3.เอกสารประการบรรยาย เรื่อง การจัดการความรู้ เมื่อ ๒๐ ต.ค. ๕๓

Download Report

Transcript 3.เอกสารประการบรรยาย เรื่อง การจัดการความรู้ เมื่อ ๒๐ ต.ค. ๕๓

การจัดการความรู ้
เมื่อ ๒๐ ต.ค. ๕๓
น.อ. ดร.วิชาญ สี ดา
นาวาเอก ดร. วิชาญ สี ดา
ตาแหน่ งปัจจุบัน
รองผูอ้ านวยการกองวิทยาการ และผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
อิเล็กทรอนิกส์ กองวิทยาการ กรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ
โทรศัพท์
๐๘๑๓๗๖๕๔๕๓
โทรสาร
๐๒๔๗๕๖๐๘๕
E-mail
[email protected]
การศึกษา (ปกติ)
ประถมศึกษา โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์มะขาม จังหวัดจันทบุรี
มัธยมศึกษา โรงเรี ยนสัตหี บ จังหวัดชลบุรี/โรงเรี ยนสิ งห์สมุทร จังหวัดชลบุรี
อุดมศึกษา โรงเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ รุ่ นที่ ๒๔ โรงเรี ยนเตรี ยมทหารรุ่ นที่ ๒๕
โรงเรี ยนนายเรื อรุ่ นที่ ๘๒
หลักสูตรเตรี ยมมหาวิทยาลัยที่วิทยาลัยเอ็ดดูแค เมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
วิศวกรรมศาสตร์บณั ฑิตสาขาระบบอิเล็กทรอนิกส์และไมโครคอมพิวเตอร์จากมหาวิทยาลัยกลาสโก
ประเทศอังกฤษ
วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาอิเล็กทรอนิกส์ทางแสงและสายใยแก้ว จากมหาวิทยาลัยสแตทคลาย
ประเทศอังกฤษ
วิศวกรรมศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตสาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จากมหาวิทยาลัยสแตทคลาย ประเทศอังกฤษ
การศึกษา (อบรมพิเศษ)
หลักสูตรจรวด PL-๙ และเครื่ องควบคุมการยิง C-๘๐๑ ของบริ ษทั NORINCO สาธารณรัฐประชาชนจีน
หลักสูตรนายทหารไฟฟ้ าอาวุธ (พิเศษ) ของกรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ
หลักสูตรเสนาธิการทหารเรื อ รุ่ นที่ ๖๓ สถาบันวิชาการทหารเรื อชั้นสูง
หลักสูตร Ausfarmil ของกระทรวงกลาโหม ประเทศออสเตรเลีย
หลักสูตร Course Design, Instructor, Course Evaluation ของ กองทัพเรื อออสเตรเลีย ประเทศ
ออสเตรเลีย
การทางาน
อาจารย์ กองวิชาการ กรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ อาจารย์ โรงเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ กอง
วิชาการ กรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ อาจารย์ (พิเศษ) โรงเรี ยนพัฒนาอาชีพช่างอิเล็กทรอนิกส์ กองวิชาการ
กรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ อาจารย์(พิเศษ) สถาบันวิชาการทหารเรื อชั้นสู ง อาจารย์ (พิเศษ) กอง
วิศวกรรมศาสตร์ โรงเรี ยนนายเรื อ อาจารย์ (พิเศษ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) อาจารย์ (พิเศษ)
มหาวิทยาลัยสยาม อาจารย์ (พิเศษ) มหาวิทยาลัยเอเชีย (๒๕๓๔–๒๕๓๗) อาจารย์ (พิเศษ) วิทยาเขต
ปทุมวัน อาจารย์ (พิเศษ) ศูนย์ฝึกพาณิ ชย์นาวี นักวิจยั กองวิจยั และพัฒนา กรมอิเล็กทรอนิ กส์ทหารเรื อ
หัวหน้ าแผนกไฟฟ้ าอาวุธ เรื อหลวงเจ้าพระยา หมวดเรื อฟรี เกตที่ ๑ กองเรื อฟรี เกตที่ ๒ กองเรื อยุทธการ
หัวหน้าแผนกซ่อมเครื่ องโทรคมนาคม โรงงานเครื่ องสื่ อสารที่ ๑ กองโรงงาน กรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ
วิทยากรพิเศษ การไฟฟ้ านครหลวง ผู้อานวยการโรงเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรื อ
สาขาวิชาที่ถนัด
Basic Electronics, Digital Technique, Microprocessor and Interfacing,
Computer Architecture, Computer Programming, Analog and Digital
Communication, Optical Communication, Communication Network, Network
Protocol, Computer Network, Information Technology, Database
Management, Course Design, Instructor, Course Evaluation, Project
Management, Knowledge Management
กรอบการนาเสนอ
เช้ า
•การจัดการความรู้คืออะไร
•ทาไมต้องจัดการความรู้
•จะจัดการความรู้อย่างไร
บ่ าย
•ระดมความคิดสร้างสรรค์เพื่อการจัดการความรู้
การจัดการความรู ้คืออะไร
การจัดการคืออะไร
ความรู ้คืออะไร
สรุ ป
การจัดการความรู ้คือ การดาเนินการกับ ความรู้ เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาวิธีการทางาน พัฒนาเครื่ องมือในการทางาน พัฒนาสถานที่
ทางานและพัฒนาคนที่ทางาน
การจัดการคืออะไร
นิยามทัว่ ไป
การจัดการคือ การดาเนินการใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ งวัตถุประสงค์ ที่ต้องการ
นิยามในบริ บทของการจัดการความรู้
การจัดการคือ การดาเนินการกับ ความรู้ เพื่อ พัฒนาองค์ กร
หรื อ
การจัดการคือ การดาเนินการกับ ความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนา
วิธีการทางาน พัฒนาเครื่ องมือในการทางาน พัฒนาสถานที่ทางาน
และพัฒนาคนที่ทางาน
การพัฒนาองค์กรคืออะไร
ภาษาทางวิชาการ
•ประสิ ทธิ ผลขององค์กรดีข้ ึน
•คุณภาพขององค์กรดีข้ ึน
•ประสิ ทธิ ภาพองค์กรดีข้ ึน
การพัฒนาองค์กรคืออะไร
ภาษาคนทางาน
•ทางานเสร็ จ อย่างสะดวกและรวดเร็ วยิง่ ขึน้
•ทางานเสร็ จ อย่างถูกต้องยิง่ ขึ้น
•ทางานเสร็ จ อย่างประหยัดยิง่ ขึ้น
•ทางานเสร็ จ อย่างมีความสุ ขยิง่ ขึ้น
•ผลงานเป็ นที่ยอมรับของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stake holder)
ยิง่ ขึ้น
พัฒนา งาน
การพัฒนางาน
การพัฒนาวิธีการทางาน
การพัฒนาเครื่องมือในการทางาน
การพัฒนาสถานที่ทางาน
การพัฒนาคนทีท่ างาน
งานคืออะไร
งานขององค์กร
งานที่หวั หน้า
ทาเอง
งานที่ลกู น้อง
คนที่ ๑ ทา
งานที่ลกู น้อง
คนที่ ๒ ทา
งานที่ลกู น้อง
คนสุ ดท้ายทา
งานที่ ๑
งานที่ ๑
งานที่ ๑
งานที่ ๑
งานที่ ๒
งานที่ ๒
งานที่ ๒
งานที่ ๒
งานที่ ๓
งานที่ ๓
งานที่ ๓
งานที่ ๓
งานที่
สุ ดท้าย
งานที่
สุ ดท้าย
งานที่
สุ ดท้าย
งานที่
สุ ดท้าย
ความรู ้คืออะไร
นิยามทัว่ ไป
ความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ต่างๆ ที่มีอยูใ่ นตัว (หัว) คน หรื อ ที่
ถูกบันทึกไว้แล้วในรู ปแบบต่างๆ เช่น ตารา เอกสาร เทป ไฟล์
หรื อ วีดีโอ
นิยามในบริบทของการจัดการความรู้
ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ที่ต้องใช้ ในการทางาน ซึ่ งมีอยู่
ในตัว (หัว) คนทางาน หรื อ ที่ถูกบันทึกไว้แล้วในรู ปแบบ
ต่างๆ เช่น ตารา เอกสาร เทป ไฟล์ หรื อ วีดีโอ
งานที่ ๑
จะทางานได้ตอ้ งมี
ความรู้
(Knowledge)
-ความรู้ที่ ๑
-ความรู้ที่ ๒
-ความรู้ที่ ๓
-ความรู้ที่สุดท้าย
ทักษะ
(Skill)
เจตคติ
(Attitude)
-ทักษะที่ ๑
-ทักษะที่ ๒
-ทักษะที่ ๓
-เจตคติที่ ๑
-เจตคติที่ ๒
-เจตคติที่ ๓
-ทักษะที่สุดท้าย
-เจตคติที่สุดท้าย
ต้ องทาการจัดการความรู้
งานบัดกรี
ความรู้
(Knowledge)
-ความรู้เรื่ องหัวแร้ง
- ความรู้เรื่ องตะกัว่
- ความรู้เรื่ องลวด
- ความรู้เรื่ องพื้นผิว
ทักษะ
(Skill)
-เทคนิคการบัดกรี
ต้องทาการจัดการความรู้
เจตคติ
(Attitude)
-ความปลอดภัยในการทางาน
งานบริ หารองค์กร
ความรู้
(Knowledge)
-ความรู้เรื่ องงาน
- ความรู้เรื่ องคน
- ความรู้เรื่ องของ
- ความรู้เรื่ องหลักการ
บริ หารองค์กร
ทักษะ
(Skill)
-เทคนิคการบริ หารองค์กร
ต้องทาการจัดการความรู้
เจตคติ
(Attitude)
-คุณธรรม
ความรู้ ๒ ประเภท
Explicit
Knowledge
Tacit Knowledge
ความแตกต่างระหว่าง “ความรู้ 2 ประเภท”
• วิชาการ หลักวิชา
• ทฤษฎี (Theory)
ที่บนั ทึกไว้ แล้ ว
• มาจากการสังเคราะห์ วิจยั
ใช้ สมอง (Intellectual)
• เป็ นกฎเกณฑ์ วิธีการ
ขันตอนที
้
่ผ่านการพิสจู น์
Explicit K.
• ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา
• ปฏิบตั ิ (Practice)
ประสบการณ์
• มาจากวิจารณญาณ
ใช้ ปฏิภาณ (Intelligent)
• เป็ นเทคนิคเฉพาะตัว
เป็ นลูกเล่นของแต่ละคน
VS.
Tacit K.
ทาไมต้องจัดการความรู ้
•กฎหมายบังคับ
•ตามนโยบาย
•พัฒนาองค์กร
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ส่ วนราชการมีหน้าที่พฒั นาความรู้ในส่ วน
ราชการ เพื่อให้มีลกั ษณะเป็ นองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้อย่างสม่าเสมอ โดย
ต้องรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู ้ในด้านต่างๆ เพื่อ
นามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว และ
เหมาะสมต่อสถานการณ์
รวมทั้งต้องส่ งเสริ มและพัฒนาความรู ้
ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการใน
สังกัด ให้เป็ นบุคลากรที่มีประสิ ทธิ ภาพและมีการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
จะจัดการความรู ้อย่างไร
•ระดับองค์กร
•ระดับทีมงาน
•ระดับบุคคล
Road Map to Knowledge
Management
STAGE 2
Develop
Strategy
STAGE 1
Get Started
Assessment
STAGE 3
Design and
Launch KM
Initiatives
Strategy
Education
Measures and Indicators
21
STAGE 4
Expand and
Support
STAGE 5
Institutionalize
KM
KM activities
Technology
Communications
Reward and
Recognition
ถ้าไม่หลับ....
มีคาถามไหมครับ?