คาร์ดินัลลิตี (cardinality) (ต่อ)

Download Report

Transcript คาร์ดินัลลิตี (cardinality) (ต่อ)

หน่วยที่ 6 โมเดลจำลองควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงข้อมูล
โมเดลจำลองควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้ อมูล (EntityRelationship Model : E-R Model) เป็ นแนวคิดที่ใช้ เป็ น
เครื่องมืออย่ำงหนึ่งในกำรออกแบบฐำนข้ อมูล ซึ่งได้ รับควำม
นิยมเช่นเดียวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์
แนวคิดเกีย่ วกับโมเดลแบบ E-R
แบบจำลอง E-R มีองค์ประกอบหลักดังนี้คือ เอนทิตี,
เอตทริบิวต์ รีเลชันชิพ รวมทั้งสัญลักษณ์ในโมเดลแบบ E-R
รูปแบบในกำรเขียนแบบจำลอง E-R ที่นิยมเขียนมี 2 ชนิด คือ
Chen Model และ Crow Foot
1.เอนทิตี
ในกำรสร้ ำงโมเดลแบบ E-R จะต้ องกำหนดว่ำในระบบที่
ออกแบบนั้นๆ จะประกอบด้ วยเอนทิตีอะไรบ้ ำง เช่น ในระบบ
ฐำนข้ อมูลงำนทะเบียนนักศึกษำจะประกอบด้ วยเอนทิตี
นักศึกษำ กำรลงทะเบียน วิชำ และอำจำรย์ เป็ นต้ น
ตัวอย่ำงเอนทิตี
นักศึกษา
อาจารย์
ชั้นเรียน
2. แอตทริบวิ ต์
หมำยถึงคุณลักษณะเฉพำะของแต่ละเอนทิตี ถูกแสดง
โดยใช้ รูปวงรี (Chen Model) และกำรเชื่อมต่อกับ
เอนทิตีโดยเส้ นตรง ภำยในรูปวงรีแต่ละอันจะมีช่ อื ของ แอ
ตทริบวิ ต์กำกับอยู่ภำยใน เช่น เอนทิตีนักศึกษำที่ประกอบด้ วย
แอตทริบิวต์ 4 แอตทริบิวต์ ได้ แก่รหัสนักศึกษำ, ชื่อ,
นำมสกุล, และที่อยู่
ตัวอย่ำงแอททริบวิ ต์
นามสกุล
ชื่อ
รหัสนักศึกษา
นักศึกษา
ภำพแสดงแอททริบวิ ต์ของเอนทิตีนกั ศึกาำ
ที่อยู่
หรือ
PK
แอตทริบวิ ต์แบ่งตำมลักาณะ, ที่มำ และค่ำ
ของแอตทริบวิ ต์ได้ดงั ต่อไปนี้
2.1 แอตทริบิวต์อย่ำงง่ำย (simple attribute)
หมำยถึง แอตทริบวิ ต์ท่ไี ม่สำมำรถแบ่งย่อยต่อไปได้ อกี เช่น
อำยุ, เพศ และสถำนะกำรสมรส เป็ นต้ น
2.2 คอมโพสิตแอตทริบวิ ต์ (composite
attribute)
หมำยถึง แอตทริบิวต์ทีส่ ำมำรถแบ่งย่อยเป็ นแอตทริ
บิวต์ย่อย ๆ ได้ เช่น แอตทริบวิ ต์ท่อี ยู่ สำมำรถถูกแบ่งออกเป็ น
แอตทริบวิ ต์ย่อยๆ ได้ เป็ น เลขที่, ถนน, อำเภอ, จังหวัด และ
รหัสไปรษณีย์ หรือแอตทริบิวต์หมำยเลขโทรศัพท์สำมำรถ
แบ่งย่อยได้ เป็ น รหัสพื้นที่ และหมำยเลข เพื่อควำมสะดวกใน
กำรคิวรีข้อมูล มักจะแปลงคอมโพสิตแอตทริบิวต์ให้ เป็ น
แอตทริบิวต์อย่ำงง่ำย
ตัวอย่ำงแอททริบวิ ต์ประเภทต่ำงๆ
2.3 แอตทริบวิ ต์ที่มีค่ำเดียว (single-valued
attribute)
หมำยถึง แอตทริบิวต์ทีม่ ีค่ำได้เพียงค่ำเดียวเท่ำนั้น
เช่น บุคคลหนึ่งสำมำรถมีหมำยเลขบัตรประชำชนได้ เพียง
หมำยเลขเดียว และอะไหล่หนึ่งชิ้นสำมำรถมีเลขรหัสอะไหล่
(serial number) ได้ เพียงหมำยเลขเดียว เป็ นต้ น แอตทริบิวต์ท่ี
มีค่ำเดียวไม่จำเป็ นต้ องเป็ นแอตทริบิวต์อย่ำงง่ำยเสมอไป
2.3 แอตทริบิวต์ที่มีค่ำเดียว (single-valued
attribute) (ต่อ)
เช่น แอตทริบวิ ต์รหัสนักศึกษำ ที่มีค่ำเป็ น 2545-01-021234 เป็ นแอตทริบวิ ต์ท่มี ีค่ำเดียว เนื่องจำกนักศึกษำหนึ่งคน
จะมีรหัสนักศึกษำได้ เพียงหมำยเลขเดียวเท่ำนั้น แต่เป็ น
คอมโพสิตแอตทริบิวต์ เนื่องจำกสำมำรถแบ่งย่อยออกได้ เป็ น
ปี ที่เข้ ำศึกษำ (2545), คณะ (01), สำขำวิชำ (02) และ
หมำยเลขนักศึกษำ (1234) เป็ นต้ น
2.4 แอตทริบวิ ต์ที่มีหลำยค่ำ (multivalued
attributes)
หมำยถึง แอตทริบวิ ต์ท่สี ำมำรถมีได้ หลำยค่ำ เช่น คน
หนึ่งคนสำมำรถมีวุฒิกำรศึกษำได้ หลำยระดับ เช่น ปริญญำตรี
, โท และเอก เป็ นต้ น ดังนั้นแอตทริบิวต์ “คุณวุฒิกำรศึกษำ”
จึงเป็ นแอตทริบวิ ต์ท่มี ีหลำยค่ำ หรือนักศึกษำหนึ่งคนอำจมี
เบอร์โทรศัพท์ท่สี ำมำรถติดต่อได้ หลำยเบอร์ ดังนั้น แอตทริ
บิวต์ “เบอร์โทรศัพท์” จึงเป็ นแอตทริบวิ ต์ท่มี ีหลำยค่ำ
เช่นเดียวกัน ใช้ เส้ นตรง 2 เส้ นเชื่อมระหว่ำงแอตทริบวิ ต์ท่มี ี
หลำยค่ำกับเอนทิตี
กำรแบ่งแอททริบิวต์ที่มีหลำยค่ำให้เป็ นแอททริ
บิวต์ใหม่หลำยตัว
ก. ในตำรำงประกอบไปด้ วยค่ำ null ทำให้ ส้ นิ เปลืองพื้นที่โดยเปล่ำ
ประโยชน์
ข. กำรมีค่ำ null ทำให้ ตีควำมได้ หลำยอย่ำง เช่น นำยสมชำย รักเรียน
ไม่มีหมำยเลขโทรศัพท์ หรือยังไม่ได้ ป้อนข้ อมูลเข้ ำ เป็ นต้ น
ดังนั้น จึงต้ องแก้ ไขปัญหำแอททริบิวต์ท่เี ป็ น null โดยสร้ ำงเอนทิตีใหม่
ขึ้นมำ คือเอนทิตีโทรศัพท์
รีเลชันนักศึกาำ
PK
หรือ
PK
PK
รีเลชันโทรศัพท์ที่ปรับใหม่ (Chen’s
Model)
รีเลชันที่ปรับใหม่ (Crow’s Foot
Model)
PK
PK
PK,FK1
ภำพแสดงรีเลชันนักศึกาำและโทรศัพท์
2.5 ดีไรฟด์แอตทริบวิ ต์ (derived attribute)
คือ แอตทริบิวต์ท่ไี ด้ มำจำกกำรคำนวณแอตทริบิวต์อ่นื
โดยทั่วไปไม่จำเป็ นต้ องจัดเก็บแอตทริบิวต์ในฐำนข้ อมูล เช่น แอตทริ
บิวต์อำยุ คำนวณได้ จำกแอตทริบิวต์วันเดือนปี เกิด ยอดรวมของ
ใบเสร็จแต่ละใบ คำนวณได้ จำกผลบวกของ รำคำสินค้ ำต่อหน่วย คูณ
กับจำนวนสินค้ ำแต่ละรำยกำรที่มีในใบเสร็จแต่ละใบ ดีไรฟ์ แอตทริบิ
วต์จะถูกแสดงในแบบจำลองข้ อมูลโดยใช้ เส้ นประที่เชื่อมระหว่ำงดีไรฟ์
แอตทริบิวต์กบั เอนทิตี
ดีไรฟด์แอททริบวิ ต์
3. รีเลชันชิพ
หมำยถึง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี รีเลชันชิพแต่
ละอันจะถูกระบุด้วยชื่อที่ใช้ อธิบำยควำมสัมพันธ์น้นั ๆ กำรตั้ง
ชื่อรีเลชันชิพโดยทั่วไปจะใช้ คำกริยำที่แสดงกำรกระทำ เช่น มี,
สอน, ว่ำจ้ ำง เป็ นต้ น ตัวอย่ำงรีเลชันชิพระหว่ำงเอนทิตี เช่น
นักศึกษำ มี ชั้นเรียน, อำจำรย์ สอน ชั้นเรียน, ภำควิชำ ว่ำจ้ ำง
อำจำรย์ เป็ นต้ น
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงแอททริบวิ ต์
ระดับรีเลชันชิพ
1. รีเลชันชิพแบบยูนำรี (unary relationship) เป็ น
ควำมสัมพันธ์ท่มี ีเอนทิตีมำเกี่ยวข้ องเพียงเอนทิตีเดียว
2. รีเลชันชิพแบบไบนำรี (binary relationship) เป็ น
ควำมสัมพันธ์ท่มี ีเอนทิตีมำเกี่ยวข้ อง 2 เอนทิตี
3. รีเลชันชิพแบบเทอร์นำรี (ternary relationship) เป็ น
ควำมสัมพันธ์ท่มี ีเอนทิตีมำเกี่ยวข้ อง 3 เอนทิตี
ภำพแสดงประเภทของรีเลชันชิพทั้ง 3 แบบ
ควำมสัมพันธ์แบบเทอร์นำรี
คอนเนกทิวิตี (connectivity)
เป็ นกำรอธิบำยประเภทควำมสัมพันธ์ของเอนทิตีใน
แบบจำลองข้อมูล ว่ำมีควำมสัมพันธ์แบบ วัน-ทู-วัน (1:1),
วัน-ทู-เมนนี (1:M) หรือ เมนนี-ทู-เมนนี (M:N) ในแผนภำพ
อี-อำร์ จะแสดงคอนเนคทิวิตี โดยกำรเขียน 1,M หรือ N ไว้
ใกล้ กบั เอนทิตีท่เี กี่ยวข้ อง
คอนเนกทิวิตี (connectivity) แบบ
Chen’s Model
คอนเนกทิวิตี (connectivity) แบบ
Crow’s Foot
PK
PK
FK1
คอนเนกทิวิตี (connectivity) แบบ
Crow’s Foot (ต่อ)
PK
PK
FK1
FK1
ควำมสัมพันธ์แบบ M:N ใช้ ในกำรออกแบบฐำนข้ อมูลไม่ได้ ต้ องปรับ
ให้ เป็ น 1:M
หรือ
คำร์ดินลั ลิตี (cardinality)
หมำยถึง จำนวนของเอนทิตีหนึ่งที่มีควำมสัมพันธ์กบั
อีกเอนทิตีหนึ่ง เช่น อำจำรย์คนหนึ่งสำมำรถสอนได้ สงู สุดไม่
เกิน 3 ชั้นเรียนต่อภำคกำรศึกษำ ดังนั้นตำมกฎของ
คำร์ดินัลลิตี ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีอำจำรย์ กับ ชั้นเรียน
ที่แต่เดิมบอกเพียงว่ำ “อำจำรย์หนึ่งคนสอนได้ หลำยชั้นเรียน”
จึงอธิบำยเพิ่มเติมได้ เป็ น “อำจำรย์หนึ่งคนสำมำรถสอนได้
หลำยชั้นเรียน แต่ต้องไม่เกิน 3 ชั้นเรียนต่อหนึ่งภำคเรียน”
คำร์ดินลั ลิตี (cardinality) (ต่อ)
หรืออำจกำหนดว่ำ นักศึกษำลงทะเบียนสูงสุดได้ ไม่เกิน
6 ชั้นเรียนต่อหนึ่งภำคกำรศึกษำ เป็ นต้ น
คำร์ดินลั ลิตี (cardinality) (ต่อ)
กำรแสดงคำร์ดินลั ลิตีทำได้ โดยกำรเขียนจำนวนที่
เหมำะสมไว้ ภำยในวงเล็บข้ ำงเอนทิตี โดยตัวเลขหน้ ำ
เครื่องหมำยจุลภำคใช้ แทนค่ำต่ำสุด ส่วนตัวเลขข้ ำงหลัง
เครื่องหมำยจุลภำคใช้ แทนค่ำสูงสุดในควำมสัมพันธ์น้นั
ภำพแสดงคำร์ดินลั ลิตี (cardinality)
ภำพแสดงคำร์ดินลั ลิตี เมือ่ มีจำนวนเอนทิทีมำกขึ้ น
ภำพแสดงคำร์ดินลั ลิตีใน ER ไดอะแกรม
แบบ Chen Model
แบบ Crow’s Foot
(0,3)
(1,1)
(1,6)
(0,40)
คำร์ดินลั ลิตี (cardinality) (ต่อ)
จำนวนของเอนทิตีหนึ่งที่มีควำมสัมพันธ์กบั อีกเอนทิตีหนึ่ง
อำจจะแปรผันได้ เช่น
1. นักศึกษำ 1 คนอำจจะลงทะเบียนเรียนจำนวน 1,2,3,4,5 และ 6
ชั้นเรียนก็ได้ แต่นักศึกษำต้ องลงทะเบียนเรียนอย่ำงน้ อย 1 ชั้น
เรียน
2. ในทำนองเดียวกัน อำจำรย์ 1 คนอำจจะสอน 1,2 หรือ 3 ชั้น
เรียน หรืออำจจะไม่ต้องสอนเลยก็ได้ เนื่องจำกได้ รับอนุญำตให้ ทำ
เฉพำะกำรวิจัยในภำคกำรศึกษำนั้น เป็ นต้ น
คำร์ดินลั ลิตี (cardinality) (ต่อ)
3.
หนึ่งชั้นเรียนจะมีนักศึกษำลงทะเบียนได้ ไม่เกิน 40 คน แต่
เป็ นไปได้ ว่ำในวิชำเลือกบำงวิชำอำจจะไม่มีนักศึกษำลงทะเบียน
เรียนเลยก็ได
แผนภำพอี-อำร์ ได้แสดงคำร์ดินลั ลิตีประกอบกับกำร
แสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี
1. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอำจำรย์กบั ชั้นเรียน สำมำรถอธิบำย
ได้ ดังนี้
(1) ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอำจำรย์กบั ชั้นเรียนเป็ นแบบ
1:M
(2) มีคำร์ดินัลลิตีเป็ น (0,3) สำหรับอำจำรย์ ซึ่ง
หมำยควำมว่ำอำจำรย์อำจจะไม่เคยสอนเลย หรือถ้ ำสอนจะ
สอนได้ สงู สุดไม่เกิน 3 ชั้นเรียน
แผนภำพอี-อำร์ ได้แสดงคำร์ดินลั ลิตีประกอบ
กับกำรแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี (ต่อ)
(3) มีคำร์ดินัลลิตีเป็ น (1,1) สำหรับชั้นเรียน
หมำยควำมว่ำใน 1 ชั้นเรียนจะมีอำจำรย์ทำกำรสอนได้ อย่ำง
น้ อย 1 คน และมำกสุด 1 คน นั่นคือไม่มีกำรสอนร่วมกันใน
แต่ละรำยวิชำ
แผนภำพอี-อำร์ ได้แสดงคำร์ดินลั ลิตีประกอบ
กับกำรแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี (ต่อ)
2.ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง นักศึกษำ กับ ชั้นเรียน สำมำรถ
อธิบำยได้ ดังนี้
(1) ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงนักศึกษำกับชั้นเรียนเป็ นแบบ M:N
(2) มีคำร์ดินัลลิตีเป็ น (0,40) สำหรับเอนทิตีในชั้นเรียน
หมำยควำมว่ำใน 1 ชั้นเรียนอำจจะไม่มีนักศึกษำลงทะเบียน
เลยก็ได้ หรือถ้ ำมีจะลงทะเบียนได้ มำกสุดไม่เกิน 40 คน
แผนภำพอี-อำร์ ได้แสดงคำร์ดินลั ลิตีประกอบ
กับกำรแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตี (ต่อ)
(3) มีคำร์ดินัลลิตีเป็ น (1,6) สำหรับเอนทิตีนักศึกษำ
หมำยควำมว่ำนักศึกษำแต่ละคนต้ องลงทะเบียนอย่ำง
น้ อยที่สดุ 1 วิชำ แต่มำกสุดไม่เกิน 6 วิชำ
ภำพแสดงเงือ่ นไขโดยใช้คำร์ดินลั ลิตี
(0,3)
(1,1)
(1,5)
(0,40)
(1,1)
(1,6)
(1,1)
(1,7)
กำรพึง่ พิงกำรมีอยู่ของเอนทิตีอื่น (existence
dependency)
กำรพึ่งพิงกำรมีอยู่ของเอนทิตีอ่นื หมำยถึง กำรที่เอนทิ
ตีอ่นื จะเกิดขึ้นและคงอยู่ได้ ก็ต่อเมื่อเอนทิตีอกี ตัวที่มันมี
ควำมสัมพันธ์อยู่ด้วยเกิดขึ้นและคงอยู่เท่ำนั้น
กำรพึง่ พิงกำรมีอยู่ของเอนทิตีอื่น (existence
dependency) (ต่อ)
“เอนทิตีวิชำทำให้ เกิดเอนทิตีช้นั เรียน” (ต้ องมีวิชำก่อนจึงจะ
เปิ ดชั้นเรียนได้ ) มีควำมสัมพันธ์แบบ 1:M ควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงเอนทิตีท้งั สองสำมำรถแสดงได้ โดยกำรใช้ คีย์นอก
(foreign key) (ฟิ ลด์รหัสวิชำ) มำใส่ไว้ ในตำรำงชั้นเรียน เพื่อ
อ้ ำงอิงไปที่ตำรำงวิชำ หมำยควำมว่ำ ถ้ ำไม่มีตำรำงวิชำ ฟิ ลด์
รหัสวิชำในตำรำงชั้นเรียนก็จะไม่สำมำรถอ้ ำงอิงค่ำในตำรำง
วิชำได้ นั่นคือ เอนทิตีช้นั เรียนต้ องพึ่งพิงกำรมีอยู่ของเอนทิตี
วิชำ
กำรมีส่วนร่วมในควำมสัมพันธ์
หมำยถึง ลักษณะของควำมสัมพันธ์ท่เี กิดขึ้นระหว่ำง
เอนทิตี สำมำรถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะด้ วยกันคือ
1. แบบเลือกได้ (optional)
2. แบบบังคับ (mandatory)
กำรมีส่วนร่วมในควำมสัมพันธ์จะเป็ นแบบ
เลือกได้
หมำยถึง กำรที่เอนทิตีหนึ่งอำจจะมีควำมสัมพันธ์กบั อีกเอนทิตี
หนึ่งหรือไม่กไ็ ด้ เช่น
ถ้ ำมีกำรว่ำจ้ ำงอำจำรย์บำงคนมำเพื่อค้ นคว้ ำวิจัยเพียงอย่ำง
เดียวไม่มีกำรสอน เมื่อพิจำรณำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอนทิตีอำจำรย์กบั
ชั้นเรียนที่ว่ำ “อำจำรย์สอนชั้นเรียน” ในกรณีน้ เี ป็ นไปได้ ท่อี ำจำรย์บำง
คนอำจจะไม่ได้ สอนชั้นเรียนใด ๆ เลยก็ได้
กำรมีส่วนร่วมในควำมสัมพันธ์จะเป็ นแบบเลือก
ได้ (ต่อ)
กล่ำวได้ ว่ำ “ชั้นเรียน” มีควำมสัมพันธ์แบบเลือกได้ กบั
“อำจำรย์” ส่วนควำมสัมพันธ์อกี ด้ ำนหนึ่งที่กล่ำวว่ำ “ชั้นเรียน
ต้ องถูกสอนโดยอำจำรย์ 1 คน” ดังนั้น “อำจำรย์” จึงมี
ควำมสัมพันธ์แบบบังคับกับ “ชั้นเรียน”
กำรมีส่วนร่วมในควำมสัมพันธ์จะเป็ นแบบเลือก
ได้ (ต่อ)
(1) เอนทิตีช้ันเรียนแบบเลือกได้ จะมีควำมหมำยว่ำ ไม่มี
ควำมจำเป็ นต้ องเปิ ดสอนทุกวิชำ เช่น บำงวิชำอำจจะเปิ ดสอน
เพียงครั้งเดียวต่อปี หรือบำงวิชำที่มีอยู่ในหลักสูตรอำจไม่เคย
เปิ ดสอนเลยก็ได้ เป็ นต้ น
(2) เอนทิตีช้ันเรียนแบบบังคับ ในกรณีน้ จี ะมีควำมหมำยว่ำ
“แต่ละวิชำต้ องมีอย่ำงน้ อยหนึ่งชั้นเรียน”
เอนทิทีช้ นั เรียนมีควำมสัมพันธ์แบบเลือกได้กบั
เอนทิทีอำจำรย์และเอนทีทีรำยวิชำ
Crow’s Foot
(0,3)
(1,1)
(0,3)
(1,1)
เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak Entity)
หมำยถึง เอนทิตีท่ตี ้ องมีคุณสมบัติครบทั้งสองข้ อดังต่อไปนี้
1. มีกำรพึง่ พิงกำรมีอยู่ของเอนทิตีอื่น นั่นคือเป็ นเอนทิตีท่ี
ไม่สำมำรถเกิดขึ้นเองได้ โดยปรำศจำกเอนทิตีท่มี นั มี
ควำมสัมพันธ์อยู่
เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak Entity) (ต่อ)
2. มีคียห์ ลักทีไ่ ด้รบั กำรสืบทอดมำจำกคียห์ ลักของเอนทิ
ตีทีม่ นั พึง่ พิงอยู่ มำใช้เป็ นคียห์ ลักหรือส่วนหนึง่ ของคียห์ ลัก
ในเอนทิตีท่อี ่อนแอ
เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak Entity) (ต่อ)
จำกตัวอย่ำง ถ้ ำไม่มีเอนทิตีอำจำรย์ จะไม่มีเอนทิตีคณะวิชำ
เรียกเอนทิตีคณะวิชำว่ำเป็ น เอนทิตีชนิดอ่อนแอ (Weak
Entity)
แสดงเอนทิทีอ่อนแอในแผนภำพ ER
พนักงำน (รหัสพนักงำน, ชื่อพนักงำน, วันเดือนปี เกิด)
สมำชิกในครอบครัว (รหัสพนักงำน, ลำดับที,่ ชื่อสมำชิก)
คอมโพสิตเอนทิที (Composite Entity)
เป็ นเอนทิทที ่สี ร้ ำงขึ้นเพื่อใช้ ในกำรแปลงควำมสัมพันธ์
แบบ M:N มำเป็ น 1:M โดยนำเอำคีย์หลักของทั้งสองเอนทิทที ่ี
มีควำมสัมพันธ์กบั แบบ M:N มำรวมกันกับแอททริบิวต์อ่นื ๆ
ตัวอย่ำงคอมโพสิตเอนทิที
จำกภำพ จะเห็นว่ำ บำงชั้นเรียนอำจจะไม่มีนักศึกษำ
ลงทะเบียนเรียนเลย จึงเป็ นควำมสัมพันธ์แบบเลือกได้
(Optional)
คอมโพสิตเอนทิที ที่แสดงควำมสัมพันธ์แบบ M:N
ที่เป็ นแบบเลือกได้
คอมโพสิตเอนทิทีแบบ Crow’s Foot
(0,n)
(1,1)
(1,1)
(1,n)