ªØ´´Ô¹

Download Report

Transcript ªØ´´Ô¹

ชุดดินในจังหวัดอบุ ลราชธานี
ชุ ดดินร้ อยเอ็ด (Roi-et series: Re)
การจาแนกดินแบ่ งเป็ น Fine-loamy, mixed, subactive, isohyperthermic Aeric Kandiaquults
เกิดจากตะกอนของหิ นตะกอนเนื้ อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน สภาพพื้นที่
ราบเรี ยบถึงค่อนข้างราบเรี ยบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ าค่อนข้างเลว การไหลบ่าของน้ าบน
ผิวดินช้า การซึ มผ่านได้ของน้ าปานกลางถึงช้า ใช้ประโยชน์ที่ดินโดย ทานา ปลูกพืชไร่ หรื อพืชผัก
ในฤดูแล้ง การจัดเรี ยงชั้นดินแบบ Apg-Btg พบในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ชุดดินที่คล้ายคลึงกัน
ชุ ด ดิ น เรณู เนื้ อ ดิ น ค่ อ นข้า งเป็ นทราย ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ค่อ นข้า งต่ า เสี่ ย งต่ อ การขาดน้ า ในฤดู
เพาะปลูก
ลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็ นดินร่ วนปนทรายหรื อดินทรายปนดินร่ วน สี น้ าตาล ปนเทาหรื อสี
น้ าตาล ดินล่างเป็ นดินร่ วนเหนียวปนทรายหรื อดินร่ วนปนทรายอาจพบชั้นดินร่ วนปนดินเหนียวหรื อดินเหนียว สี เทา
ปนน้ าตาลอ่อนหรื อเทาปนชมพู พบจุดประสี น้ าตาลปนเหลืองหรื อสี น้ าตาลปนแดงตลอด ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดจัด
มากถึงเป็ นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเป็ นกรดจัดมากถึงเป็ นกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) ในดินล่าง
ความลึก
(ซม.)
อินทรี ยวัตถุ
0-25
25-50
50-100
ต่า
ต่า
ต่า
ความจุ
แลกเปลี่ยน
แคตไอออน
ต่า
ต่า
ต่า
ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม ความอุดม
เบส
เป็ นประโยชน์
ที่เป็ น
สมบูรณ์ของ
ประโยชน์
ดิน
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ชุ ดดินโคราช (Korat series: Kt)
การจาแนกดิน แบ่งเป็ น Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Oxyaquic)
Kandiustults เกิดจากตะกอนของหิ นตะกอนเนื้ อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผ่นดิน สภาพพื้นที่เป็น ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 % การระบายน้ าปานกลาง
การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินปานกลาง การซึ มผ่านได้ของน้ าปานกลาง พบในเขตป่ าเต็งรังหรื อป่ า
เบญจพรรณ ใช้ปลูกพืชไร่ เช่น มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง อ้อย และถัว่ ต่างๆ พบทัว่ ไปในภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ การจัดเรี ยงชั้นดินแบบ A-Bt คล้ายคลึงกัน ชุดดินสตึก เนื้อดินค่อนข้างเป็ น
ทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เสี่ ยงต่อการขาดแคลนน้ าสาหรับพืชในฤดูเพาะปลูกและเสี่ ยงต่อการ
ชะล้าง
ลักษณะและสมบัติดิน เป็ นดินลึก ดินบนเป็ นดินทรายปนดินร่ วนหรื อดินร่ วนปนทราย สี น้ าตาลเข้มหรื อน้ าตาล
ดินล่างเป็นดินร่ วนเหนี ยวปนทราย ส่ วนใหญ่มีอนุ ภาคดินเหนี ยวไม่เกิน 35 % สี น้ าตาลหรื อสี น้ าตาลปนเหลือง อาจ
พบสี เทาปนน้ าตาล สี เทาหรื อสี เทาปนชมพูในดินล่างลึกลงไป พบจุดประสี น้ าตาลแก่หรื อสี เหลืองปนแดง ภายใน
ความลึกมากกว่า 100 ซม. จากผิวดิน อาจพบก้อนเหล็กสะสมในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย
(pH 5.5-6.5) ในดินบนและเป็ นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินล่าง
ความลึก
(ซม.)
อินทรี ยวัตถุ
0-25
25-50
50-100
ต่า
ต่า
ต่า
ความจุ
แลกเปลี่ยน
แคตไอออน
ต่า
ต่า
ต่า
ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม ความอุดม
เบส
เป็ นประโยชน์
ที่เป็ น
สมบูรณ์ของ
ประโยชน์
ดิน
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ชุ ดดินโพนพิสัย (Phon Phisai series: Pp)
การจาแนกดินแบ่งเป็ น Loamy-skeletal over clayey, kaolinitic, isohyperthermic Typic
(Oxyaquic Plinthic) Paleustults เกิดจากตะกอนชะมาทับถมบนหิ นตะกอนเนื้ อละเอียดบน
พื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน สภาพพื้นที่ ราบเรี ยบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน
1-5 %การระบายน้ าดีปานกลางการไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็ ว การซึ มผ่านได้ของ
น้ าปานกลางในดิ นบนและช้าในดิ นล่าง พบในป่ าเต็งรัง ใช้ปลูกพืชไร่ บางพื้นที่ทาคันนาปลูก
ข้าว พบในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อการจัดเรี ยงชั้นดินแบบ A(Ap)-Btcv-BC คล้ายคลึงกับ ชุด
ดินสระแก้ว เป็ นดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง เนื้อดินบนค่อนข้างเป็ นทราย กรณี ที่ใช้ปลูกพืชไร่ ควร
เลือกพืชที่มีรากสั้น เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง ถัว่ เขียว และอื่นๆ ส่ วนกรณี ที่ใช้ปลูกไม้ผลหรื อไม้ยนื
ต้น
ลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง ดินบนเป็นดินร่ วนปนทรายหรื อดินร่ วน สี น้ าตาลปนเทา
เข้ม ดินล่างตอนบน เป็นดินร่ วนเหนี ยวปนทรายถัดไปเป็ นดินร่ วนเหนี ยวปนทรายปนกรวดหรื อดินเหนี ยวปนกรวด
มาก มีสีน้ าตาลหรื อน้ าตาลแก่ ส่ วนดิ นล่างภายใน 50-100 ซม. เป็ นดิ นร่ วนเหนี ยวปนกรวดมากหรื อดินเหนี ยวปน
กรวดมากถัดไปจะเป็ นชั้นดินเหนียวตลอด มีสีเทาปนน้ าตาลอ่อนหรื อสี เทาอ่อน มีจุดประสี แดงของศิลาแลงอ่อนและ
น้ าตาลแก่หรื อน้ าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดจัดมากถึงเป็ นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเป็ นกรด
จัดมากถึงเป็ นกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง
ความลึก (ซม.) อินทรี ยวัตถุ
0-25
ต่า
ความจุ
แลกเปลี่ยน
แคตไอออน
ต่า
25-50
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
สู ง
ปานกลาง
50-100
ต่า
ปานกลาง
ต่า
ต่า
สู ง
ปานกลาง
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดนิ
ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียมที่ ความอุดม
เบส
เป็ นประโยชน์ เป็ นประโยชน์ สมบูรณ์ของ
ดิน
ต่า
ต่า
สู ง
ต่า
ชุ ดดินเพ็ญ (Phen series: Pn)
การจาแนกดิน แบ่งเป็ น Loamy-skeletal mixed subactive, isohyperthermic Aeric Plinthic Paleaquults
เกิ ดจากตะกอนชะมาทับถมบนหิ นตะกอนเนื้ อละเอี ยดพบในส่ วนต่ าของพื้นผิวของการเกลี่ ยผิวแผ่นดิ น
สภาพพื้นที่ ราบเรี ยบถึงค่อนข้างราบเรี ยบ มีความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ า เลวการไหลบ่าของน้ าบนผิว
ดิ น ช้า การซึ มผ่านได้ของน้ า ปานกลางในดิ นบนและช้าในดิ นล่าง ใช้ประโยชน์ในการทานา พบในภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ การจัดเรี ยงชั้นแบบ Apg-Btg-Btcgv-BCgv
เป็ นดินตื้น มีความอุดมสมบูรณ์ต่า
คล้ายคลึงกับ ชุดดินอ้น
ลักษณะและสมบัติดิน : เป็ นดิ นตื้นถึ งชั้นลูกรั ง ดิ นบนเป็ นดิ นร่ วนปนทราย สี น้ าตาลหรื อสี น้ าตาลปนเทา มีจุดประสี
น้ าตาลแก่ สี น้ าตาลปนเหลือง หรื อ สี แดงปนเหลือง ส่ วนดินล่างภายใน 50 ซม. มักเป็ นดินร่ วนเหนี ยวปนทรายปนกรวดมากใน
ดินล่างตอนบนและเป็ นดินเหนียวในดินล่าง ปริ มาณลูกรังจะลดลงตามความลึก สี ของดินล่างตอนบนจะเป็นสี น้ าตาลอ่อน ดิน
ล่างเป็ นสี เทาและพบจุ ดประสี น้ าตาลแดงปนเหลื องและแดงตลอดหน้าตัดดิ น ศิลาแลงอ่อนมีปริ มาณ 5-50 % โดยปริ มาตร
ภายใน 150 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดจัดถึงเป็ นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบนและเป็ นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)
ในดินล่าง
ความลึก (ซม.)
อินทรี ยวัตถุ
0-25
25-50
ต่า
ต่า
50-100
ต่า
ความจุ
ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่
แลกเปลี่ยนแคต
เป็ นประโยชน์
ไอออน
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
โพแทสเซียมที่
ความอุดม
เป็ นประโยชน์ สมบูรณ์ของดิน
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ปานกลาง
ต่า
ชุ ดดินนา้ พอง (Nam Phong series: Ng)
การจาแนกดินแบ่ งเป็ น Loamy, siliceous, isohyperthermic Grossarenic Haplustalfs เกิดจากตะกอน
ของหิ นตะกอนเนื้ อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน สภาพพื้นที่เป็ นลูกคลื่นลอนลาด
เล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-10 % การระบายน้ าดีถึงค่อนข้างมาก การไหลบ่าของน้ าบน
ผิวดินเร็ วการซึมผ่านได้ของน้ า เร็ ว พบในป่ าเต็งรัง ใช้ประโยชน์ในการปลูกมันสาปะหลัง อ้อย และทุ่งหญ้า
เลี้ยงสัตว์ พบกระจายในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ การจัดเรี ยงชั้นแบบ A-E-Bt คล้ายคลึงกับ ชุดดินบ้านไผ่
และชุ ดดิ นมหาสารคาม ดิ นเป็ นทรายจัด มีความอุ ดมสมบูรณ์ต่ า พืชมักแสดงอาการขาดน้ าอย่างเห็ นได้
ชัดเจน ในช่วงฝนแล้งและเสี่ ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย
ลักษณะและสมบัตดิ นิ เป็ นดินลึก ดินบนเป็ นดินทรายปนดินร่ วนหรื อดินทราย สี น้ าตาลปนเทาหรื อสี น้ าตาล ดินล่างเป็ นดิน
ทรายปนดินร่ วน สี ชมพู สี น้ าตาลซี ดมาก พบชั้นสะสมดินเหนี ยวที่ความลึกต่ากว่า 100 ซม. จากผิวดิน มีสีเทาปนชมพู น้ าตาล
ซีด มีเนื้อดินเป็ นดินร่ วนปนทรายและเป็ นดินร่ วนเหนียวปนทรายในดินล่างลึกลงไป พบจุดประสี น้ าตาลแก่ เหลืองปนแดง หรื อ
แดงปนเหลืองในดินชั้นล่างนี้ดว้ ย ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ในดินบนและเป็ นกรดจัดมากถึง
กรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) ในดินล่าง
ความลึก (ซม.)
อินทรี ยวัตถุ
0-25
25-50
50-100
ต่า
ต่า
ต่า
ความจุ
ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่
แลกเปลี่ยนแคต
เป็ นประโยชน์
ไอออน
ต่า
สู ง
ต่า
ต่า
สู ง
ต่า
ต่า
สู ง
ต่า
โพแทสเซียมที่
ความอุดม
เป็ นประโยชน์ สมบูรณ์ของดิน
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ชุ ดดินอุบล (Ubon series: Ub)
การจาแนกดิน แบ่ งเป็ น Loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic Aquic Grossarenic
Halpustalfs เกิดจากตะกอนของหิ นตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน สภาพ
พื้นที่ค่อนข้างราบเรี ยบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 1-5 % การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดี
ปานกลาง การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิ นช้าการซึ มผ่านได้ของน้ าเร็ ว ใช้ประโยชน์ ทานา พบมากในภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ การจัดเรี ยงชั้นแบบ Ap-E-Bt คล้ายคลึงกับ ชุดดินน้ าพอง ความอุดมสมบูรณ์ต่า
สมบัติทางกายภาพไม่ดี ในฤดูแล้งดินจะแห้งจัด
ลักษณะและสมบัติดิน เป็ นดินลึกมาก ดินบนเป็ นดินทรายปนดินร่ วน สี น้ าตาลหรื อน้ าตาลปนเทา มีจุดประสี น้ าตาลปน
เหลืองเข้ม ดินล่างตอนบนเป็นดินทรายปนดินร่ วน สี น้ าตาล มีจุดประสี น้ าตาลปนเหลืองเข้มหรื อน้ าตาลแก่และน้ าตาลปนเทา
ดินล่างตอนล่างลึก 100-200 ซม. เป็นดินร่ วนปนทราย สี น้ าตาล สี น้ าตาลปนเทา มีจุดประสี น้ าตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดจัด
ถึงเป็ นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบนและเป็ นกรดจัดถึงเป็ นกลาง (pH 5.5-7.0) ในดินล่าง
ความลึก (ซม.)
อินทรี ยวัตถุ
0-25
25-50
ต่า
ต่า
50-100
ต่า
ความจุ
ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่
แลกเปลี่ยนแคต
เป็ นประโยชน์
ไอออน
ต่า
ปานกลาง
ต่า
ต่า
ปานกลาง
ต่า
ต่า
ปานกลาง
ต่า
โพแทสเซียมที่
ความอุดม
เป็ นประโยชน์ สมบูรณ์ของดิน
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า
ต่า