1
F1
F1
F1
F1
=
=
=
=
=
P ( 1 + i / m )n x m
10,000 ( 1 + 12% / 4 )1 X 4
หรือ
10,000 ( 1 + 3%)4
10,000 ( CVIF n = 4 , i = 3%)
10,000 ( 1.1255)
= 11,255.00 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 13
ฝากเงินต้ นปี 10,000 บาท ดอกเบีย้ 12% ฝาก 1 ปี
คิดดอกเบีย้ ทุก ๆ เดือน สิ้นปี จะได้ รับเงินเท่ าไหร่
Fn
F1
F1
F1
F1
=
=
=
=
=
P ( 1 + i/m )n x m
1
X
12
10,000 ( 1 + 12% / 12 )
12
หรือ
10,000 ( 1 + 1%)
10,000 ( CVIF n = 12 , i = 1%)
10,000 (1.1268)
F1 = 11,268.00 บาท
ตัวอย่ างเพิม่ เติม
นายพิเศษ ให้ นายวัน กู้ยมื เงินจานวน 300,000 บาท โดยคิด
อัตราดอกเบี้ย 10% ต่ อปี เป็ นเวลา 5 ปี แต่ คิดดอกเบี้ยทบต้ นทุก
ไตรมาส อยากทราบว่ า เมื่อ สิ้ นปี ที่ 5 นายพิเ ศษจะได้ รับ เงิน คืน
ทั้งหมดเท่ าใด
การคานวณมูลค่ าทบต้ นกรณีคดิ ดอกเบีย้ มากกว่ าหนึ่งครั้ง
Fn
F5
F5
F5
F5
F5
=
=
=
=
=
=
n
x
m
P ( 1 + i/m )
5
X
4
300,000 ( 1 + 10% / 4 )
20
300,000 ( 1 + 2.50%)
20
300,000 ( 1 + 0.025)
20
300,000 ( 1.025)
300,000 ( 1.6386164402)
การคานวณมูลค่ าทบต้ นกรณีคดิ ดอกเบีย้ มากกว่ าหนึ่งครั้ง
Fn
F5
F5
F5
n
x
m
P ( 1 + i/m )
=
5
X
4
= 300,000 ( 1 + 10% / 4 )
20
= 300,000 ( 1 + 2.50%)
= 300,000 ( 1.6386)
F5 = 491,580.00 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 5 หน้ า 220
จงค านวณเงิ น รวมของเงิ น ที่ ฝ ากเป็ น
งวดทุกสิ้นปี งวดละ 1,500 บาท เป็ นเวลา 5 ปี
คิดดอกเบีย้ ทบต้ นให้ ในอัตรา 12% ต่ อปี
การคานวณมูลค่ าทบต้ นของเงินสะสมหลายงวด ๆ ละเท่ า ๆ กัน
Fn
=P ( CVIFA n = 5 , i = 12% )
F5 = 1,500 (6.3528 )
F5 = 9,529.20 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 3 หน้ า 219
นายประหยัดฝากเงินกับธนาคารปี ละ 100,000
บาท เป็ นเวลา 10 ปี ธนาคารคิดดอกเบีย้ ให้ 14%
อยากทราบว่ านายประหยัดจะได้ เงินเท่ าไหร่
ก. เริ่มฝากในวันสิ้นงวด 31 ธันวาคม
การคานวณมูลค่ าทบต้ นของเงินสะสมหลายงวด ๆ ละเท่ า ๆ กัน
กรณีฝากทุกๆ สิ้นปี
Fn
=P ( CVIFA n = 10 , i = 14% )
F10 = 100,000 (19.3373 )
F10 = 1,933,730 บาท
ท้ ายบทที่ 9 ข้ อ 3 หน้ า 219
นายประหยั ด ฝากเงิ น กั บ ธนาคารปี ละ
100,000 บาท เป็ นเวลา 10 ปี ธนาคารคิดดอกเบีย้ ให้
14% อยากทราบว่ านายประหยัดจะได้ เงินเท่ าไหร่
ข. เริ่มฝากในวันต้ นงวด 1 มกราคม
Fn
F10
= P [( CVIFA n = ปี + 1 , i = % ) -1]
= P [( CVIFA n = 10 + 1 , i = 14% ) -1]
F10 = 100,000 [(CVIFA n = 11 , i = 14% ) - 1]
F10 = 100,000 [(23.0445 ) - 1]
F10 = 100,000 (22.0445)
F10 = 2,204,450.00 บาท
ตัวอย่ างเพิม่ เติม
นายพิเศษกาลังตัดสิ นใจว่ าจะรับเงินในขณะนี้ 123,000 บาท
หรื อจะรั บจานวน 196,000 บาท ในตอนสิ้ นปี ที่ 6 ท่ านควรช่ วย
ตัดสิ นใจอย่ างไรถ้ าอัตราส่ วนลดในขณะนีเ้ ท่ ากับ 5.50% ต่ อปี
ใช้ สูตร
การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน
1. ใช้ สูตร
P
=
P
=
P
Fn
( 1 + i )n
196,000
6
( 1 + 5.50% )
=
196,000
6
( 1 + 0.055)
การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน
1. ใช้ สูตร
P
P
=
196,000
6
( 1.055 )
=
196,000
( 1.37884280675)
การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน
1. ใช้ สูตร
P
=
P
=
P =
196,000
6
( 1.055 )
196,000
( 1.3788)
142,152.60 บาท
การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน
นายพิเศษกาลังตัดสิ นใจว่ าจะรับเงินในขณะนี้ 123,000 บาท
หรื อจะรั บจานวน 196,000 บาท ในตอนสิ้ นปี ที่ 6 ท่ านควรช่ วย
ตัดสิ นใจอย่ างไรถ้ าอัตราส่ วนลดในขณะนีเ้ ท่ ากับ 5.50% ต่ อปี
จากการคานวณจะเห็นได้ ว่าเงินจานวน 196,000 บาท ที่จะ
ได้ รับในอีก 6 ปี ข้ างหน้ าคานวณเงินค่ าปั จจุ บัน 142,152.60 บาท
ซึ่งมีค่ามากกว่ า 123,000 บาท ทีจ่ ะได้ รับในวันนี้
ดังนั้นนายพิเศษควรเลือกรับเงิน 196,000 บาท
ตัวอย่ างเพิม่ เติม
ค านวณมู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของมู ล ค่ า เงิ น ในอนาคตจ านวน
3,460,000 บาท โดยอัตราดอกเบีย้ (Interbank) 9% ในอีก 15 ปี
ข้ างหน้ า ว่ ามีมูลค่ าปัจจุบันเท่ าไหร่
ใช้ ตาราง
การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน
ค านวณมู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของมู ล ค่ า เงิ น ในอนาคตจ านวน
3,460,000 บาท โดยอัตราดอกเบีย้ (Interbank) 9% ในอีก 15 ปี
ข้ างหน้ า ว่ ามีมูลค่ าปัจจุบันเท่ าไหร่
ใช้ ตาราง
P = Fn (PVIF n = 15 , i = 9%)
P = 3,460,000 (0.2745)
P = 949,770.00 บาท
ดังนั้นมูลค่ าปัจจุบันของ 3,460,000 บาท ในอีก 15 ปี โดยมี
ดอกเบีย้ Interbank 9% เท่ ากับ 949,770 บาท
การคานวณเงินผ่ อน
ตัวอย่ างที่ 13 นายสิ บสาม กู้ยืมเงินจากธนาคาร 6,000,000 บาท โดยผ่ อนกับ
ธนาคารทุกสิ้ นปี เป็ นเวลา 7 ปี อัตราดอกเบี้ย 12% ต่ อปี อยากทราบว่ าจะต้ องผ่ อน
ชาระเงินกู้ เดือนละเท่ าใด
6,000,000
= Fn (PVIFA n = 84 , i = 1%)
7 ปี = 7 ปี X 12 เดือน = 84 เดือน
12% ต่ อปี = 12 % ÷ 12 เดือน = 1% ต่ อเดือน
การคานวณเงินผ่ อน
ตัวอย่ างที่ 13 นายสิ บสาม กู้ยืมเงินจากธนาคาร 6,000,000 บาท โดยผ่ อนกับ
ธนาคารทุกสิ้ นปี เป็ นเวลา 7 ปี อัตราดอกเบี้ย 12% ต่ อปี อยากทราบว่ าจะต้ องผ่ อน
ชาระเงินกู้ เดือนละเท่ าใด
6,000,000
6,000,000
= Fn (PVIFA n = 84 , i = 1%)
= Fn (56.6485)
Fn = 6,000,000 ÷ 56.6485
Fn = 105,916.31 บาท
ดังนั้นกู้เงิน 6,000,000 บาท ดอกเบีย้ 12% ต้ องผ่ อนทุก
เดือน ๆ ละ 105,916.31 บาท
แบบฝึ กหัด
ท้ ายบทที่ 9
ข้ อ 14 หน้ า 225
นายดี ใจเย็น กาลังพิจารณาจะซื้อบ้ านจัดสรรหลังหนึ่ง
ในราคา 600,000 บาท ถ้ าจะซื้อเป็ นเงินผ่ อนจะต้ องชาระเงิน
ดาวน์ ครั้งแรก 150,000 บาท และทีเ่ หลือแบ่ งชาระเป็ นงวดเท่ า ๆ
กัน 20 งวด งวดหนึ่งมีระยะเวลาเท่ ากับ 6 เดือน โดยชาระ
รวมทั้งเงินต้ นและดอกเบีย้ ซึ่งจะคิดในอัตรา 14% ต่ อปี ของ
ยอดเงินคงเหลือ
นายดี ใจเย็น จะต้ องจ่ ายชาระงวดละเท่ าใด
การคานวณเงินผ่ อน
P = 600,000 – 150,000 = 450,000 บาท
n = 20 (20 งวด)
i = 14% ÷ 2 = 7% (7% ต่ อ 6 เดือน)
450,000
= Fn (PVIFA n = 20 , i = 7%)
450,000
= Fn (10.5940)
450,000 ÷ 10.5940 = Fn
Fn = 450,000 ÷ 10.5940
Fn = 42,476.87 บาท
ดังนั้นกู้เงิน 450,000 บาท ดอกเบีย้ 14% ต้ องผ่ อนทุก
6 เดือน จะต้ องผ่ อนครั้งละ 42,476.87 บาท