การสอบ_เอกสารวิจัย
Download
Report
Transcript การสอบ_เอกสารวิจัย
บทที่ 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา
1. บุคลากรเป็ นทรัพยากรอันมีค่าขององค์ กร ความก้ าวหน้ าในอาชีพเป็ นสิ่ งจาเป็ น
2. ทบ. เป็ นองค์ กรหนึ่งของประเทศ – กาลังพลจานวน
มากใน ทบ. – ต้ องการความก้ าวหน้ า
3. ร.ต. – พ.ท. เป็ นบุคลกรทีเ่ ป็ นกาลังสาคัญในฐานะผู้
ปฏิบัติให้ ภารกิจของ ทบ. สาเร็จ – ต้ องการความก้ าวหน้ า
เช่ นกัน
บทที่ 1
คาถามนาการวิจยั
1. ความก้ าวหน้ าในการรับราชการของ นายทหารนักเรียน
ไทยในส่ วนของกองทัพบก หลักสู ตรหลักประจา โรงเรียน
เสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๘๘ เป็ นอย่ างไร
2. ปัจจัยอะไรบ้ างที่มีความสั มพันธ์ กบั ความก้ าวหน้ าใน
การรับราชการของ นายทหารนักเรียนไทยในส่ วนของ
กองทัพบก หลักสู ตรหลักประจา โรงเรียนเสนาธิการ
ทหารบก ชุดที่ ๘๘
บทที่ 1
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ศึกษาความก้ าวหน้ าในการรับราชการของ
นายทหารนักเรียนไทยในส่ วนของกองทัพบก หลักสู ตร
หลักประจา โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๘๘
2. เพือ่ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ อความก้ าวหน้ าในการรับ
ราชการของนายทหารนักเรียนไทยในส่ วนของกองทัพบก
หลักสู ตรหลักประจา โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่
๘๘
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง
1. แนวคิดและทฤษฎีว่าด้ วยการบริหารทรัพยากรมนุษย์
2. ทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y
3. ทฤษฎีว่าด้ วยองค์ การและการจัดการ
4. ระบบคุณธรรมและระบบอุปถัมถ์
5. การบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล
6. เป้ าหมายของการรับราชการ
7. แนวทางรับราชการของ น.สั ญญาบัตร
8. เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
กรอบแนวคิดในการวิจยั
จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง ได้ กรอบวิธีการศึกษาดังนี้
ปัจจัยส่ วนบุคคล
๑. ยศ
๒. อายุ
๔. กาเนิด ๕. ตาแหน่ ง
๗. ผลการปฏิบัติงาน
๓. อายุราชการ
๖. อาชีพบิดา/มารดา
๘. มนุษสั มพันธ์
๙. ลักษณะผู้นา ฯลฯ
ปัจจัยที่เกีย่ วกับงาน
๑. ลักษณะงานทีท่ า (ผบช./ฝอ./อจ., เหล่ารบ/สสก./
สสช.) ๒. การมีผ้ บู ังคับบัญชาทีด่ ี
๓. การมีเพือ่ นร่ วมงานดี
๔. การมีผ้ ใู ต้ บังคับบัญชาทีด่ ี
ความก้ าวหน้ า
ในการรับ
ราชการทหาร
๑. ยศ
๒. ตาแหน่ ง
๓. ขั้นเงินเดือน
บทที่ 3
วิธีการศึกษา
การศึกษาวิจยั เชิงปริมาณ (quantitative research)
1. การศึกษาค้ นคว้ าจากเอกสาร (Documentary Research)
2. การรวมรวมข้ อมูลภาคสนาม (Field Research) - การใช้
แบบสอบถาม (Questionnaire)
กลุ่มประชากร
นายทหารนักเรียนไทยในส่ วนของกองทัพบก หลักสู ตรหลัก
ประจา โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๘๘ ทีเ่ ข้ ารับการศึกษา
ในหลักสู ตรเสนาธิการทหารบก ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๓
จานวน ๑๙๘ นาย
บทที่ 3
เนือ้ หาและลักษณะของแบบสอบถาม
แบ่ งออกเป็ น ๔ ตอน
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ ๒ ผลการศึกษาเกี่ยวกับความก้าวในอาชีพ
ข้าราชการทหารบก
ตอนที่ ๓ ผลการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กบั
ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการทหารบก
ตอนที่ ๔ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
การสร้างเครือ่ งมือและการตรวจสอบเครือ่ งมือ (Validity, Reliability)
1. ทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา
2. นาแนวคิดและทฤษฎี ข้ อมูลทีไ่ ด้ ศึกษาจากเอกสารต่ างๆ การทบทวนวรรณกรรม นามา
สรุ ป กาหนดขอบเขตเนือ้ หาในการสร้ างแบบสอบถาม โดยให้ ครอบคุมเรื่องทีท่ าการศึกษา
และครอบคุมวัตถุประสงค์ ทุกประการ
3. นาแบบสอบถามทีส่ ร้ างขึน้ ให้ อาจารย์ ทปี่ รึกษา ผู้ทรงคุณวุตหิ รือผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
ความเหมาะสมและปรับปรุ งแก้ ไข เพือ่ ความเหมาะสมทีเ่ ทีย่ งตรงตามเนือ้ หา (Content
Validity) รวมทั้งการปรับปรุ งการใช้ ภาษาและการใช้ คาถามทีช่ ัดเจน เข้ าใจง่ าย
4. นาแบบสอบถามไปทาการทดสอบ (Pretest) โดยการนาไปสอบถามจากกลุ่มซึ่งมีลกั ษณะ
ใกล้เคียงกลุ่มประชากรทีต่ ้ องการจะศึกษาในครั้งนีม้ ากทีส่ ุ ด
สถิตทิ ่ีใช้
การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่ าร้ อยละ (Percentage) ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
(Mean) และส่ วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน (Standard Deviation)
ผลการวิจยั
บทที่ 4-5
ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. อายุโดยเฉลีย่ อยู่ระหว่ าง ๓๑ - ๓๕ ปี
2. สถานภาพการสมรสส่ วนใหญ่ จะสมรส
3. ส่ วนใหญ่ มีกาเนิดจาก นตท./นนร.
4. รายได้ ของกลุ่มประชากรโดยเฉลีย่ อยู่ระหว่ าง ๑๐,๐๐๐ - ๒๐,๐๐๐ บาท
5. อายุราชการทหาร (ไม่ นับวันทวีคูณ) ของกลุ่มประชากรโดยเฉลีย่ อยู่ที่ ๑๐ ปี
6. ชั้นยศปัจจุบันของกลุ่มประชากรส่ วนใหญ่ คือ พ.ต.
7. ด้ านระยะเวลาตั้งแต่ รับราชการทหารครั้งแรกจนได้ รับยศในปัจจุบัน ส่ วนใหญ่
ใช้ ระยะเวลา ๑๐ ปี จึงได้ รับยศในปัจจุบัน
8. อาชีพของบิดาก่อนทีก่ ลุ่มประชากรจะเข้ ารับราชการ ส่ วนใหญ่ รับราชการทหาร
9. อาชีพของมารดาก่อนทีก่ ลุ่มประชากรจะเข้ ารับราชการส่ วนใหญ่ ทาธุรกิจ
ส่ วนตัว
ผลการวิจยั
บทที่ 4-5
ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
10. ประเภทของตาแหน่ งก่อนเข้ า รร.สธ.ทบ. ของกลุ่มประชากรส่ วนใหญ่ มี
ตาแหน่ งฝ่ ายอานวยการ
11. ส่ วนใหญ่ ไม่ เคยปฏิบัติในสานักงานผู้บังคับบัญชา
12. จานวนครั้งทีไ่ ด้ รับการพิจารณาบาเหน็จพิเศษประจาปี เกินกว่า ๑ ขั้นนั้น ส่ วน
ใหญ่ ได้ รับการเลือ่ นบาเหน็จเกิน่ กว่ า ๑ ขั้น มากกว่ า ๘ ครั้ง
13.การได้ รับการงดพิจารณาบาเหน็จประจาปี ส่ วนใหญ่ ไม่ เคยถูกงดบาเหน็จ
14.ระดับการศึกษาทีไ่ ด้ รับสู งสุ ดกลุ่มประชากรส่ วนใหญ่ จบระดับการศึกษา
ปริญญาตรี
15. การได้ รับการฝึ ก/ศึกษาเพิม่ เติมจากต่ างประเทศ กลุ่มประชากรส่ วนใหญ่ ไม่ ได้
รับการศึกษาเพิม่ เติมจากต่ างประเทศ
ผลการวิจยั
บทที่ 4-5
ความก้าวในอาชีพข้ าราชการทหารบก
1. ต้ องมีความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่
2. ต้ องมีมนุษย์ สัมพันธ์ ทดี่ ีต่อผู้บังคับบัญชา
จะส่ งผลให้ มีความก้าวหน้ าในการรับราชการมากกว่ า
3. ทัศนะทีเ่ ห็นด้ วยกับปัจจัยส่ วนบุคคลทีช่ ่ วยให้ เกิดความก้ าวในการรับราชการทหารบก
ปัจจัยทีม่ ีความสั มพันธ์ กบั ความก้าวหน้ าในอาชีพข้ าราชการทหารบก
1. ต้ องรู้ จักปรับตนเข้ ากับผู้อนื่ และต้ องรู้ จักมีความเสี ยสละ
2. ต้ องมีความยุติธรรมจึงจะส่ งผลให้ มคี วามก้ าวหน้ า
3. กลุ่มประชากรประสบความสาเร็จมากพอ ๆ กับเพือ่ น
4. ประชากรมีทศั นะทีเ่ ห็นด้ วยอย่ างยิง่ กับปัจจัยด้ านมนุษย์ สัมพันธ์ ทที่ ่ านคิดว่ าช่ วยให้ เกิด
ความก้าวในการรับราชการทหารบก
บทที่ 4-5
ผลการวิจยั
แนวทางการปฏิบัติหน้ าทีใ่ นการรับราชการทหาร
1. ต้ องมีความรักในอาชีพรับราชการทหาร
2. การรู้ จกั และคุ้นเคยกับผู้บังคับบัญชาทีม่ ีอานาจตัดสิ นใจ
3. ระบบการเลือ่ นขั้น/ตาแหน่ งให้ สูงขึน้ ของหน่ วยงานมีความยุตธิ รรมดี
ข้ อคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะ
1. ระบบอุปถัมภ์ ยงั คงมีอทิ พลอยู่มากในระบบราชการทหารของไทย
2. ระบบคุณธรรมก็ยงั คงใช้ ได้ อยู่ในระบบราชการทหารของไทย
3. ระบบคุณธรรมและระบบอุปถัมภ์ ผสมผสานกัน
ข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบาย
1. ทบ. ควรพิจารณาจัดระบบการบริ หารค่าตอบแทน โดย
รู ปแบบการวิเคราะห์ระบบงาน ที่จะให้ได้ รู ปแบบการจ่าย
ค่าตอบแทน (Model of pay) ที่ดีรวมถึงการกําหนดนโยบายทาง
กลยุทธ์ของค่าตอบแทน
2. ทบ. ควรส่ งเสริ มให้มีการจัดทําเส้นทางสายอาชีพ (Career
path) เพื่อให้กาํ ลังพลระดับต่าง ๆ ทราบว่าตนเองมี โอกาสในการ
เติบโตในการทํางานกับ ทบ. อย่างไร และการพัฒนาตนเองอยู่
เสมอ จะส่ งผลให้ตนเองมีความก้าวหน้าอย่างไร
ข้อเสนอแนะ
เชิงวิชาการ - หัวข้อการวิจัยและกลุ่มตัวอย่าง
ประเภทการวิจยั
ในการศึกษาวิจยั ครั้งต่ อไป ควรเลือกทาการศึกษาแบบผสม โดย
ทาการศึกษาวิจยั เชิงปริมาณก่ อน เพือ่ หาประเด็นสาคัญและสารวจข้ อมูล
เบือ้ งต้ นก่ อน จากนั้นจึงศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพ เพือ่ หาแนวทางในการ
แก้ ปัญหา ซึ่งเป็ นประเด็นสาคัญที่ได้ จากการศึกษาวิจยั เชิงปริมาณ
ข้อเสนอแนะ
เชิงวิชาการ - หัวข้อการวิจัยและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
•แบบสอบถามในขั้นแรกและใช้ การสั มภาษณ์ ในการรวบรวมข้ อมูลใน
ขั้นต่ อมา รวมทั้งควรมีการสนทนากลุ่มย่ อยด้ วย จะทาให้ ได้ รับข้ อมูลที่
เป็ นประโยชน์ มากขึน้ อีกทั้งจะได้ ข้อมูลทีถ่ ูกต้ องมากขึน้ ด้ วย
• การวิจยั ครั้งนีใ้ ช้ แบบสอบถามเก็บข้ อมูลจากกลุ่มประชากร ซึ่งเป็ น
การเก็บข้ อมูลทางอ้ อม โดยมิได้ ใช้ การเก็บข้ อมูลโดยตรง เช่ น การ
สั งเกต การสั มภาษณ์ เป็ นต้ น จึงควรได้ มีการวิจยั เชิงคุณภาพจะทาให้
ได้ ผลการวิจยั ที่น่าเชื่อถือมากยิง่ ขึน้
่ 4-5
บทที
ข้อเสนอแนะ
เชิงวิชาการ - หัวข้อการวิจยั และกลุ่มตัวอย่าง
• ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่ างของความก้ าวหน้ า
ในการรับราชการทหารของนายทหารสั ญญบัตรชายและหญิง
เพือ่ ศึกษาปัจจัยแห่ งความก้ าวหน้ าระหว่ างเพศชายและเพศหญิง
ว่ ามีปัจจัยแตกต่ างกันอย่ างไร
• ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่ างของความก้ าวหน้ า
ของผู้ทเี่ คยปฏิบัตงิ านในสานักงานผู้บังคับบัญชา เพือ่ ศึกษา
ปัจจัยทีผ่ ลต่ อความก้ าวหน้ าทีแ่ ตกต่ างจากผู้ทปี่ ฏิบัตงิ านทัว่ ไป
อย่ างไร