หลอดให้คลื่นรังสีแสง - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ
Download
Report
Transcript หลอดให้คลื่นรังสีแสง - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ
การส่ องสว่ าง
เสนอ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจแหล่งกาเนิดแสงและคุณสมบัตขิ องแสง
2. หาความเข้ มการส่ องสว่างตามสถานที่ใช้ งาน
3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
หลอดที่ให้ กาเนิดแสงโดยทั่วไปจะให้ แสงที่ตา
มนุษย์ สามารถมองได้ ไม่ ว่าจะใช้ วธิ ีเผาไส้ วธิ ีของ
หลอดไส้ หรือวิธีการกระตุ้นอะตอมของก๊ าซ
ภายในหลอดให้ เกิดการแตกตัววิธีของหลอดคาย
ประจุ เช่ นฟลูออเรสเซนต์ หลอดแสงจันทร์ ฯ
แต่ หลอดให้ คลืน่ รังสี แสง จะไม่ ได้ ให้ ที่ตามองเห็น
ทั่วไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เนือ้ หาสาระ
หลอดให้ คลืน่ รังสี แสงเป็ นรู ปแสงอัลตร้ าไวโอ
เลต และแสงอินฟาเรด ซึ่งมีประโยชน์ ต่อมนุษย์
มากมาย ในด้ านการอานวยความสะดวกและการ
ดารงชีวติ เช่ น ใช้ ในการฆ่ าเชื้อโรค ใช้ ตรวจวัตถุ
วัดระยะทาง ให้ ความร้ อนอบสี รถ ฯลฯ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. บอกความหมายของหลอดให้ คลืน่ รังสี แสง ได้
2. บอกความเป็ นมาหลอดให้ คลืน่ รังสี แสง ได้
3. บอกชนิด ขนาดและรู ปร่ างหลอดให้ คลืน่ รังสี
แสง ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิง่ แวดล้อม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลง
นาสู่
พอประมาณ
ทางสายกลาง
พอเพียง
มีเหตุผล
เงือ่ นไขความรู ้
รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภูมิคุม้ กัน
เงือ่ นไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปั ญญา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... มงคล ทองสงคราม .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... วิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... ศุลี บรรจงจิตร .....
สานักพิมพ์ ..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด......
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2538........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง ....
ชื่อผู้แต่ ง..... อ.ไชยะ แช่ มช้ อย .....
สานักพิมพ์ .....เอ็มแอนด์ อี จากัด........
ปี ทีพ่ มิ พ์ ....2550........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ.....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมวิชาการ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2549........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..การส่ องสว่ าง..
ชื่อผู้แต่ ง.....วัฒนา ถาวร .....
สานักพิมพ์ ... สมาคมส่ งเสริมเทคโนโลยี่
(ไทยญี่ปุ่น)....
ปี ที่พมิ พ์ ....2536........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงที่มองเห็นด้ วยตาเปล่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงที่มองเห็นด้ วยตาเปล่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงที่มองเห็นด้ วยตาเปล่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดให้ คลืน่ รังสี แสง
เป็ นหลอดทีใ่ ห้ แสงออกมาในรู ปการ
กระจายคลืน่ ความถีแ่ สงหรือรังสี แสง
แบ่ งได้ เป็ น 2 ชนิด
1. หลอดให้ แสง เป็ นรังสี อลั ตราไวโอเลต
2. หลอดให้ ความร้ อน จากรังสี อนิ ฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดให้ แสง เป็ นรังสี อลั ตราไวโอเลต
2. หลอดให้ ความร้ อน จากรังสี อนิ ฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดให้ แสง เป็ นรังสี อลั ตราไวโอเลต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
เป็ นคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าความถีส่ ้ั น ช่ วงต่ อ
จากแสงสี ม่วง(ระหว่ างVisible Spectrum กับ
X-ray) เป็ นรังสี ที่ตาคนมองไม่ เห็น และไม่
สามารถรับรู้ ได้ อย่ างเช่ นเดียวกับคลืน่ รังสี
อินฟราเรด(IR)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
รังสี เหนือม่ วง ถูกพบโดย นักฟิ สิ กส์ ชาว
เยอรมัน ชื่อโจฮานวิลเฮล์ม ริตเตอร์ พบใน
สเปคตรัมของแสงแดด โดยเมื่อสารละลาย
ซิลเวอร์ คลอไรด์ กลับ
กลายเป็ นสารละลาย
สี ดาทันที
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดรังสี อลั ตราไวโอเลต
แหล่งกาเนิดของรังสี เหนือม่ วง(UV) มีท้งั
จากธรรมชาติและจากสิ่ งทีม่ นุษย์ ประดิษฐ์ ขนึ้
แต่ แหล่งกาเนิดรังสี UV ที่สาคัญ คือ ดวงอาทิตย์
และคนส่ วนใหญ่ จะได้ รับรังสี UV จากแสงแดด
แต่ เนื่องจากชั้นของบรรยากาศได้ ลดลง มนุษย์
และสิ่ งแวดล้อมจึงได้ รับรังสี UV เพิม่ มากขึน้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ชั้นของบรรยากาศช่ วยกรองรังสี UV
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดรังสี อลั ตราไวโอเลต
รังสี UV เป็ นเสมือนดาบสองคม กล่าวคือ
หากได้ รับรังสี ในขนาดต่าจะเป็ นประโยชน์ ต่อ
การสร้ างไวตามินดี แต่ ถ้าได้ รับมากเกินไปเป็ น
เวลานานจะมีผลในการทาลาย
ระบบภูมคิ ุ้มกันของร่ างกาย
รวมทั้งผิวหนัง ตา และก่อให้
เกิดมะเร็ง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รังสี อลั ตราไวโอเลต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดรังสี อลั ตราไวโอเลต
ไบโอโมเลกุลในร่ างกายซึ่งดูดซึมรังสี UV
จะเกิดปฏิกริ ิยาขั้นปฐมภูมิ คือ เกิดการเปลีย่ น
แปลงโมเลกุลเล็กน้ อยหรือเกิดการเปลีย่ น-แปลง
ทางโมเลกุลโดยสิ้นเชิง ซึ่งการเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะ
เกิดขึน้ อย่ างรวดเร็วแต่ มีผลต่ อเนื่องในระยะยาว
DNA
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดรังสี อลั ตราไวโอเลต
DNA เป็ นโมเลกุลสาคัญทีถ่ ูกทาลายได้ ด้วย
รังสี UVB = 280-315 nm และ UVC = 100-280
จากการเฝ้ าสั งเกตการณ์ พบว่ า เมื่อเซลล์
prokaryotic และ eukaryotic ได้ รับรังสี UV จะ
ทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงของเซลล์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แหล่ งกาเนิดรังสี อลั ตราไวโอเลต
รังสี UV จะทาให้ เกิดเซลล์ตาย โครโมโซม
เปลีย่ นแปลง เกิดการกลายพันธุ์ และการ
เปลีย่ นแปลงของโครงสร้ างของเซลล์ นอกจากนี้
ยังพบว่ า ยีนหลายตัว และไวรัสหลายชนิดก็ถูก
กระตุ้นให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงโดยรังสี UV
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
** รังสี UV ทุกชนิด ควรระวังไม่ ให้ ถูก
ผิวหนังหรือตา อย่ างต่ อเนื่อง **
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
แบ่ งเป็ นประเภท ดังนี้
1. UV-A ช่ วงความยาวคลืน่ 315 - 380 nm
2. UV-B ช่ วงความยาวคลืน่ 280 - 315 nm
3. UV-C ช่ วงความยาวคลืน่ 100 - 280 nm
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
1. UV-A ช่ วงความยาวคลืน่ 315 - 380 nm
เป็ นรังสี UV ที่ไม่ ค่อยมีอนั ตรายมากนัก
สามารถนา มาใช้ เป็ นประโยชน์ ได้ หลายด้ าน
โดยเฉพาะทางด้ านเคมี, ฟิ สิ กส์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
2. UV-B ช่ วงความยาวคลืน่ 280 - 315 nm
มีผลต่ อร่ างกายและสิ่ งของได้ ก่อให้ เกิดการ
ไหม้ ของผิวหนัง(Sunburn or Erythematic)
และการอักเสบของตาดา ได้ แต่ มคี ุณประโยชน์
ในการรักษาโรคผิวหนังบางชนิดได้ รวมถึงการ
ประยุกต์ ในงานอุตสาหกรรมเคมี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. รังสี อลั ตราไวโอเลต
( Ultraviolet Radiation : UV )
3. UV-C ช่ วงความยาวคลืน่ 100 - 280 nm
เป็ นรังสี ที่มีอนั ตรายต่ อร่ างกายได้ อย่ าง
รุนแรง เช่ น ผิวแดงไหม้ เกรียม (Erythema) หรือ
เยือ่ บุตาอักเสบ(Conjunctivitis) ซึ่งเราประยุกต์
มาทา ประโยชน์ ในการฆ่ าเชื้อโรคได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
1. การเร่ งปฏิกริ ิยาเคมีด้วยแสง
(Photochemical Process)
2. การตรวจและวิเคราะห์ ชิ้นงาน
(Detection, Inspection and Analysis)
3. การฆ่ าเชื้อโรค( Disinfection) ด้ วยหลอดให้
แสงUV-Cที่มีความยาวคลืน่ 253.7nm นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
4. ล่อแมลง (Insect Trap) เช่ น จับไปขาย,
ทาลายทิง้ , ล่อออกไป
5. รักษาโรคผิวหนัง
6. การถ่ ายเอกสาร ถ่ ายพิมพ์เขียว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
1. การเร่ งปฏิกริ ิยาเคมีด้วยแสง
(Photochemical Process)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
2. การตรวจและวิเคราะห์ ชิ้นงาน
(Detection, Inspection and Analysis)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
3. การฆ่ าเชื้อโรค( Disinfection) ด้ วยหลอดให้
แสงUV-Cที่มีความยาวคลืน่ 253.7nm
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
4. ล่อแมลง (Insect Trap) เช่ น จับไปขาย,
ทาลายทิง้ , ล่อออกไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
5. รักษาโรคผิวหนัง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
5. รักษาโรคผิวหนัง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
( UV Lamps )
6. การถ่ ายเอกสาร ถ่ ายพิมพ์เขียว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
1. การเร่ งปฏิกริ ิยาเคมีด้วยแสง (Photochemical
Process)
- การทา ให้ อยู่ตวั หรือแข็งตัวโดยวิธีโพลี
เมอไรเซชั่น (Curing & Hardening by
polymerization) ทาให้ หมึก, สี , แล็คเกอร์ แห้ ง
ภายในระยะเวลาสั้ นๆ จึงทาให้ ผลิตสิ นค้ าได้
รวดเร็วขึน้ และมีต้นทุนถูกลงได้
- การทา เพลท (Plate)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การทา เพลท (Plate)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การทา เพลท (Plate)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
2. การตรวจและวิเคราะห์ ชิ้นงาน
(Detection, Inspection and Analysis) เช่ น
- การตรวจดูเส้ นด้ ายและความเรียบร้ อย
ในการทอผ้ า
- ตรวจผลิตภัณฑ์ เคมี ว่ าเป็ นชนิดใด
- ตรวจหาเชื้อราในผลิตภัณฑ์ อาหาร
เพราะเชื้อราบางชนิดมองเห็นได้ ชัดในรังสี UV
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
- ใช้ วเิ คราะห์ แร่ ธาตุต่างๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
- ตรวจลายเซ็น, ตรวจธนบัตร, ตรวจบัตร
เครดิต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
- การออกแบบแสง (Decorative and
Special Lighting Application) ให้ เกิดความ
แปลกตา หรือสวยงาม (Luminescence
purposes)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดที่ใช้ ให้ รังสี อลั ตร้ าไวโอเลต
1. หลอดแสงอาทิตย์ Sunlight Lamps
2. หลอดแสงสี ดา Blacklight Lamps
3. หลอดไฟฆ่ าเชื้อโรค Germicidal Lamps
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. หลอดแสงอาทิตย์
Sunlight Lamps
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. หลอดแสงสี ดา
Blacklight Lamps
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3. หลอดไฟฆ่ าเชื้อโรค
Germicidal Lamps
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประโยชน์ ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต
- วิเคราะห์ ลายนิว้ มือ หรือ การเคลือบ
พืน้ ผิววัตถุ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การใช้ หลอดอัลตราไวโอเลต ในการฆ่ าเชื้อโรค
(Disinfection by UVGI Lamp Ultra-violet Germicidal
Irradiation)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การฆ่ าเชื้อโรคด้ วยการฉายรังสี UV-C
1. ความลึกในการแทรกซึม
(Depth of Penetration)
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การฆ่ าเชื้อโรคด้ วยการฉายรังสี UV-C
1. ความลึกในการแทรกซึม (Depth of
Penetration) ของรังสี UV-C ซึ่งเป็ นคุณสมบัติ
ที่สาคัญมาก เนื่องจากรังสี UV มีขดี จากัดใน
การแทรกซึมผ่ านวัตถุ (ยกเว้ นนา้ และของเหลว
บางชนิด) เพราะผิวชั้นนอกของวัตถุจะดูดซับ
รังสี เอาไว้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
ผู้ทรี่ ับการฉายรังสี
ไม่ ควรได้ รับรังสี มากไป
แต่ อย่ างไรก็ดี การใช้ รังสี
UV-C ซึ่งได้ จากหลอด
ฆ่ าเชื้อโรคนั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
การใช้ รังสี UV-C ฆ่ าเชื้อโรค ก็มีข้อควรสั งเกต ดังนี้ :
- UV-C ต้ องถูกเชื้อโรคโดยตรงเท่ านั้น ถ้ าเชื้อ
โรคซ่ อนอยู่ในเงาของวัตถุ เชื้อโรคนั้นจะไม่
ตาย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
การใช้ รังสี UV-C ฆ่ าเชื้อโรค ก็มีข้อควรสั งเกต ดังนี้ :
- UV-C จะต้ องถูกเชื้อโรคเป็ นระยะเวลานาน
พอ (นานแค่ ไหนขึน้ อยู่กบั ชนิดของเชื้อโรค) จึงจะ
สามารถฆ่ าเชื้อโรคได้ ซึ่งเชื้อโรคบางชนิดทนต่ อ
รังสี UV-C ได้ นานมาก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
การใช้ รังสี UV-C ฆ่ าเชื้อโรค ก็มีข้อควรสั งเกต ดังนี้ :
- UV-C ถูกดูดซึมได้ ง่าย จึงควรใช้ ในที่
อากาศแห้ ง เพราะจะมีประสิ ทธิภาพดีทสี่ ุ ด และใช้
ขนาด Dose น้ อยทีส่ ุ ด ถ้ าใช้ ในอากาศชื้นมากๆ ต้ อง
ใช้ ขนาด Dose เป็ นสองเท่ า ถ้ าใช้ ในน้าดื่มธรรมดา
จากน้าก๊ อก อาจต้ องใช้ ขนาดมากถึงสิ บเท่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. อันตรายจากรังสี ต่างๆ
(Possible Hazardous Effects of Such Radiation)
การใช้ รังสี UV-C ฆ่ าเชื้อโรค ก็มีข้อควรสั งเกต ดังนี้ :
- การใช้ หลอดUV-C ควรระวังไม่ ให้ ถูกตา
และผิวหนังของคนโดยตรง (ถ้ าสะท้ อนจากผนัง ก็
ต้ องคอยระวังไม่ ให้ นานเกินไป)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
1. การฆ่ าเชื้อโรคในอากาศ (Air Disinfection)
2. ฆ่ าเชื้อโรคทีพ่ นื้ ผิวของวัตถุ (Surface
Disinfection)
3. ฆ่ าเชื้อโรคในของเหลว (Liquid Disinfection)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
1. การฆ่ าเชื้อโรคในอากาศ (Air Disinfection)
ทา ได้ 4 วิธีคอื
1.1 ติดหลอด UV ไว้ บนเพดาน (Ceilingmounted UV Lamp) รังสี กระจายทั่วไป ใช้ ใน
เวลาปลอดคน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ติดหลอด UV ไว้ บนเพดาน หรือ ผนัง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
1. การฆ่ าเชื้อโรคในอากาศ (Air Disinfection)
ทา ได้ 4 วิธีคอื
1.2 ฉายรังสี สู่ อากาศด้ านบนของห้ อง
(Upper-Air Irradiation) โดยใช้ โคมหันขึน้ ไม่
ส่ องลงมาสู่ ตาคน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1.2 ฉายรังสี สู่ อากาศด้ านบนของห้ อง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
1. การฆ่ าเชื้อโรคในอากาศ (Air Disinfection)
ทา ได้ 4 วิธีคอื
1.3 ฉายรังสี ใส่ อากาศที่พนื้ ห้ อง (FloorZone Irradiation) ด้ วยโคมชนิดหันลง เพือ่ ฉาย
รังสี ใส่ อากาศที่พนื้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
1. การฆ่ าเชื้อโรคในอากาศ (Air Disinfection)
ทา ได้ 4 วิธีคอื
1.4 ในท่ ออากาศหรือท่ อลม (Air-Ducts)
เหมาะสา หรับสถานที่มีระบบปรับอากาศ(Air
Conditioning System)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
2. ฆ่ าเชื้อโรคทีพ่ นื้ ผิวของวัตถุ (Surface
Disinfection) ใช้ กบั การผลิตอาหารและยา ทั้ง
โดยตรงหรือภาชนะบรรจุ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะใช้ งานฆ่ าเชื้อโรคด้ วยหลอดรังสี เหนือม่ วง
3. ฆ่ าเชื้อโรคในของเหลว (Liquid
Disinfection) ใช้ ในการผลิตนา้ ดืม่ , นา้ ผลไม้ ,
นา้ เลีย้ งปลา, นา้ ในสระว่ ายนา้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประเภทหลอดฆ่ าเชื้อโรค
1. Tubular UVGI ทั้งแบบ Standard และ
High-output
2. Compact Single-ended UVGI
3. High Intensity Discharge Tube
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประเภทหลอดฆ่ าเชื้อโรค
1. Tubular UVGI ทั้งแบบ Standard และ
High-output
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประเภทหลอดฆ่ าเชื้อโรค
2. Compact Single-ended UVGI
หลอดทั้งสองประเภท เป็ นหลอดแบบ Lowpressure Mercury-vapour Discharge
Technology
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ประเภทหลอดฆ่ าเชื้อโรค
3. High Intensity Discharge Tube เป็ นหลอด
แบบ Medium-pressure Mercury-vapour มี
พลังงานมากกว่ า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
1. สถานทีส่ าธารณะ ทีม่ คี นอยู่เป็ นจานวน
มากหรืออยู่เป็ นเวลานาน เช่ นห้ องเรียน, ค่ าย
ทหาร, โรงภาพยนตร์ , หอประชุม, ห้ องรับรอง,
สานักงาน ฯลฯ ให้ ติดตั้งหลอดUVGI ในท่ อฆ่ า
เชื้อโรคในอากาศ (Air-disinfecting Duct), ท่ อ
ปรับสภาพอากาศ (Air-conditioning Duct)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
2. โรงพยาบาล (Hospital) ตึกคนไข้ , ห้ อง
ตรวจ, ที่พกั คอย, ครัว, ที่เก็บเครื่องมือผ่ าตัด
และอุปกรณ์ ของใช้ ต่างๆ อาหารและเครื่องดืม่
(Food and Beverage) ทั้งขั้นตอน ขณะผลิต,
บรรจุหีบห่ อ, จัดเก็บ หรือส่ งสิ นค้ าจาหน่ าย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. โรงพยาบาล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. โรงพยาบาล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. โรงพยาบาล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
3. อุตสาหกรรมการผลิตเวชภัณฑ์
(Pharmaceutical Industry) รวมถึง สาร
ปฏิชีวนะ ยา และเครื่องสาอาง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
4. ห้ องครัว (Kitchen) ในตู้เย็น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
5. การป้ องกันสั ตว์ ป่วย (Animal
Protection) ใช้ กบั เรือนปศุสัตว์ , คอก, ฟาร์ ม, เล้า,
กรงขัง รวมไปถึงสวนสั ตว์ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
6. อุปกรณ์ สาหรับการบรรจุหีบห่ อ
(Packaging Material) และการปิ ดผนึก(Sealing)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
7. ห้ องทดลอง (Laboratory) และเครื่องมือ
ทดลองต่ างๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน (Applications)
8. การทานา้ ให้ บริสุทธิ์ Water Purification
เช่ น Drinking Water, Aquarium, Swimming
Pools, Supplementing Chlorination
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Infrared หรือ อินฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Infrared หรือ อินฟราเรด
รังสี อนิ ฟราเรดคืออะไร
เป็ น spectrum หนึ่งของคลืน่ แม่ เหล็ก
ไฟฟ้า มีความยาวคลืน่ อยู่ระหว่ างคลืน่
ไมโครเวฟและคลืน่ แสงที่ตามองเห็น( visible
light ) มีความถีอ่ ยู่ทปี่ ระมาณ 10 16 Hertz
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฮีตเตอร์ อินฟราเรด (Heater Infrared)
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
ในปี ค.ศ. 1800 ขณะที่ เฮอเชล กาลัง
ติดตามศึกษาดวงอาทิตย์ อยู่ ในกล้องดูดาว ต้ อง
มีการใช้ เลนส์ กรองแสง ซึ่งทาเป็ นสี ต่างๆ เฮอ
เชล ต้ องการทราบว่ า ในเลนส์ แต่ ละสี จะเปลีย่ น
ค่ าแสดงความร้ อนของดวงอาทิตย์ หรือไม่ ท่ าน
จึงประดิษฐ์ อปุ กรณ์ การทดลองอย่ างง่ ายๆ เพือ่
หาคาตอบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Sir Frederick William Herschel
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฮีตเตอร์ อินฟราเรด (Heater Infrared)
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
ซึ่งนับเป็ นวิธีทดลองที่หลักแหลมเป็ นอย่ าง
มากท่ านใช้ ปริซึมแยกแสง แล้วให้ แสงต่ างๆ มา
ตกที่เทอร์ โมมิเตอร์ ซึ่งทาสี ดาที่กะเปาะ เพือ่ ให้
ดูดความร้ อนดียงิ่ ขึน้ ความทีเ่ ป็ น ท่ านก็ต้งั
เทอร์ โมมิเตอร์ ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสี ต่างๆ
นั้น เพือ่ เป็ นตัวควบคุมการทดลอง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฮีตเตอร์ อินฟราเรด (Heater Infrared)
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
ปรากฏว่ า แสงสี ต่าง มีอณ
ุ หภูมสิ ู งกว่ าแสง
สี ขาว และอุณหภูมสิ ู งขึน้ จาก สี ม่วง ไปหาสี แดง
เฮอเชล จึงเกิดความอยากรู้ ขนึ้ มา แล้ววัดแถบ
เหนือแสงสี แดงขึน้ ไปที่ไม่ ปรากฏมีสีอะไร ดู
เหมือนแสงอาทิตย์ ธรรมดาเท่ านั้นเอง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฮีตเตอร์ อินฟราเรด (Heater Infrared)
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
แต่ เฮอเชล ก็ประหลาดใจเป็ นอย่ างยิง่ เมื่อ
ปรากฏว่ า เทอร์ โมมิเตอร์ ตัวทีอ่ ยู่นอกเหนือจาก
แสงสี แดงนั้น กลับวัดได้ อณ
ุ หภูมสิ ู งกว่ าทุกตัว
เฮอเชล จึงทาการทดลองต่ อไป ก็พบว่ า ส่ วนของ
แสงที่มองไม่ เห็นแต่ ร้อนกว่ าสี แดงนี้ มีคุณสมบัติ
ทางกายภาพเช่ นเดียวกับคลืน่ แสงที่มองเห็นได้
ทุกประการ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ฮีตเตอร์ อินฟราเรด (Heater Infrared)
การค้ นพบรังสี อนิ ฟราเรด
เช่ น การหักเห ดูดซับ ส่ องผ่ านหรือไม่ ผ่าน
ตัวกลาง ฯลฯ ในตอนแรก ท่ านเรียกแสงนีว้ ่ า
calorific rays ซึ่งก็เช่ นเดิมที่การตั้งชื่อของท่ าน
ไม่ ค่อยจะเป็ นทีถ่ ูกใจใครเท่ าไรนัก รังสี ทถี่ ูก
ค้ นพบใหม่ นี้ ก็ถูกเปลีย่ นชื่อไปเป็ น รังสี
อินฟราเรด ทีเ่ รารู้ จกั กันมาทุกวันนี้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Infrared หรือ อินฟราเรด
คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic
waves) เป็ นสิ่ งทีอ่ ยู่รอบตัวเรานับตั้งแต่ แสง
อาทิตย์ คลืน่ โทรทัศน์ คลืน่ วิทยุ
โทรศัพท์ มือถือ แสงจากหลอดไฟ
คลืน่ จากเตาไมโครเวฟ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Infrared หรือ อินฟราเรด
คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า มีต้งั แต่ คลืน่ ความถี่
ต่ามาก ๆ ( Extremely low frequency) ต่า
กว่ าคลืน่ วิทยุอกี ความถีป่ ระมาณ 10 hertz
จนกระทัง่ ถึงความถีส่ ู งสุ ดทีค่ ลืน่ รังสีเอ็กซ์
18
( x-rays) ความถี่ 10 hertz
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสาคัญของรังสี อนิ ฟราเรด
คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าที่มีความถีอ่ ยู่ในช่ วง
11
14
-3
10 – 10 เฮิรตซ์ หรือความยาวคลืน่ 10 –
-6
10 เมตร เรียกว่ า รังสี อนิ ฟราเรด ซึ่งจะมีย่าน
ความถีค่ าบเกีย่ วกับย่ านความถีข่ องคลืน่
ไมโครเวฟอยู่บ้างวัตถุร้อนจะแผ่ รังสี
-4
อินฟราเรดที่มีความยาวคลืน่ สั้นกว่า 10 เมตร
ออกมา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สเปกตรัมของแสงอาทิตย์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสาคัญของรังสี อนิ ฟราเรด
ประสาทสั มผัสทางผิวหนังของมนุษย์
สามารถรับรังสี อนิ ฟราเรดบางช่ วงความยาว
คลืน่ ได้ ฟิ ล์มถ่ ายรู ปบางชนิดสามารถถ่ ายรู ปได้
โดยอาศัยรังสี อนิ ฟราเรดตามปกติสิ่งมีชีวติ จะ
แผ่ รังสี อนิ ฟราเรดออกมาตลอดเวลา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ความสาคัญของรังสี อนิ ฟราเรด
และรังสี อนิ ฟราเรดสามารถทะลุผ่านเมฆ
หมอกที่หนาเกินกว่ าแสงธรรมดาจะผ่ านได้
จึงอาศัยสมบัตินีใ้ นการถ่ ายภาพพืน้ โลกจาก
ดาวเทียมเพือ่ ศึกษาการแปรสภาพของป่ าไม้
หรือการเคลือ่ นย้ ายของฝูงสั ตว์ เป็ นต้ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
รั ง สี อิ น ฟราเรดยั ง ใช้ ในระบบควบคุ ม ที่
เรียกว่ า รีโมทคอนโทรล (Remote Control)
หรื อ การ ควบคุ ม ระยะไกล ซึ่ ง เป็ นระบบ
สาหรั บควบคุ มการทางานของอุปกรณ์ ต่างๆ
จากระยะไกล โดยรังสี อนิ ฟราเรดจะเป็ นตัวนา
คาสั่ งจากเครื่องควบคุมไปยังเครื่องรับ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นอกจากนี้ในทางทหารได้ มีการนาเอารั งสี
อินฟราเรดมาใช้ เกี่ยวกับการควบคุมให้ อาวุธ
นาวิถีเคลื่อนที่ไปยังเป้ าหมายได้ อย่ างถูกต้ อง
ปั จ จุ บั น มีก ารส่ งสั ญ ญาณด้ ว ยเส้ นใยน าแสง
(Optical Fiber) โดยใช้ รังสี อินฟราเรดเป็ น
พาหะนาสั ญญาณ เนื่องจากถ้ าใช้ แสงธรรมดา
น าสั ญญาณ อาจจะถู ก รบกวนจากแสง
ภายนอกได้ ง่าย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ตัวอย่างภาพถ่ายความร้อน ตรวจสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้ าต่าง ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทาความร้ อน
คือ แสงอินฟราเรด ทีส่ ่ งไปยังวัตถุ เป็ นแสง
คลืน่ ยาวทีต่ ามนุษย์ ไม่ สามารถมองเห็น ซึ่งรังสี
จะทาให้ โมเลกุลของวัตถุ เกิดการสั่ น ทาให้ เกิด
ความร้ อนขึน้ หลักการนีจ้ ะมีประสิ ทธิภาพมาก
เมือ่ นาไปประยุกต์ ใช้ กบั วัตถุทมี่ โี ครงสร้ าง
โมเลกุลขนาดใหญ่ เรียงกันเป็ นแถวยาว เช่ น สี ,
กาว, อาหาร, พลาสติก, แลกเกอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แสงอินฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หน่ วยเล็กทีส่ ุ ดของวัตถุ คือ โมเลกุล ซึ่ง
ประกอบด้ วยอะตอมของธาตุต่าง ๆ การที่วตั ถุ
สามารถอยู่รวมกันเป็ นกลุ่มก้อนได้ เนื่องจาก
โมเลกุลเหล่านั้นมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
อะตอมของวัตถุไฮโมเลกุล (โมเลกุลทีเ่ กาะ
กันเป็ นสายยาว เช่ น สี , พลาสติก, ยาง) จะยึด
เกาะกันคล้ายสปริง ซึ่งจะมีการสั่ นอยู่บ้าง เมื่อ
วัตถุไฮโมเลกุลได้ รับรังสี อนิ ฟราเรด ซึ่งมี
ความถีข่ องคลืน่ ใกล้เคียงกับการสั่นของ
โมเลกุล จะส่ งผลให้ โมเลกุลต่ าง ๆ มีการสั่ นที่
รุนแรงขึน้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Infrared Heater ที่มีประสิ ทธิภาพ
จะต้ องมีความสามารถในการแปลงพลังงาน
ไฟฟ้า ให้ อยู่ในรู ปของคลืน่ อินฟราเรดให้ มาก
ทีส่ ุ ด คือ ช่ วง 3 – 10 mm. องค์ ประกอบสาคัญ
ที่ต้องพิจารณา คือ แหล่งกาเนิดคลืน่ อินฟราเรด
และวัตถุเป้ าหมาย ในขณะที่การทาความร้ อน
ด้ วยวิธีการพา และการนาความร้ อน จะเน้ นที่
ตัวกลาง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ลักษณะของ Infrared Heater เป็ นการ
ส่ งผ่ านความร้ อนแบบแผ่ รังสี (เหมือนกับที่ดวง
อาทิตย์ ส่งความร้ อนมายังโลก) จึงมีประสิ ทธิ
ภาพสู ง ความสู ญเสี ยตา่ ประหยัดไฟได้ 30-50%
สามารถให้ ความร้ อนวัตถุได้ ถงึ เนือ้ ใน จึงทาให้
ประหยัดเวลาให้ รังสี ช่วง 3 - 10mm. ซึ่งเป็ นช่ วง
ทีว่ สั ดุเกือบทุกชนิดสามารถดูดซับรังสี ได้ ดี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การแผ่ รังสี ความร้ อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การพาความร้ อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาความร้ อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน
1. ใช้ ในการอบแห้ งต่ าง ๆ เช่ น สี , แลกเกอร์ , กาว
, เมล็ดพันธุ์พชื , อีพอ็ กซี่
2. ใช้ กบั อุตสาหกรรมพลาสติก อบพลาสติกให้
อ่อนตัวก่อนนาไปเข้ าเครื่องเป่ า
3. ใช้ กบั อุตสาหกรรมอาหาร ขนมปัง เบเกอรี่
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ งาน
4. ใช้ ในวงการแพทย์ เช่ น การอบฆ่ าเชื้อ,
ห้ องอบเด็กทารก
5. ใช้ กบั อุตสาหกรมเคลือบผิวต่ าง ๆ เช่ น
เคลือบสี , ผิว, เซรามิค, มีรามีน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อควรระวัง
การให้ ความร้ อนแบบอินฟราเรด สิ่ งที่สาคัญ
ทีส่ ุ ด คือ ตัววัตถุจะต้ องดูดซับรังสี ได้ ดี ดังนั้น
วัตถุบางชนิดทีม่ ผี วิ มันวาว หรือมีคุณสมบัติ
การสะท้ อนแสงที่ดีจะไม่ เหมาะกับการให้
ความร้ อนด้ วยวิธีนี้ ถ้ าต้ องการควบคุม
อุณหภูมิ พยายามวางหัววัดอุณหภูมใิ ห้ ใกล้
วัตถุมากทีส่ ุ ด หรือใช้ หัววัดอุณหภูมแิ บบ
อินฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางานของอินฟราเรด
(INFRARED)
1. จัดตาแหน่ ง : ในการพิมพ์ไฟล์จาก
โน้ ตบุ๊ค ให้ วางอุปกรณ์ น้ัน 3 ฟุตจาก
เครื่องพิมพ์ที่เหมาะสมกับ IR ชี้ที่พอร์ ต IR
(หรือที่เรียกว่ าโฟโตไดโอด) ตรงไปยังโฟโต
ไดโอดของเครื่องพิมพ์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางานของอินฟราเรด
(INFRARED)
2. ส่ ง : พัลส์ ของแสงอินฟราเรดจะถูก
ส่ งไปกลับระหว่ างอุปกรณ์ สองตัวเพือ่ ขนถ่ าย
แพ็กเกตของข้ อ มูลทีป่ ระกอบกันเป็ นแพ็กเกต
จะถูกสื่ อสารด้ วยพัลส์ เปิ ด/ปี ดของแสง
อินฟราเรดโดยพัลส์ จะถูกอ่าน ในรู ปของ
รหัสไบนารี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางานของอินฟราเรด
(INFRARED)
3. รับ : โฟโตไดโอดจะรับแพ็กเกต ซึ่งจะ
ถูกแปรกลับไปเป็ นข้ อมูลอีกครั้ง เครื่องพิมพ์
หรือพีซีในด้ าน รับจะประมวลผลข้ อมูลที่
ได้ มาจากการเชื่อมต่ อเครือข่ ายที่ใช้ สายเคเบิล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางานของอินฟราเรด
(INFRARED)
4. การขัดขวาง : ถ้ ามีวตั ถุมาขัดขวางลา
ของพัลส์ ของอินฟราเรดขณะ ทีข่ ้ อมูลกาลังถูก
ส่ งสั ญญาณจะ ถูกบล็อก อย่ างไรก็ตามอุปกรณ์
ด้ านส่ งจะรับรู้ ข้อผิดพลาดและทาการส่ งข้ อมูล
ที่ขาดหายไปใหม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
การประยุกต์ ใช้ คลื่นอินฟราเรดจะเป็ นการ
ประยุกต์ ใช้ ในการสื่ อสารแบบไร้ สาย (Wireless
communication) ในการควบคุมเครื่ องมือ
เครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า โดยการส่ งสั ญ ญาณไปทาง
LED (Light emitting diode)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
โดยการส่ งสั ญญาณไปทาง LED (Light
emitting diode) โดยตัวส่ ง (transmitter)
หรือ laser diode และจะมีตัวรับ (receiver)
และท าการเปลี่ ย นข้ อมู ล ให้ กลั บ ไปเป็ น
เหมือนข้ อมูลเริ่ มแรก เทคโนโลยีอินฟราเรด
มี ค วามโดดเด่ นเพราะก าลั ง ได้ รั บการ
ประยุกต์ ใช้ อย่ างกว้ างขวาง เช่ น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* ระบบล็อครถยนต์ ( car locking system )
ทีก่ ดปุ่ มล็อครถอยู่ทุกวันก็ใช้ คลืน่ อินฟราเรด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* mouse, keyboards, floppy disk drives,
printer
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* ระบบฉุกเฉิน(Emergency response system )
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* การควบคุมภายในอาคาร หน้ าต่ าง ประตู
ไฟฟ้า ผ้ าม่ าน เตียงนอน วิทยุ หูฟังแบบไร้ สาย
(Headphones) โทรศัพท์ แบบไร้ สาย ประตู
โรงรถ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* ระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคาร
บ้ านเรือน (Home security systems)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การประยุกต์ ใช้ รังสี อนิ ฟราเรด
* เครื่องเล่น vcd , cd และทีวี
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของคลืน่ อินฟราเรด
1* ใช้ พลังงานน้ อย จึงนิยมใช้ กบั เครื่ อง
laptops ,โทรศัพท์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของคลืน่ อินฟราเรด
2* แผงวงจรควบคุมราคาตา่ (Low circuitry
cost) เรียบง่ ายและสามารถเชื่อมต่ อกับระบบ
อืน่ ได้ อย่ างรวดเร็ว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของคลืน่ อินฟราเรด
3* มีความปลอดภัยในการเรื่องข้ อมูลสู ง
ลักษณะการส่ งคลืน่ (Directionality of the
beam)จะไม่ รั่วไปที่เครื่องรับตัวอืน่ ในขณะที่ส่ง
สั ญญาณ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของคลืน่ อินฟราเรด
4* กฎข้ อห้ ามระหว่ างประเทศของ IrDA
(Infrared Data Association) มีค่อนข้ างน้ อย
สาหรับนักเดินทางทั่วโลก
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อดีของคลืน่ อินฟราเรด
5* คลืน่ แทรกจากเครื่องใช้ ไฟฟ้าใกล้เคียงมี
น้ อย (high noise immunity)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของอินฟราเรด
1* เครื่องส่ ง(transmitter)และเครื่องรับ
(receiver)ต้ องอยู่ในแนวเดียวกัน คือต้ องเห็น
ว่ าอยู่ในแนวเดียวกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของอินฟราเรด
2* คลืน่ จะถูกกันโดยวัตถุทวั่ ไปได้ ง่ายเช่ น คน
กาแพง ต้ นไม้ ทาให้ สื่อสารไม่ ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของอินฟราเรด
3* ระยะทางการสื่ อสารจะน้ อย ประสิ ทธิภาพ
จะตกลงถ้ าระยะทางมากขึน้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของอินฟราเรด
4* สภาพอากาศ เช่ น หมอก แสงอาทิตย์ แรงๆ
ฝน และมลภาวะมีผลต่ อประสิ ทธิภาพการ
สื่ อสาร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ข้ อเสี ยของอินฟราเรด
5* อัตราการส่ งข้ อมูลจะช้ ากว่ าแบบใช้ สายไฟ
ทั่วไป
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง ตาบลหัวหิน
อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
77110
โทรศัพท์ 520500-520481(032)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ