บรรยายเรื่องการสื่อสารเบื้องต้น

Download Report

Transcript บรรยายเรื่องการสื่อสารเบื้องต้น

การสื่ อสารและหลักปฏิบัติ
หัวข้ อการบรรยาย
1 วิธีการสื่อสารและหลักปฏิบัติ
– ระบบการสื่อสาร
– วิธีการติดต่ อสื่อสารทางวิทยุคมนาคม
– การใช้ และบารุ งรั กษาเครื่ องวิทยุคมนาคม
2 การใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อการติดต่ อสื่อสารให้ มีประสิทธิภาพ
– ข้ อห้ าม สาหรั บการใช้ เครื่ องวิทยุคมนาคม
– เปรี ยบเทียบข้ อแตกต่ างระหว่ างเครื่ องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่
ทางบกสาหรั บหน่ วยงานของรั ฐ และเครื่ องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุ
สมัครเล่ น
ระบบการสื่ อสาร
•
•
•
•
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร
ข่ าวสาร
ช่ องทางการสื่อสาร
ความสาคัญของการสื่ อสาร
• ถูกต้ อง เชื่อถือได้
• ปลอดภัย
• รวดเร็ว
ส่ วนต่าง ๆ ของระบบวิทยุสื่อสาร
• เครื่องรับวิทยุ ( Receiver , Radio -receiver) Rx.
ทาหน้ าที่เปลี่ยนคลื่นวิทยุ (คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า) ที่ได้ รับเข้ ามา แล้ ว
เปลี่ยนเป็ นคลื่นเสียง ออกทางลาโพง หรือ หูฟัง
• เครื่องส่ งวิทยุ ( Transmitter , Radio - transmitter) Tx.
ทาหน้ าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (เสียงที่พูด ผ่ านไมโครโฟน) แล้ ว
เปลี่ยนเป็ นคลื่นวิทยุ (คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า)
• เครื่อง รับ – ส่ ง วิทยุ
(Transceiver / Radio - transceiver) Tx/Rx
ทาหน้ าที่เป็ นเครื่องรับวิทยุ และ เครื่องส่ งวิทยุในตัวเดียวกัน
ประเภทของเครื่ องวิทยุ
• ชนิดประจาที่
Base Station
ติดตังส
้ ำหรับ ใช้ ประจำที่ เช่น สำนักงำน กำลังส่งมำกว่ำ 25 วัตต์
Mobile Station
ติดตังส
้ ำหรับยำนพำหนะกำลังส่งประมำณ 25 วัตต์
• ชนิดพกพา เคลื่อนที่
Handy Talky
ใช้ สำหรับ พกพำ ติดตัว กำลังส่ง ประมำณ 5 วัตต์
คุณสมบัตพิ เิ ศษ ของเครื่องรับ-ส่ ง วิทยุ
•
•
•
•
ชนิดธรรมดำ
ชนิดกันน ้ำได้ (Waterproof)
ชนิดกันฝนได้ (Rainproof)
ชนิดกันระเบิด (Extingcaly Safe)
ชนิดมีระบบ DSC ในตัว
ชนิด ติดตัง้ ระบบ GPS ในตัว
ส่ วนประกอบของเครื่องวิทยุ
• สายอากาศ (Antenna ) (Aerial)
กรณีในเครื่ องส่ง ทำหน้ ำที่แพร่กระจำยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ ออกไปในอำกำศ
กรณีในเครื่ องรับ ทำหน้ ำที่รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำและเปลี่ยนเป็ นพลังงำนไฟฟ้ำ
แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
ชนิด บังคับทิศ
ชนิด ไม่ บังคับทิศ
สายส่ ง (Transmission Line)
ทำหน้ ำที่นำสัญญำณไฟฟ้ำ ไปออกอำกำศที่สำยอำกำศ และทำหน้ ำที่
รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ จำกสำยอำกำศ มำยังเครื่ องรับ ส่ง วิทยุ
แบตเตอรี่ (Battery)
ทำหน้ ำที่จ่ำยพลังงำนไฟ DCให้ กบั เครื่ อง รับ - ส่ง วิทยุ
แหล่ งจ่ ายไฟ (Power Supply) แปลงไฟจำก AC เป็ น DC
ทำหน้ ำที่จ่ำยพลังงำนไฟ DC ให้ กบั เครื่ องรับ – ส่ง วิทยุ
คลื่นวิทยุ ความถี่วทิ ยุ กาลังส่ งวิทยุ
คลื่นเสียง (Sound wave )
:คลื่นที่เกิดจำกกำรสัน่ สะเทือนของวัตถุ (คนเรำได้ ยิน 20 – 20,000 Hz.)
คลื่นวิทยุ ( Radio wave)
: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ (Elctro Magnetic ) ที่เดินทำงได้ โดยมีอำกำศ
เป็ นตัวนำ
• ความถี่วิทยุ จำนวนคลื่นวิทยุในเวลำ 1 วินำที
• ความยาวคลื่นวิทยุ ระยะทำงที่คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไปใน 1 รอบ
• ความเร็วคลื่นวิทยุ ระยะทำงที่คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไปใน 1 วินำที
ประเภท ของการ รับ -ส่ ง ความถี่ทางวิทยุ
แบบ Simplex ใช้ ควำมถี่เดียวกัน /รับและส่งพร้ อมกันไม่ได้
แบบ Semi – Duplex ใช้ 2 ควำมถี่ / รับ และส่ง คนละควำมถี่
แบบ Duplex (Full Duplex) ใช้ 2 ควำมถี่ / รับและส่งพร้ อมกันได้
Band
Frequency
Wavelength
Uses
VLF
3 – 30 Khz.
100 km. – 10 km.
Long range navigation and marine radio
VF
30 – 300 Khz.
10 km. – 1 km.
Aeronautical and marine navigation
MF
300 – 3,000 Khz.
1 km. – 100 m.
AM. Radio and Radio Telecommunication
HF
3 – 30 Mhz.
100 m. – 10 m.
Amateur Radio bands , Time signal
VHF
30 – 300 Mhz.
10 m. – 1 m.
TV. , FM. , Cordless phones , ATC
UHF
300 – 3,000 Mhz.
1m. – 10 cm.
UHF. TV. , Satellite , Air traffic Radar
SHF
3 – 30 Ghz.
10 cm. – 1 cm.
Mostly satellite TV. and other satellites
EHF
30 – 300 Ghz.
1 cm. – 1 mm.
Remote sensing and other satellites.
ข้ อควรสั งเกตุ
• ความถี่สูง ส่ งได้ ใกล้
ความถี่ต่า ส่ งใด้ ไกล
• ความยาวคลื่นสัน้ (น้ อย) สายอากาศจะสัน้
ความยาวคลื่นยาว (มาก) สายอากาศจะยาว
• ความถี่สูง สายอากาศจะสัน้
ความถี่ต่า สายอากาศจะยาว
•
•
•
•
•
•
•
•
หลักการติดตัง้ เครื่องวิทยุ ชนิดประจาที่
การวางแผนตัง้ สถานี ต้ องดูพนื ้ ที่ เป้าหมายที่ต้องการจะ
ติดต่ อสื่อสาร ต้ องมีการสารวจ ก่ อนการสร้ างจริง มีปัจจัยที่ควร
จะต้ องคานึงถึง
ผลกระทบทำงด้ ำนสิง่ แวดล้ อม ภูมิทศั น์
ควำมปลอดถัย ต่อคน และสถำนที่
สัญญำณรบกวนทำงด้ ำนไฟฟ้ำ
กำรเข้ ำถึงสถำนี
ระยะห่ำงจำกท่ำอำกำศยำน หรื อสนำมบิน ต้ องขออนุญำติกรมขนส่ง ฯ
ควำมคุ้มค่ำในด้ ำนเศรษฐศำสตร์
ควำมแข็งแรง
ใช้ ร่วมกับของที่มีอยูแ่ ล้ วได้
ใบอนุญาต 9 ประเภท
ทา มี ใช้ นาเข้ า นาออก ค้ า/ซ่ อม ตัง้ สถานี พนักงาน รับข่ าว
ต่ างประเทศเพื่อการโฆษณา
การตรวจซ่ อมและบารุ งรักษาเบือ้ งต้ น
มี 2 ลักษณะ คือ ป้องกัน กับ แก้ ไข
ป้องกัน
ได้ แก่ ห้ ามทาตกหล่ น กระแทก โดนนา้ ชืน้ ขั่วต่ อต้ องแน่ น
สายอากาศ ต้ อง matching /mismatch ตรวจ VSWR
แรงดันไฟต้ องตรงตามคู่มือ การติดต่ อสัน้ ๆ ปรับกาลังส่ งให้
เหมาะสม ปฏิบัตติ ามคู่มือ ห้ ามใช้ ตอนฝนฟ้าคะนอง ปรับแต่ งส
ลิงรัง้ สายเสาอากาศ ให้ ตงึ เสมอ ตรวจสาย transmission
ในเรือหรือยานพาหนะ ที่มีเครื่องต้ องติด EMI
การแก้ ไข
• เครื่องไม่ ทางาน
ขั่วต่ อแบตเตอรี่ switch on /off ฟิ วซ์
• เครื่องทางาน แต่ รับไม่ ได้ ส่ งไม่ ได้
รับได้ บ้าง ไม่ ได้ บ้าง
ส่ งได้ ใกล้
รับได้ ใกล้
การใช้ เครื่องวิทยุส่ ือสารนัน้ ต้ องคานึงถึง
1 ความถี่ท่ ตี ้ องการใช้ ต้ องได้ รับอย่ างถูกต้ อง และมีสทิ ธิใช้
2 ตัวเครื่อง ถูกต้ องตามกฏหมาย
3 วิธีการปฏิบัติ ตาม กฏหมาย และระเบียบที่ กสทช.กาหนด
วิธีการติดต่ อสื่ อสารทางวิทยุคมนาคม
ผู้ส่งข่ าว
ผู้รับข่ าว
เครื่องมือสื่อสารทางวิทยุคมนาคม
ความเร็วในการ รับ – ส่ ง ข่ าว
ระบบนามเรียกขาน และข่ ายการสื่ อสาร
call sign / communication net
นามเรียกขาน call sign
ที่ใช้ อ้ำงถึงตัวผู้พดู ในกำรติดต่อสื่อสำรทำงวิทยุ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
1 นามเรียกขานรวม ( Callecttive Call Sign)
รหัสที่ใช้ เพื่ออ้ างถึงการเรียกรวม เป็ นกลุ่ม เพื่อแสดงว่ าเป็ นการ
เรียกทุกสถานีในข่ ายนัน้ ๆ
2 นามเรียกขานเดี่ยว (Selective Call Sign)
รหัสที่ใช้ อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุเฉพาะตน
(ทัง้ ตนเอง คู่สนทนา และ ผู้ท่ อี ้ างถึง )
ในระดับสากล จะมีกำรระบุนำมเรี ยกขำน ไม่ซ ้ำกัน โดยจะใช้
ตัวอักษรผสมตัวเลข เพื่อแสดงลักษณะเฉพำะของแต่ละสถำนีโดยไม่ซ ้ำ
กันเลยทัว่ โลก
ตัวอย่ำง นำมเรี ยกขำน HSHE
HS หมำยถึง ประเทศไทย
HE หมำยถึง เรื อชลธำรำนุรักษ์
ในระดับใช้ งานท้ องถิ่น ส่วนใหญ่ ใช้ ชื่อหน่วยงำน ชื่อย่อ ตำบลที่
ลักณะภูมิศำสตร์ หรื ออื่น ๆ ที่ตกลงใช้ กนั ภำยในหน่วยงำนนัน้ ๆ
ข่ ายการสื่อสาร (Communication Net)
กำรติดต่อสื่อสำรทำงวิทยุเฉพำะกลุม่ ในย่ำนควำมถี่เดียวกัน ที่มี
จุดมุง่ หมำย ทิศทำงเดียวกัน วัตถุประสงค์เดียวกัน สำมำรถแบ่งออกได้ เป็ น 2
ประเภท
1 ข่ ายอิสระ(Free Net) ทุกสถำนีในข่ำยสำมำรถติดต่อกันได้ โดยอิสระ
2 ข่ ายควบคุม (Control Net) ทุกสถำนีในข่ำย (ลูกข่ำย)
จะติดต่อสื่อสำรกันได้ จะต้ องขออนุญำตสถำนี ควบคุมข่ำย (สถำนแม่ข่ำย)
(Master Control Station) ก่อน
• สถานีเรียก คือ สถานีท่ ตี ้ องการจะส่ งข่ าว
• สถาที่ถกู เรียก คือ สถานีท่ สี ถานีเรียกต้ องการจะส่ งข่ าวให้
• การเรียก ก่ อนเรียกต้ องฟั งว่ าวงจรสื่อสารว่ างอยู่
• การตอบการเรียก ตอบทันทีท่ ไี ด้ ยนิ การเรียกและทราบได้ ว่า
เรียกสถานีเรา
• การส่ งข่ าว
ส่ งทัง้ ฉบับ
ส่ งทีละประโยค
ชัน้ ความลับของข่ าว
ธรรมดำ ปกปิ ด ลับ ลับมำก ลับที่สดุ
ลาดับความเร่ งด่ วนของข่ าว
ธรรมดำ ด่วน ด่วนมำก ด่วนที่สดุ
ข้ อควรสังเกตุ
ข่ำวแจ้ งภัย
ข่ำวด่วน
ข่ำวเพื่อควำมปลอดภัย
การใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อการติดต่ อสื่อสารให้ มีประสิทธิภาพ
- เปรี ยบเทียบข้ อแตกต่ างระหว่ างเครื่ องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่
ทางบกสาหรั บหน่ วยงานของรั ฐ และเครื่ องวิทยุคมนาคมในกิจการวิทยุ
สมัครเล่ น
(เอกสำร ตำมภำค ผนวก )
การสื่อสารทางวิทยุเป็ นการสื่อสารที่มีความปลอดภัยน้ อยที่สุด
ใช้ วิทยุไม่ ระวังความปลอดภัยก็ลดลง
• ข้ อควรปฏิบัติ
- กำรส่งข่ำว ต้ องสัน้ กะทัดรัด เท่ำที่จะกระทำได้
- กำรยึดถือระเบียบปฏิบตั ิ กำรละเลย กำรพูดเล่น ย่อมก่อให้ เกิดควำม
สับสนได้ ในกรณีที่ไม่มีระเบียบ ใด ๆ ระบุไว้ ก็ให้ ใช้ สำมัญสำนึกในกำร
ปฏิบตั ิ
- กำรสนทนำเฉพำะเรื่ องรำชกำร และจำเป็ น
- ปรับควำมถี่และทดลองเครื่ องอย่ำงเหมำะสม
- ฟั ง ก่อน ส่ง
- ชัดเจน ควำมเร็วเหมำะสม
ข้ อห้ าม
ห้ ามฝ่ าฝื นการใช้ วิทยุ
ห้ ามพูดเล่ น คาหยาบ ไม่ สุภาพ เรื่องส่ วนตัว
ห้ ามส่ งข้ อความผิดกฏหมาย
ห้ ามผิวปาก ร้ องเพลง
ห้ ามส่ งสัญญาณ ขอความช่ วยเหลือ หากไม่ เกิดเหตุฉุกเฉิน
ห้ ามโฆษณา สิน้ ค้ า
ห้ ามฝั กใฝ่ ทางการเมือง (ต้ องเป็ นกลางทางการเมือง)
ฯลฯ