กรณีศึกษา นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Download Report

Transcript กรณีศึกษา นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Business Computer Program
Faculty of Management Science
Muban Chombueng Rajabhat University
การยอมรับการใช้ เทคโนโลยีอีเลิร์นนิ่ง : กรณีศึกษานักศึกษา
สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
ดร.พนารัตน์ แสงวิจิตร
(สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ)
คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง
ลาดับการนาเสนอ
ผลการวิจัย /
ข้ อเสนอแนะ
ขั้นตอน
ดาเนินการวิจัย
7
สารบัญ
6
ทฤษฎีและ
ผลงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
1
ความเป็ นมาและ
ความสาคัญของปัญหา
2
วัตถุประสงค์
การวิจัย
3
5
4
ขอบเขตของการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย
1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
• พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 9 มาตรา 67
“รัฐต้องส่ งเสริ มให้มีการวิจยั และพัฒนาการผลิตและการพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุม้ ค่าและเหมาะสม
กับกระบวนการเรี ยนรู ้ของคนไทย”
• นโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
2
วัตถุประสงค์ การวิจยั
• เพื่อศึกษาการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอีเลิร์นนิ่ง กรณี ศึกษา
นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง
3
กรอบแนวคิดการวิจยั
Figure 1 : Conceptual Framework in
Adoption of e-Learning : A Case Study on
Business Computer Program Muban
Chombueng Rajabhat University
4
ขอบเขตของการวิจยั
• กลุ่มตัวอย่ างทีใ่ ช้ ในการวิจัย ได้ แก่ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
ชั้นปี ที่ 1 - 4 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอม
บึง ปี การศึกษา 2556 จานวน 102 คน
• ตัวแปรทีศ่ ึกษา ประกอบด้ วย
ตัวแปรต้ น ได้ แก่ เพศ , ชั้นปี , จานวนชั่วโมงการใช้ อนิ เทอร์ เนต ,
ประสบการณ์ การใช้ อเี ลิร์นนิ่ง
ตัวแปรตาม ได้ แก่ การรับรู้การใช้ ประโยชน์ ของอีเลิร์นนิ่ง ,
ความง่ ายในการใช้ งานอีเลิร์นนิ่ง ,
ความตั้งใจในการใช้ อเี ลิร์นนิ่ง
5
ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
• The Theory of Reasoned Action
: TRA
• The Theory of Planned
behavior : TPB
• The Technology Acceptance
Model : TAM
• The Diffusion of innovation
theory : DOI
The Technology Acceptance Model :
TAM
Figure 2 : Technology
Acceptance Model (TAM)
Davis.(1989). Theories used in research . Retrieved July,2013 , from http://www.istheory.yorku.ca/ Technologyacceptancemodel.htm
6
ขั้นตอนดาเนินการวิจยั
เริ่มต้ น
A
B
ศึกษาปัญหา
กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
แจกแบบสอบถาม
สร้ าง/แก้ไข
เครื่องมือการวิจยั
วิเคราะห์ ข้อมูล/รายงานผล
กาหนด
ปัญหาการ
วิจยั
Yes
ทบทวนวรรณกรรมที่
เกีย่ วข้ อง
A
No
ประสิ ทธิภาพ
ของเครื่องมือ
Yes
B
No
จบ
7
ผลการวิจยั / ข้ อเสนอแนะ
ตารางที่ 1 : สถานภาพทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศและประสบการณ์
การใช้ e-Learning
Experience of using e-Learning
More than
3 years
Percentage
Quantity
Percentage
Quantity
Percentage
Quantity
Percentage
Total
Quantity
2 Years
Percentage
1 Year
Quantity
Sex
Less than
1 year
Female
22
21.56
15
14.70
8
7.85
10
9.80
55
53.91
Male
16
15.68
15
14.79
10
9.80
6
5.88
47
46.07
Total
38
37.24
30
29.49
18
17.65
16
15.68
102
100.00
ตารางที่ 2 สถานภาพทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
จาแนกตามประสบการณ์การใช้ e-Learning และจานวนชัว่ โมงการใช้งานอินเทอร์เนต
Using Internet
Quantity
Percentage
Quantity
Percentage
Quantity
Percentage
Total
Percentage
More than 16 hours
Quantity
11 – 15 hours
Percentage
6 – 10 hours
Quantity
Experience of
e_Learning
Less than 6 hours
Less than 1 Year
0
0
11
10.78
14
13.73
13
12.74
38
37.25
1 Year
0
0
1
0.98
15
14.70
14
13.72
30
29.41
2 Years
0
0
0
0
3
2.94
15
14.70
18
17.64
More
than 2 Years
0
0
0
0
2
1.96
14
13.72
16
15.68
Total
0
0
12
11.76
35
34.31
56
54.90
102
100
ตารางที่ 3 แสดงการยอมรับการใช้ e-Learning ของนักศึกษา
สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง
จาแนกตามรายด้าน (N=102)
ระดับการยอมรับจาแนกรายด้ าน
ค่ าเฉลีย่
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ด้ านการรับรู้ความง่ ายในการใช้ งาน
4.50
0.69
ด้ านการรับรู้ประโยชน์ ของการใช้ อเี ลิร์นนิ่ง
4.45
0.60
ด้ านความตั้งใจในการอีเลิร์นนิ่ง
4.40
0.66
7
ผลการวิจยั / ข้ อเสนอแนะ
1. นักศึกษามีการยอมรับการใช้ e-Learning อยูใ่ นระดับมากทุกด้าน ทั้งนี้อาจเนื่องจาก
นักศึกษามีความคุน้ เคยกับการใช้อินเทอร์ เนต และมีจานวนชัว่ โมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ ต่อ
สัปดาห์ค่อนข้างมาก ประกอบกับผูส้ อนให้ความสาคัญกับการใช้
e-Learning ควบคู่กบั การสอนชั้นเรี ยนปกติ ทาให้ผเู ้ รี ยนมีการยอมรับการใช้งานเพิ่ม
มากขึ้น
2. นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจมีจานวนชัว่ โมงการใช้อินเทอร์ เนต เพิ่มมากขึ้นเมื่อ
อยูใ่ นระดับชั้นปี ที่สูงขึ้น ดังนั้น หากมหาวิทยาลัยหรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องสามารถให้บริ การ
อินเทอร์ เนตความเร็ วสู ง จะช่วยเพิ่มประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ และประสบการณ์
การใช้ e-Learning มากขึ้น
7
ผลการวิจยั / ข้ อเสนอแนะ
3. การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั ที่เก็บข้อมูลจากนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง ซึ่ งในอนาคต หากผูส้ อนใน
สาขาอื่น ๆ มีการใช้ e-Learning มากขึ้น อาจช่วยทาให้การพัฒนา e-Learning ของ
มหาวิทยาลัยมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
Acknowledgement
Research fund of “Adoption of e-Learning : A Case Study on Business Computer Program , Muban Chombueng
Rajabhat University” was given from Faculty of Management Science, and research fund of “e-Learning
development” was given from Academic Resources and Information Technology, Muban Chombueng Rajabhat
University. The researcher would like to express grateful thanks for the support.
References
• Davis.(1989). Theories used in research . Retrieved July,2013 , from http://www.istheory.yorku.ca/
Technologyacceptancemodel.htm
•
•
•
•
Fishbein, M., & Ajzen, I. (2010). Predicting and changing behavior: The reasoned action approach. New York: Psychology Press (Taylor &
Francis).
Icek Ajzen(1991). The Theory of Planned Behavior. Retrieved July,2013, from http://xa.yimg.com /kq/groups/78997509/7
01520272/name/Oct+19+Cited+%231+Manage+THE+THEORY+OF+PLANNED+BEHAVIOR.pdf
National Education Act of B.E. (1999) Retrieved July,2013, from http://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b42-01.htm.
Roger Clarke (1999). A Primer in Diffusion of Innovations Theory. Retrieved July,2013 , from http://www.rogerclarke.com/SOS/InnDiff.html