เอกสารประกอบการอบรม

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการอบรม

การวิจยั เพือ่ พัฒนาชุมชนท้ องถิน่ บนฐานนิเวศ
วัฒนธรรม
ดร.บัญชร แก้ วส่ อง
ภารกิจสถาบันอุดมศึกษา
ผลิตบัณฑิต
ทะนุบารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม
วิจยั
บริ การสังคม
บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะทีผ่ ่ านมา
นักเรี ยน
นักศึกษา
บัณฑิต
ความรู้
นาเข้ า
ผู้สอน
? ความรู้ทไี่ ด้
วิจัย
จากการวิจัย
บริการสั งคม
ชุ มชนท้ องถิ่น
ทะนุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
เรารู้ จักตนเองมากน้ อยเพียงใด
เราเป็ นใคร
เรามาจากไหน
เราจะไปไหน
มีทางเลือกอื่นใดของชีวติ บ้างหรื อไม่
การพัฒนาทางเลือก
(Alternative development)
สถานการณ์ โลกปัจจุบันและแนวโน้ มในอนาคต
วิกฤติโลกร้อน
วิกฤติสังคม
วิกฤติพลังงาน
วิกฤติของการพัฒนากระแสหลัก
วิกฤติอาหาร
วิกฤติเศรษฐกิจ
คาถามบางประการในการพัฒนาท้ องถิ่น
•
•
•
•
•
•
•
•
•
จะพัฒนาอาชีพชุมชนท้องถิ่นให้มีท้ งั รายได้/ความสุ ขได้อย่างไร
จะฟื้ นฟูและสร้างเสริ มสุ ขภาพของชุมชนได้อย่างไร
จะฟื้ นฟูป่าเพื่อสร้างเป็ นแหล่งอาหารได้อย่างไร
จะพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิ่นได้อย่างไร
จะพัฒนาระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้อย่างไร
เรามีวฒั นธรรมประเพณี ที่ดีงามอะไรบ้าง จะฟื้ นฟูสร้างสรรค์ได้อย่างไร
ทาอย่างไรเยาวชนในพื้นที่จึงจะไม่ก่อปัญหาการทะเลาะวิวาทกัน
เราจะสร้างชุมชนที่เกื้อกูลแบ่งปันกันได้อย่างไร
ฯลฯ
สองระบบความคิดของการพัฒนา
•
•
•
•
•
•
•
การพัฒนากระแสทุน
การพัฒนากระแสทางเลือก
Gross Domestic Product-GDP
Gross Domestic Happiness-GDH
(ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ)
ทุนที่เป็ นตัวเงิน
การแข่งขันอย่างเสรี
การค้าอย่างเสรี
ทาให้เกิดการบริ โภค
ลัทธิวตั ถุนิยม
ความไม่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
การพัฒนาแบบไม่สมดุล
•
•
•
•
•
•
•
(ความสุ ขมวลรวมประชาชาติ)
ทุนมนุษย์และสังคม
การอยูร่ ่ วมกัน
การแลกเปลี่ยนแบบเลือกเฟ้ น
ความพอเพียง การออม
การพัฒนาทางวัฒนธรรม จิตวิญาณ
การเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
การพัฒนาแบบมีสมดุล
สองขั้วของวิถีการพัฒนา
• วิถีโลกาภิวฒ
ั น์
•
•
•
•
•
•
(Globalization)
มาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก
มุ่งการใช้ ประโยชน์ สูงสุ ดจากทรัพยากร
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือ
สาคัญ
การผลิตแบบMass สู่ การทากาไรสู งสุ ด
ระบบความสั มพันธ์ แห่ งการแข่ งขัน
เป้ าหมายคือความเป็ นหนึ่งเหนือบุคคลอืน่
• วิถีท้องถิ่น
•
•
•
•
•
•
(Localization)
มาตรฐานทีห่ ลากหลายของท้ องถิ่น
มุ่งการอยู่ร่วมกับทรัพยากรอย่ างยัง่ ยืน
ความเชื่อและเทคโนโลยีพนื้ บ้ านเป็ น
เครื่องมือสาคัญ
การผลิตแบบพอเพียง สู่ การเกือ้ กูลแบ่ งปัน
ระบบความสั มพันธ์ แห่ งการร่ วมมือ
เป้ าหมายคือการอยู่ร่วมกันของสั งคม
การวิเคราะห์ พลังท้ องถิ่น
ตามแนวนิเวศน์ วฒ
ั นธรรม
ชุมชนท้ องถิน่ แบบองค์ รวม
มี
มีวิถีการ
ความสัม
ผลิต:
พันธ์
ปากท้อง
คน/ชุ มชน/ท้ องถิ่น
มีระบบ
คิด คุณค่า
แนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
เขตอภัยทาน
ผีประจาแหล่ งนา้
หาปลานากัน
ปลาแดกแลกข้ าว/
ขายปลาซื้อข้ าว
วิถีชีวติ คนทาม
•หาปลา
•ของป่ า
•นาทาม
•เลีย้ งสั ตว์
นิเวศน์ ทาม
•ทีล่ ุ่มลานา้
•ป่ าทาม
ความเชื่อทีส่ ั มพันธ์ กบั ระบบนิเวศน์
ผีนา
ผีปู่ตา/ดอนปู่ ตา
เจ้ าป่ า เจ้ าดง/ภู
ผีบ้านผีเฮือน
ผีประจาต้ นไม้
ระบบความสั มพันธ์ ทางสั งคม
ลงแขกทานา
การเลีย้ งสั ตว์ ร่วมกัน
ทาไร่ ร่วมกัน
ข้ าวแลกปลา/ของป่ า
ของป่ าแลกข้ าว/
ขายข้ าวซื้อข้ าวซื้อปลา
ขายของป่ า ซื้อข้ าว ซื้ออาหาร
วิถีชีวติ คนทุ่ง
•ทานา
•เลีย้ งสั ตว์
นิเวศน์ ทุ่ง
•ทีร่ าบ
•นา
วิถีชีวติ คนโคก
•ทานาดอน/ไร่
•ของป่ า
•เลีย้ งสั ตว์
วิถีชีวติ คนดง/ภู
•ของป่ า
•เลีย้ งสั ตว์
•ทาไร่
นิเวศน์ โคก
•ทีด่ อน
•ป่ าโคก
ระบบนิเวศน์ และวิถีชีวติ ภาคอีสาน
นิเวศน์ ภู
•ทีส่ ู งลาดชัน
•ป่ าดง/ภู
บริบททางสั งคม
•การขยายตัวของเมือง
•การอพยพเข้ าเมือง
•วัฒนธรรมการบริโภค
ของสั งคมเมือง
องค์ ประกอบของชุมชนท้ องถิ่น
ช่ วงเวลาการเปลีย่ นแปลงและผลกระทบ
T1……T2……T3……Tn
ชุมชนอืน่
•นิเวศน์ นา้ ทาม ทุ่ง โคก ภู
•ความหลากหลายทางชีวภาพ
•ระบบการผลิต
•ภูมปิ ัญญาการผลิต
ระบบนิเวศน์
บริบททางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
•เทคโนโลยีการสื่ อสาร Mobile
•เทคโนโลยีชีวภาพ GMO
•นาโนเทคโนโลยี
ระบบคุณค่ า
คน กลุ่มคน
และชุมชน
โลกาภิวฒ
ั น์
บริบททางเศรษฐกิจ
•การขยายตัวของพืชพาณิชย์
•การพัฒนาอุตสาหกรรม
•โลกาภิวตั น์ /บรรษัทข้ ามชาติ
•ความเชื่อพุทธ/ผี
•ลัทธิบริโภคนิยม
เมือง
•ความสั มพันธ์ เชิงวัฒนธรรม
•ความสั มพันธ์ เชิงเศรษฐกิจ
•ความสั มพันธ์ เชิงการเมือง
ระบบสั งคม
บริบททางการเมือง
•นโยบายการพัฒนา เช่ น
เขือ่ น เมกะโปรเจกต์
•การเมืองระหว่ างประเทศ
กลุ่มชาติพนั ธุ์ในภาคอีสาน
ผู้ไท
ย้ อ
ฯลฯ
ลาว
ไทคอนสาร
กะเลิง
ไทยโคราช
เยอร์
เขมร
บรู ว์
กูย
หญะกุร
โซ่
พหุลกั ษณ์ ของชุมชนท้ องถิ่นอีสาน
ระบบความสั มพันธ์ หลากหลาย
•ความสั มพันธ์ เชิงเครือญาติ
•ความสั มพันธ์ เชิงอุปถัมภ์ ทางเศรษฐกิจ
•ความสั มพันธ์ เชิงอุปถัมภ์ ทางการเมือง
•ความสั มพันธ์ เกือ้ กูลของเมือง-ชนบท
ความหลากหลายอาชีพ
ชุ มชนท้ องถิ่น
•หาปลา/หาของป่ า
•ทานา/เลีย้ งสั ตว์ /กสิ กรรม
•รับจ้ างชั่วคราวของภาคเกษตรในพืน้ ที่
•รับจ้ างอุตสาหกรรมแบบชั่วคราวและถาวร
•ค้ าขายรถเร่ /ตลาดนัด
เทคโนโลยีที่หลากหลาย
•ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น
•รับเทคโนโลยีใหม่
•การผสมผสานเทคโนโลยี
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•ลงแขก-จ้ าง
•การฟื้ นฟูวฒ
ั นธรรมและการขาย
•การคืนสู่ ถิ่นของแรงงานในเมือง
•วัฒนธรรมต่ างชาติในท้ องถิ่น
•การผสมผสานของหลายเชื้อชาติ
องค์ ความรู้ : รู ปแบบการพัฒนา
• ระบบการจัดการทรัพยากรโดยองค์กรชุมชน/ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศน์
วัฒนธรรม
• ระบบสวัสดิการ/วิสาหกิจ/การแลกเปลี่ยนชุมชนท้องถิ่น
• การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
• การพัฒนาคุณธรรม
• การจัดการความขัดแย้งในท้องถิ่น/การเสริ มสร้างศักยภาพองค์การปกครองส่ วน
ท้องถิ่น
• การจัดการศึกษาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น/การพัฒนาหลักสู ตร/การปฏิรูปการศึกษา
ชุมชนท้องถิ่น
• การแพทย์พ้นื บ้าน/การฟื้ นฟูสมุนไพร/การพัฒนาระบบสุ ขภาพท้องถิ่น
การวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น
(Community Based ResearchCBR)
ทาไมต้ องวิจัยท้ องถิ่น
•
•
•
•
•
•
เพื่อให้รู้จกั ตนเองและชุมชนท้องถิ่นของตนเอง
การทาความเข้าใจรากเหง้าของชุมชนท้องถิ่น
เพื่อให้ได้ทางเลือกการพัฒนาที่เหมาะสมกับนิเวศน์วฒั นธรรมท้องถิ่น
สร้างสานึกรักท้องถิ่น
สร้างพลังอานาจให้ชุมชนท้องถิ่น
การปลดปล่อยทางปัญญาของชุมชนท้องถิ่น
เป้าหมายการวิจัยท้ องถิ่นโดยรวม-สร้ างองค์ 3
เกิดจิตสานึกท้ องถิ่น
การสร้ างนักวิจัยชุ มชน/
ผู้ตื่น ผู้รู้ ผู้เบิกบาน
การสร้ างองค์ ความรู้
ท้ องถิ่น/
องค์ ความรู้การพัฒนา
เกิดภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น
และกระบวนการเรียนรู้
การพัฒนาท้ องถิ่น
แบบองค์ รวม
การสร้ างความ
เข้ มแข็งกลุ่ม องค์ กร
และเครือข่ าย
ความเข้ มแข็งขององค์ กร
และเครือข่ าย
การวิจัยคืออะไร
• “การซอกหา” ความรู ้ใหม่
• “สะราวจรี ว” (สาวลงลึก)
• Re-search ค้นหา ค้นแล้วค้นเล่า
• การค้นหาความรู ้ใหม่โดยใช้วธิ ีการทาง
วิทยาศาสตร์ หรื อวิธีการอื่นใดที่เชื่อถือได้
• การทาความเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
และสังคม
การทาความเข้ าใจปรากฏการณ์
ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ
•
•
•
•
•
แผ่นดินไหวที่จีน
พายุถล่มที่พม่า ไต้หวัน
ปรากฏการณ์สึมามิ
ไฟไหม้ป่าแคลิฟอร์เนีย
มดอพยพ
ปรากฏการณ์ ทางสั งคม
•
•
•
•
•
คนชนบทอพยพเข้าเมือง
เด็กผูห้ ญิงตามล่าเด็กชาย
ค่านิยมการแต่งงานกับฝรั่ง
เด็กติดยาเสพย์ติด/ทะเลาะวิวาท
ชุมชน/สังคมแตกแยก
การทาความเข้ าใจปรากฏการณ์ ทางสั งคม
•
•
•
•
•
•
การทาความเข้าใจปรากฏการณ์หนี้สินของชาวนา
การค้นหาวิธีการฟื้ นฟูและพัฒนาระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
การทาความเข้าใจระบบเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน
การค้นหาวิธีการฟื้ นฟูป่าเพื่อเป็ นแหล่งอาหารของชุมชน
การฟื้ นฟูและพัฒนาเขตอภัยทานในลาน้ า
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
วิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่ วม
Participatory Action Research: PAR
Research
การวิจัย:
ได้ ความรู้ ใหม่ จาก
การปฏิบัติการร่ วมกัน
Action
การปฏิบัติการ:
ได้ วธิ ีการและกระบวน
การพัฒนา
Participatory
การมีส่วนร่ วม:
ได้ พลังของการพัฒนา
ของชุ มชนท้ องถิ่น
แบบแผนโดยทั่วไปของการวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น
ใครต้ อง/ควรมีส่วนร่ วม
ผู้นา/กลุ่มและคนในพืน้ ที่
-เจ้ าของพืน้ ที่และวิถีชีวติ
-สร้ างและรับผลพลังการเปลีย่ นแปลง
นักวิชาการ
-ศักยภาพการคิดวิเคราะห์
-สร้ างพลังการวิจัย
นักพัฒนาเอกชน/รัฐ
-ศักยภาพเชิงกระบวนการพัฒนา
-สร้ างพลังการพัฒนา
กระบวนการวิจัยเพือ่ การพัฒนาท้ องถิ่น
การปฏิบัติการ
พัฒนา
การพัฒนาประเด็น
และคาถามการวิจัย
การออกแบบ
การวิจัยเบื้องต้ น
การจัดและพัฒนา
ทีมวิจัย
การเก็บรวบรวม
และวิเคราะห์ ข้อมูล
การออกแบบ
การพัฒนา
การประเมินและ
สรุปผลการพัฒนา
ควรจะมีส่วนร่ วมในขั้นตอนใดของการวิจัย ร่ วมระดับใด
การพัฒนาประเด็น
และคาถามการวิจัย
ออกแบบ
ปฏิบัติการ
1…2…
การออกแบบ
การวิจัยเบื้องต้ น
การจัดและพัฒนา
ทีมวิจัย
การปฏิบัติการ
1…2…3…n
การเก็บ
รวบรวมข้ อมลู
การวิเคราะห์
ข้ อมูล
การทบทวนสรุป
1…2…3…n
การประเมิน
และสรุปผล
การเขียนรายงาน
การวิจัย
กระบวนการสาคัญ: อริยสั จจ์ 4 ประการ
ทุกข์: การศึกษาความ
ทุกข์ให้ชดั
ความรู้ ใหม่ ได้ จากการเก็บรวบรวม
และวิเคราะห์ ข้อมูล
สมุทยั : การวิเคราะห์
เหตุแห่งทุกข์เพือ่
วางแผนปฏิบตั ิการให้
พ้นทุกข์
นิโรธ: การกาหนด
เป้ าหมายสู่ การดับ
ทุกข์
ความรู้ ใหม่ ได้ จากการสรุ ปบทเรียน
และวิเคราะห์ ผลการปฏิบัตกิ าร
มรรค: การลงมือ
ปฏิบตั ิการเพื่อการดับ
ทุกข์
ใครควรเข้ ามามีส่วนร่ วม
กลุ่มผูเ้ กี่ยวข้อง
จากภายนอก
กลุ่มผูน้ า
กลุ่มผูเ้ กี่ยวข้องจาก
ชุมชน
กลุ่มคนในชุมชนทีส่ าคัญ
กลุ่มผูอ้ าวุโส
กลุ่มผูน้ าทางการ
กลุ่มแม่บา้ น
กลุ่มอาชีพ
กลุ่มมรรคทายก
กลุ่มเยาวชน
Level of Participation
ร่ วมอย่ างไร
การมีส่วนร่ วมแท้ จริง
(Genuine
Participation)
-ร่ วมตัดสิ นใจ
การมีส่วนร่ วมบางส่ วน
(Partial Participation)
-ร่ วมแสดงความคิดเห็น
การมีส่วนร่ วมเทียม/แบบพิธีกรรม
(Pseudo Participation)
-ร่ วมรับรู ้
ลักษณะการมีส่วนร่ วม-จะร่ วมแบบไหน
• การมีส่วนร่ วมแบบ
– Direct Participation-การมีส่วนร่ วมโดยตรง
– Indirect Participation-การมีส่วนร่ วมโดยอ้อม
• การมีส่วนร่ วมแบบ
– Active Participation-การมีส่วนร่ วมแบบแข็งขัน
– Passive Participation-การมีส่วนร่ วมแบบเฉื่ อยชา
รู ปแบบและคุณลักษณะการวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น
ประเด็นปัญหาสอด
คล้องกับสถานการณ์ ท้องถิ่น
ฐานคิดการวิจัยตั้งอยู่บนฐาน
ปรากฏการณ์ และประสบการณ์
วิธีการร่ วมมือร่ วมใจและ
การมีส่วนร่ วมของท้ องถิ่น
การใช้ วธิ ีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบคนใน
ทาความเข้ าใจสภาพท้ องถิ่น
ใช้ ประวัติศาสตร์ บอกเล่าของท้ องถิ่น
และรื้อฟื้ นภูมิปัญญาท้ องถิ่น
การผลิตซ้าของชุ ดปฏิบัตกิ าร
และสรุปบทเรียน
รูปแบบและกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น
Node
-
แผนที่เดินดิน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์
ชาวบ้าน/องค์กรชุมชน
ประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่น
การค้ นหาศักยภาพทางสั งคม:
การทาแผนทีท่ างสั งคม
Social Mapping
สภาพสังคม วัฒนธรรม
ประเพณี
สถานภาพเศรษฐกิจท้องถิ่น
การสร้ างความคุ้นเคย (Rapport) ลึง้
ใช้ความมักคุน้ ส่ วนตัว
สร้างผ่านคนรู ้จกั กัน
ใช้ความสังเกตสิ่ งที่น่าสนใจ หยิบขึ้นมาเป็ นประเด็นสนทนานา
ให้เวลาเป็ นของชาวบ้านให้มากที่สุด
กรณี สมุนไพรดอนจาน หมากมีพลูไปฝากด้วย หรื อนัง่ เคี้ยวหมาก
ด้วยกัน
• กรณี ควายทาม ไปนัง่ กินข้าวกลางวันด้วยกันตอนเลี้ยงควาย
•
•
•
•
•
วิธีการเก็บข้ อมูล
•
•
•
•
•
โสเหล่ (Focus group)
โฮมกัน (Group Interview)
เว่ าสู่ ฟัง (Oral History)
ส่ อ (Indept-interview)
ซอมเบิ่ง(Participant
observation)
• จอบเบิ่ง(Observation)
-ใช้ แบบสอบถาม
-สารวจ เดินดู ร่ วมกันกับผู้รู้
จัดทาแผนทีก่ ายภาพ
บันทึก
การตรวจสอบข้ อมูล/การวิเคราะห์ ข้อมูล
• การตรวจสอบข้ ามพืน้ ที่
• การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ นโดยทีมวิจยั
• การจัดเวทีนาเสนอและแลกเปลีย่ นข้ อมูล
แผนที่เดินดิน
• การเดินลงไปในชุมชนศึกษากายภาพ สั งเกตทีอ่ ยู่
อาศัย/สภาพบ้ านเรือน สอบถามข้ อมูลทัว่ ไปของชุมชน
จากชาวบ้ านอย่ างไม่ เป็ นทางการ
• คือการทาแผนทีช่ ุมชนและทรัพยากรทีม่ อี ยู่ในชุมชน
ดร. จตุรงค์ บุณยรัตนสุ นทร
การเดินสารวจเพือ่ ทาแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่ วม
แผนทีก่ ายภาพเน้ นสภาพแวดล้ อม
การศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชุมชน
การศึกษาถึงเรื่องราวความเป็ นมาของชุมชน
ในด้ านต่ างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม และ
การเมือง
จะช่ วยให้ เข้ าใจถึงทีม่ าทีไ่ ปของปรากฏการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึน้ ใน
ชุมชน
การศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชุมชน-การสั มภาษณ์ กลุ่ม: โสเหล่
การสร้ างประวัติศาสตร์ แบบมีส่วนร่ วม
ผ่ านเส้ นเวลา (Timeline)
เหตุการณ์
สาคัญ
2509
2520
กายภาพและ
ระบบนิเวศน์
สร้างเขื่อน
น้ าท่วม/ย้าย
บ้าน
ถนน
คอนกรี ต
หาปลา/เลี้ยง หาปลา/เลี้ยง
สัตว์
สัตว์/รับจ้าง
ตัดอ้อย
คนอพยพมา
จากที่อื่น
คนเลี้ยง
เลี้ยงปลาใน ลดลง
กระชัง
ปลูกผักสวน ต่างคนต่าง
ครัว
อยู่
ปู่ หลุบ
เขตอภัยทาน
ครัวเรื อนและ
การทามาหากิน รับจ้าง
ก่อสร้าง
ความสัมพันธ์
ความเชื่อ/
คุณค่า
ศาลปู่ หลุบ
2530
2540
2550
การวิเคราะห์ ประวัติศาสตร์ ผ่านการเปลีย่ นแปลง
แต่ ละช่ วงเวลา
ประเด็น
•ระบบนิเวศน์และ
การเปลี่ยนแปลง
•การทามาหากิน
และการ
เปลี่ยนแปลง
•ระบบ
ความสัมพันธ์/
การเมือง
•ระบบความคิด/
ยุคก่ อตั้งถิ่นฐาน
2513 2521
ยุคเปลีย่ นแปลง
ยุคปัจจุบัน
2522-2538 2538 2550
ข้ อมูลประวัตศิ าสตร์ ของชุมชน
•
ยุคก่อตั้งถิ่นฐาน –ยุคบ้านป่ า/บ้านไร่ (2496-2516)
–
–
–
–
–
•
ระบบนิเวศน์และสภาพกายภาพของพื้นที่
ครัวเรื อนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน แหล่งที่ต้ งั
การทามาหากิน/อาชีพของคนในยุคแรก-หาของป่ า ไร่ ขา้ วโพด ไร่ ถวั่
ระบบความสัมพันธ์และการปกครองชุมชนยุคแรก
ระบบความคิด ความเชื่อ คุณค่า
ยุคการสร้างเขื่อนและพืชไร่ (2516-2525)
– การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์และกายภาพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
– การเปลี่ยนแปลงการทามาหากิน อาชีพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง -มะขามหวาน ลาไย รับจ้าง
– การเปลี่ยนแปลงระบบอื่น ๆ และสาเหตุการเปลี่ยนแปลง
•
ยุคไม้ผลและรับจ้าง (2526-2535)
– พืชไร่ ลม้ เหลว ปลูกไม้ผล มะขามหวาน ลาไย
– การรบจ้างขยายตัว เริ่ มปลูกยางปลายยุค
•
ยุคปัจจุบนั –ยุคยางรุ่ งเรื อง (2536-ปัจจุบนั )
–
–
–
–
จานวนครัวเรื อนที่มีในปัจจุบนั
การทามาหากิน และอาชีพในปัจจุบนั –ปลูกยาง รับจ้าง ทานา
ระบบความสัมพันธ์และการปกครองในปัจจุบนั
ระบบความคิดความเชื่อที่ยงั มีอยูใ่ นปัจจุบนั ระบบที่หมดไป สาเหตุที่หมดไป หายไป
ผังเครือญาติ
การถอดความสั มพันธ์ ในเชิงเครือญาติหรือเชิงสายเลือดในชุมชน
ผังเครือญาติมีความสาคัญต่ อการทาความเข้ าใจชุมชนและสั งคม ไม่ ว่า
จะเป็ นสั งคมเมืองหรือสั งคมชนบท เพราะเครือญาติเป็ น
ความสั มพันธ์ ทเี่ ป็ นรากฐานทีส่ ุ ดของชีวติ ครอบครัว และจะมี
ความเกีย่ วข้ องกันไปตลอดชีวติ
การทาผังเครือญาติ
พ่ อพันธุ์+ยายสาย
นางมา + นายโส
เด็กชายสมาน
นายน้ อย + นางลาวัลย์ นายฝัน (เสี ยชีวติ )
เด็กหญิงสิ ดา
พ่อวัง + แม่ ลดั ดา
นางลาวัลย์
การศึกษาองค์ กรชุมชน
คือการศึกษาโครงสร้ างขององค์ กรในชุมชน โดยดู
ว่ าในชุมชนมีองค์ กรอะไรบ้ าง ใครคือผู้นาทีเ่ ป็ น
ทางการและทีไ่ ม่ เป็ นทางการ และองค์ กรนั้นมีบทบาท
มีอทิ ธิพลต่ อชุมชนหรือไม่ เพียงใด
ตัวอย่ างกลุ่มและองค์ กรในชุมชน
• กลุ่มองค์กรที่เข้มแข็งและมีศกั ยภาพในชุมชน
– กลุ่มผูอ้ าวุโส
– กลุ่มประมงพื้นบ้าน
– กลุ่มแม่บา้ น
– กลุ่ม อสม.
– กลุ่มเครื อข่ายอนุรักษ์และฟื้ นฟู
– กลุ่มปศุสัตว์
– กลุ่มพัฒนาอาชีพ
– ฯลฯ
การจัดทาปฏิทนิ ชุมชน
• คือการเรียนรู้ วถิ ีชีวติ ของชาวบ้ านว่ าในแต่ ละปี แต่ ละเดือน
หรือในแต่ ละวัน ชุมชนมีกจิ กรรมอะไรบ้ าง อะไรทีเ่ กิดขึน้
เกีย่ วข้ องกับชีวติ ประจาวันของชาวบ้ านอย่ างไร เช่ น การ
ประกอบอาชีพ งานบุญ งานประเพณีต่างๆ เป็ นต้ น
การจาแนกปฏิทนิ ชุมชน
• ปฏิทินการผลิตของชุมชน
• ปฏิทินงานประเพณี ของชุมชน
ตัวอย่ างปฏิทนิ การผลิตในรอบปี ของชุ มชน..........
กิจกรรมการ พฤษภาคม
ผลิต
การทานา
-ไถหว่านกล้า
-ดานา
-เกี่ยวข้าว
การปลูก
ข้าวโพด
การรับจ้าง
ภาคเกษตร
รอบ1
มิถุนายน
กรกฎาคม
....
รอบ2
เมษายน
ตัวอย่ างปฏิทนิ ประเพณีในรอบปี ของชุมชน..........
ประเพณี
สงกรานต์
บุญข้าวสาก
เลี้ยงปู่ ตา
บุญเข้าพรรษา
แห่บ้งั ไฟ
การลงปลา
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
....
เมษายน
พย.-ธค.
มค.-กพ.
• ทานา-เกี่ยวข้าว
• ตัดอ้อย
• บุญ....
• บุญข้าวประดับดิน
• ตัดอ้อย
กย.-ตค.
มีค.-เมย.
• บุญออกพรรษา
• ทานา
• วันสงกรานต์
• ทาไร่
• รับจ้าง
กค.-สค.
พค.-มิย.
• บุญเข้าพรรษา
• ทานา-ปักดา
• หาหน่อไม้
• บุญบั้งไฟ บุญเบิกบ้าน
• ทานา-ไถ
การสร้ างแผนทีป่ ราชญ์ /ผู้รู้ ในชุมชน
 คือเครื่องมือทีช่ ่ วยให้ เรารู้ จกั คนสาคัญในชุมชน ที่เป็ นปราชญ์
ชาวบ้ าน หรือเป็ นผู้รู้ (ผู้คกั แหน่ ) ในด้ านต่ าง ๆ ทีส่ าคัญของ
ชุมชน
แผนทีผ่ ู้รู้ ในชุมชน ช่ วยให้ เราเห็นคุณค่ าของคนในชุมชน ทีม่ ี
ศักยภาพในด้ านต่ าง ๆ
เป็ นเครื่องมือสาคัญทีจ่ ะช่ วยให้ เรามองเห็นบุคคล หรือกลุ่ม
บุคคลทีจ่ ะเป็ นกาลังหลักในการสร้ างสรรค์ ชุมชน
ใครเป็ นปราชญ์ ชาวบ้ าน/ผู้ร้ ู ทสี่ าคัญของชุมชน
ผูร้ ู ้ดา้ นอาชีพ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การทาการเกษตรอินทรี ย ์ พรานปลา
ผูร้ ู ้ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี เช่น ผูอ้ าวุโสที่ทาพิธีกรรมด้านต่าง ๆ
ผูร้ ู ้เรื่ องป่ า เช่น พรานป่ า เซียนเห็ด
ผูร้ ู ้ดา้ นการดูแลรักษาผูป้ ่ วย เช่น หมอยา หมอธรรม หมอเป่ า
ผูอ้ าวุโสที่ชุมชนให้ความเคารพด้านต่าง ๆ เช่น เจ้าอาวาส หัวหน้า
ตระกูล
• ผูช้ ่วยคลี่คลายปัญหาให้ชุมชน เช่น กลุ่มตุลาการชุมชน
• ฯลฯ
•
•
•
•
•
Local knowledge: Forest management
• ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการป่ า
– ยุคบ้านป่ า
ระบบการจัดการเชิงวัฒนธรรม
– ยุคบุกเบิกป่ า
(Cultural based model)
ระบบการจัดการเชิงเศรษฐกิจ
– ยุคปิ ดป่ า
(Economic based model)
ระบบการจัดการเชิงการเมือง
(Political based model)
Local knowledge: Forest management
• ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการป่ า
– ป่ าระบบนิเวศน์ เช่น ป่ าต้นน้ า ป่ ากันลม ป่ ากันตลิ่ง
– ป่ าเศรษฐกิจ เช่น ป่ าใช้สอย ป่ าเลี้ยงสัตว์
– ป่ าวัฒนธรรม เช่น ป่ าวัด ป่ าช้า ป่ าดอนปู่ ตา
– ป่ าการเมือง เช่น ป่ ากันชน ป่ าชุมชนบางแห่ง
• ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการหาของป่ า
– ป่ ามีผคี รอบครอง ต้องขออนุญาต
– ระบบป่ าเป็ น Super Market
– ระบบป่ าเป็ นระบบเกื้อกูลแบ่งปั น และการอยูร่ ่ วมกัน
Local knowledge: Sustainable agriculture
• กระบวนทัศน์เกษตรกรรมยัง่ ยืน
– วิธีการ: ปุ๋ ยอินทรี ย/์ ชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
– เป้ าหมาย: การพึ่งตนเอง ความยัง่ ยืนของระบบนิเวศน์และสังคมเกื้อกูล
• กระบวนทัศน์เกษตรอินทรี ย ์
– วิธีการ: ปุ๋ ยอินทรี ย/์ ชีวภาพ พืชเชิงเดี่ยว
– เป้ าหมาย: เพื่อการขาย รายได้ของผูผ้ ลิต และความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภค
• กระบวนทัศน์เกษตรเคมี
– วิธีการ: มุ่งใช้เทคโนโลยีและสารเคมีเพิ่มผลผลิต พืชเชิงเดี่ยว
– เป้ าหมาย: กาไรสู งสุ ดจากการผลิต
การวิเคราะห์ ข้อมูลแบบมีส่วนร่ วม
การวิเคราะห์ และตรวจสอบข้ อมูลแบบมีส่วนร่ วม
การวางแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
การพัฒนาแผนชุมชนผ่ านกระบวนการแบบมีส่วนร่ วม
กระบวนการ AIC
มองอดีต/
ปัจจุบนั
วาดฝัน
อนาคต
กาหนด
แนวทาง
วางแผน
งาน
การมีส่วนร่ วมของชุ มชน-ประมาณ 40 คน
ผู้นาทางการ ผู้นาไม่ เป็ นทางการ กลุ่มแม่ บ้าน
กลุ่มอาชีพ กลุ่มเยาวชน กลุ่มผุ้สูงอายุ ปราชญ์ ชาวบ้ าน
ฯลฯ
หลักการสาคัญ
Appreciation
Influence
Control
• ใช้ความรักเป็ นแก่นแกน
• เคารพความแตกต่าง
• ทาความเข้าใจสภาพและ
ความเป็ นมาที่
หลากหลายมุมมอง
• อยูก่ บั ความเป็ นจริ ง
• ดูความเป็ นไปได้ของ
เป้ าหมายและทิศทาง
• ควบคุมให้เกิดขึ้นจริ ง
• ผ่านกระบวนการทา
แผนปฏิบตั ิการ
กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ วม
(Participatory Learning Process)
ของชุมชนท้ องถิน่
ก่ อนตกผลึกความคิดสู่ การปฏิบัต:ิ
ประสบการณ์ การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
รับจ้ างก่อสร้ าง
1 ศึกษาดูงาน
รู ปแบบเกษตร
ปัญหาแหล่งนา้
เผชิญปัญหา
การผลิตในพืน้ ที่ เวทีโสเหล่
อายุมากขึน้
4 ศึกษารู ปแบบ
ทีใ่ ห้ คุณค่ าแล้ ว
ปัญหาระยะเวลา
ทามานานแล้ว
ตกผลึกความคิด
ลงสู่ การปฏิบัติ
2 ศึกษารู ปแบบ
ไกลแหล่งนา้
ปัญหาการลงทุน
5 ศึกษารู ปแบบ
และวิธีคดิ
3 ศึกษารู ปแบบ
ไม่ ต้องใช้ ทุน
ปัญหาความขยัน
ศึกษาดูงานเพิม่ เติม ศึกษาดูงาน
เฉพาะประเด็น สร้ างเครือข่ าย
ด่ านทีต่ ้ องฟันฝ่ า
ชุมชน/สังคม
เพื่อนบ้าน/เพื่อน
ร่ วมงาน
ครอบครัว
ตัวเรา
กระบวนทัศน์ เกษตรกรไทยเป็ นอย่ างนี้
แล้ วกระบวนทัศน์ ชุมชนเป็ นอย่ างไร
กระบวนทัศน์เกษตรเคมี
กระบวนทัศน์เกษตรอินทรี ย ์
กระบวนทัศน์เกษตรกรรม
ยัง่ ยืน
กระบวนทัศน์เกษตรจิต
วิญญาณ
• เป้ าหมาย: รายได้
• เป้ าหมาย: รายได้
สิ่ งแวดล้อม
• เป้ าหมาย: พึ่งตนเอง
ความสมดุลของ
ธรรมชาติ
• เป้ าหมาย: ความสุขทาง
จิตวิญญาณ
• วิธีการ: ปุ๋ ยเคมี สารเคมี
พืชพาณิ ชย์เชิงเดี่ยว
• วิธีการ: ปุ๋ ยอินทรี ย ์ พืช
พาณิ ชย์เชิงเดี่ยว
• วิธีการ: ปุ๋ ยอินทรี ย ์ การ
ผลิตหลากหลาย
• วิธีการ: การผลิตบนฐาน
ศรัทธาที่สอดคล้องกับ
นิเวศน์วฒั นธรรม
การสร้ างกระบวนการเรียนรู้ :
บทเรียนการพัฒนาเกษตรกรรมยัง่ ยืน
กิจกรรม
การพัฒนาองค์ กร
กิจกรรม
การผลิต/อืน่ ๆ
กระบวนการ
เรียนรู้
องค์ รวม
บูรณาการ
กระบวนการ
องค์ กร
กิจกรรม
การบริหารจัดการ
กิจกรรม
การศึกษาวิจัย
การปรับเปลีย่ น
กระบวนทัศน์
การปรับเปลีย่ น
การผลิต/วิถีชีวติ
การสร้ างกระบวนการเรียนรู้ :
ประสบการณ์ การพัฒนาคุณธรรมแบบองค์ รวม
• การพัฒนาจิตภาพ
– การลด ละ เลิก อบายมุข
– ศีล 5
– วิถชี ีวิตเรียบง่ าย อดออม ประหยัด
(สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสั ตย์
เสี ยสละ กตัญญู)
• การพัฒนากายภาพ
– กสิ กรรมไร้ สารพิษ
– การผลิตเอนกประสงค์
– ลดรายจ่ ายเพิม่ รายได้ ตามอุดมการณ์
พึง่ ตนเอง
– ทักษะการทางานแบบมีส่วนร่ วม/เป็ น
ทีม
– มีวสิ ั ยทัศน์ /พึง่ ตนเอง
ข้ อสั งเกตส่ งท้ าย: ใช้ วชิ าการทางานกับชุมชน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การจัดการ: ร้านค้าชุมชน โรงสี ชุมชน ตลาดชุมชน
สาธารณสุ ข: สุ ขภาพชุมชน สมุนไพร สิ่ งแวดล้อม กลุ่มขยะ
การศึกษา: เด็กแรงงานก่อสร้าง รวมกลุ่มเยาวชน โรงเรี ยนอาชีพ
สังคมศาสตร์: การฟื้ นฟูวิถีชุมชน วัฒนธรรมประเพณี ชุมชนศรัทธา
บรรณารักษ์: ชวนเด็กอ่านหนังสื อ ห้องสมุดเด็ก
เกษตร: เกษตรเขตเมือง พืชผักปลอดสาร
นิติศาสตร์: สิ ทธิของชุมชน การจัดการความขัดแย้งของชุมชน
รัฐศาสตร์: องค์กรชุมชน ผูน้ าชุมชน ประชาธิปไตยชาวบ้าน
การเงิน: บัญชีครัวเรื อน บัญชีร้านค้า
ขอศานติจงมีในหัวใจของเราทุกคน
ขอบคุณครับ