งานระบบนิเวศ - WordPress.com

Download Report

Transcript งานระบบนิเวศ - WordPress.com

ครู นิเวศวิทยาระดับประถมศึกษา
นำเสนอเรื่ อง
ระบบนิเวศริ มบึง
ระบบนิเวศ (ecosystem)
ระบบนิเวศ หมำยถึง ควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิต ในแหล่ง ที่อยูอ่ ำศัย ณ
ที่ใดที่หนึ่ง ควำมสัมพันธ์มี 2 ลักษณะ คือ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
สิ่ งมีชีวิตกับสิ่ งไม่มีชีวิต และระหว่ำง สิ่ งมีชีวิต กับสิ่ งมีชีวิตด้วยกันเอง
โดยมีกำรถ่ำยทอดพลังงำน และสำรอำหำรในบริ เวณนั้นๆ สู่
สิ่ งแวดล้อม
• สิ่ งแวดล้อมอาจแบ่ งได้ ออกเป็ น 2 ประเภท
1.สิ่ งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment) หรื อปัจจัยทำงกำยภำพ
(Physical Factor) ได้แก่ แสงสว่ำง อุณหภูมิ น้ ำและควำมชื้น กระแสลม
อำกำศ ควำมเค็ม ควำมเป็ นกรด-เบส แร่ ธำตุ ไฟแก๊ส
2.สิ่ งแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic Environment) หรื อปัจจัยทำงชีวภำพ (Biotic
Factor)
•
• ระบบนิเวศแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestial Ecosystems)
2. ระบบนิเวศในน้ ำ (Aquatic Ecosystems) ตัวอย่ำงระบบนิเวศชนิดต่ำงๆ
องค์ ประกอบในระบบนิเวศ
องค์ประกอบในระบบนิเวศ ประกอบด้วย 2 ส่ วน
1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
( Abiotic Component)
- อนินทรี ยสำร ได้แก่ ไนโตรเจน คำร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน น้ ำ
และคำร์บอน
- อินทรี ยสำร ได้แก่ คำร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ฯลฯ
- สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ ได้แก่ อุณหภูมิ แสง ควำมเป็ นกรด เป็ นด่ำง
ควำมเค็มและ
ควำมชื้น
2. ส่ วนประกอบที่มีชีวิต (Biotic Component) ได้แก่
- ผูผ้ ลิต (producer)
- ผูบ้ ริ โภค (consumer)
- ผูย้ อ่ ยสลำย (decompser)
ผู้ผลิต (Producer) คือ
สิ่ งมีชีวติ ที่สำมำรถนำพลังงำนจำกแสงอำทิตย์ มำสังเครำะห์อำหำรขึ้นได้เอง ด้วยแร่ ธำตุและ
สสำร ที่มีอยูต่ ำมธรรมชำติ ได้แก่ พืชสี เขียว แพลงค์ตอนพืช และแบคทีเรี ยบำงชนิด
ผู้บริโภค (Consumer) คือ
สิ่ งมีชีวติ ที่กินสิ่ งมีชีวิตอื่นๆเป็ นอำหำร แบ่งได้เป็ น
- สิ่ งมีชีวติ ที่กินพืชเป็ นอำหำร (Herbivore) เช่น วัว ควำย กระต่ำย และปลำที่กินพืช เล็กๆ
ฯลฯ
- สิ่ งมีชีวติ ที่กินสัตว์อื่นเป็ นอำหำร (Carnivore) เช่น เสื อ สุ นขั กบ สุ นขั จิ้งจอก ฯลฯ
-สิ่ งมีชีวติ ที่กินทั้งพืช และสัตว์ (Omnivore) ซึ่ งเป็ นลำดับ กำรกินสู งสุ ด เช่น มนุษย์
ผู้ย่อยสลาย (Decomposer) คือ
เป็ นพวกที่ผลิตอำหำรเองไม่ได้ ต้องอำศัยซำกของ สิ่ งมีชีวติ อื่นเป็ นอำหำร โดยกำรย่อย
สลำย ซำกสิ่ งมีชีวติ ให้เป็ นสำรอินทรี ยไ์ ด้
ความสั มพันธ์ ระหว่ างสิ่ งมีชีวติ
• ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิตในระบบนิเวศ แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ
คือ
1. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
2. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิตต่ำงชนิดกัน
เพื่อให้ง่ำยต่อควำมเข้ำใจ จึงมีกำรใช้เครื่ องหมำยต่อไปนี้แสดง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกลุ่มสิ่ งมีชีวิตที่อำศัยรวมกัน
+ หมำยถึง กำรได้ประโยชน์จำกอีกฝ่ ำยหนึ่ง
- หมำยถึง กำรเสี ยประโยชน์ให้อีกฝ่ ำยหนึ่ง
0 หมำยถึง กำรไม่ได้ประโยชน์ แต่กไ็ ม่เสี ยประโยชน์
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่ งมีชีวิตในระบบนิเวศแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่
1. กำรได้รับประโยชน์ร่วมกัน (mutualism)
เป็ นกำรอยูร่ ่ วมกันของสิ่ งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได้ประโยชน์ดว้ ยกันทั้งสองชนิด
ใช้สัญลักษณ์ +, + เช่น
• แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดน้ ำหวำนจำกดอกไม้เป็ นอำหำร และดอกไม้ก็
มีแมลงช่วยผสมเกสร
• นกเอี้ยงกับควำย นกเอี้ยงได้กินแมลงต่ำง ๆ จำกหลังควำย และควำยก็
ได้นกเอี้ยงช่วยกำจัดแมลงที่มำก่อควำมรำคำญ
• มดดำกับเพลี้ย เพลี้ยได้รับประโยชน์ในกำรที่มดดำพำไปดูดน้ ำเลี้ยงที่
ต้นไม้ และมดดำก็จะได้รับน้ ำหวำน
• ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (sea anemore) ปูเสฉวนอำศัยดอกไม้ทะเล
พรำงตัวจำกศัตรู และยังอำศัยเข็มพิษจำกดอกไม้ทะเลป้ องกันศัตรู ส่ วน
ดอกไม้ทะเลก็ได้รับอำหำรจำกปูเสฉวนที่กำลังกินอำหำรด้วย
• ไลเคน (lichen) คือ กำรดำรงชีวติ ร่ วมกันของรำกับสำหร่ ำย
ซึ่งเป็ นกำรอยู่ แบบที่สิ่งมีชีวติ ทั้ง 2 ชนิดต่ำงก็ได้รับประโยชน์
สำหร่ ำยมีสีเขียวสร้ำงอำหำรเองได้โดยกระบวนกำรสังเครำะห์ดว้ ยแสง
แต่ตอ้ งอำศัยควำมชื้นจำกรำ ส่ วนรำได้รับธำตุอำหำรจำกสำหร่ ำย ได้แก่
ไนโตรเจนจำกกำรตรึ งไนโตรเจน นอกจำกนั้นรำบำงชนิดอำจสร้ำง
สำรพิษ ซึ่ งป้ องกันไม่ให้สตั ว์อื่นกินไลเคนเป็ นอำหำร และรำยังสร้ำง
กรดช่วยในกำรละลำยหิ นและเปลือกไม้ ช่วยในกำรละลำยหิ นและ
เปลือกไม้ ทำให้ไลเคนดูดซับธำตุอำหำรได้ดี
ควำมสัมพันธ์แบบ mutalism ระหว่ำงรำและสำหร่ ำย
• แบคทีเรี ยไรโซเบียม (Rhizobium) ในปมรำกพืชวงศ์ถวั่ ตรึ ง
ไนโตรเจนจำกอำกำศให้แก่รำกถัว่ ในขณะเดียวกันแบคทีเรี ยก็
ได้รับก๊ำซคำร์ บอนไดออกไซด์และแร่ ธำตุจำกต้นถัว่
• ปมรำกถัว่ ซึ่งภำยในมีแบคทีเรี ยไรโซเบียม
ปมรำกถัว่ ซึ่งภำยในมีแบคทีเรี ยไรโซเบียม
• โปรโตซัวในลำไส้ปลวก ปลวกไม่มีน้ ำย่อยสำหรับย่อยเซลลูโลสในเนื้ อไม้
โปรโตซัวช่วยในกำรย่อย จนทำให้ปลวกสำมำรถกินไม้ได้ และโปรโตรซัว
ก็ได้รับสำรอำหำรจำกกำรย่อยสลำยเซลลูโลสด้วย
โปรโตซัวในลำไส้ปลวกช่วยย่อยเซลลูโลส
• แบคทีเรี ยที่อำศัยอยูใ่ นสำไส้ใหญ่ของคน แบคทีเรี ยได้รับอำหำรและที่อยู่
อำศัยจำกลำไส้ของคน ส่ วนคนจะได้รับวิตำมินบี 12 จำกแบคทีเรี ย
2. ภำวะอิงอำศัยหรื อภำวะเกื้อกูล (commensalism) เป็ นกำรอยูร่ ่ วมกันของสิ งมี
ชีวิตโดยที่ฝ่ำยหนึ่งได้ประโยชน์ ส่ วนอีกฝ่ ำยหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่กไ็ ม่
เสี ยประโยชน์(+,0)
เช่น
• ปลำฉลำมกับเหำฉลำม เหำฉลำมอำศัยอยูใ่ กล้ตวั ปลำฉลำมและกินเศษ
อำหำรจำกปลำฉลำม ซึ่งปลำฉลำมจะไม่ได้ประโยชน์ แต่กไ็ ม่เสี ยประโยชน์
• พลูด่ำงกับต้นไม้ใหญ่ พลูด่ำงอำศัยร่ มเงำและควำมชื้นจำกต้นไม้โดย
ต้นไม้ไม่ได้ประโยชน์แต่ขณะเดียวกันก็ไม่เสี ยประโยชน์อะไร
• กล้วยไม้กบั ต้นไม้ใหญ่ กล้วยไม้ยดึ เกำะที่ลำต้นหรื อกิ่งของต้นไม้ซ่ ึงได้รับ
ควำมชื้นและแร่ ธำตุจำกต้นไม้ โดยที่ตน้ ไม้ไม่ได้รับประโยชน์ แต่กไ็ ม่เสี ย
ประโยชน์อะไร
• เพรี ยงที่อำศัยเกำะบนผิวหนังของวำฬเพื่อหำอำหำร วำฬไม่ได้ประโยชน์
แต่กไ็ ม่เสี ยประโยชน์
ปลำฉลำมกับเหำฉลำม
• 3. ฝ่ ำยหนึ่งได้ประโยชน์และอีกฝ่ ำยหนึ่งเสี ยประโยชน์ ใช้สัญลักษณ์ +,
- ซึ่งแบ่งเป็ น 2 แบบ คือ
ก. กำรล่ำเหยือ่ (predation) เป็ นควำมสัมพันธ์โดยมีฝ่ำยหนึ่ งเป็ นผูล้ ่ำ
(predator) และอีกฝ่ ำยหนึ่งเป็ นเหยือ่ (prey) หรื อเป็ นอำหำรของ
อีกฝ่ ำย เช่น งูกบั กบ
ข. ภำวะปรสิ ต (parasitism) เป็ นควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตที่มีฝ่ำย
หนึ่งเป็ นผูเ้ บียดเบียน เรี ยกว่ำ ปรสิ ต (parasite) และอีกฝ่ ำยหนึ่งเป็ น
เจ้ำของบ้ำน (host)
• ต้นกำฝำกเช่น ฝอยทองที่ข้ ึนอยูบ่ นต้นไม้ใหญ่ จะดูดน้ ำและอำหำรจำก
ต้นไม้ใหญ่
• หมัด เห็บ ไร พยำธิต่ำง ๆ ที่อำศัยอยูก่ บั ร่ ำงกำยคนและสัตว์
• เชื้อโรคต่ำง ๆ ที่ทำให้เกิดโรคกับคนและสัตว์
นอกจำกนี้ยงั มีควำมสัมพันธ์แบบภำวะมีกำรย่อยสลำย
(saprophytism)
ใช้สัญลักษณ์ (+, 0 )เป็ นกำรดำรงชีพของกลุ่มผูย้ อ่ ยสลำยสำรอินทรี ย ์
เช่น เห็ด รำ แบคทีเรี ย และจุลินทรี ย ์
เห็ด
ระบบนิเวศในบึง
องค์ประกอบทำงกำยภำพในบึง
• จำกกำรได้ไปศึกษำที่บึง หลังสวนเจ้ำทะเล จังหวัดปัตตำนี
• มีกำรวัดอุณหภูมิในบริ เวณริ มบึงวัดได้ 28 องศำเซลเซี ยส
• มีกำรวัดอุณหภูมิในบริ เวณกลำงบึงวัดได้ 27.5 องศำเซลเซียส
อุณหภูมิอำกำศในเวลำที่ไปสำรวจวัดได้ 24 องศำเซลเซียส
เวลำ 18.00 น.
• วัดควำมเป็ นกรดด่ำงได้อยูใ่ นระดับ 7 คือ สี เขียว มีค่ำเป็ นกลำง
สิ่ งมีชีวติ ที่พบในบริ เวณบึง
จากการไปสารวจพบสิ่ งมีชีวติ ดังนี้
• หอยเจดีย ์
• ตัวอ่อนปลำเข็ม
• นกยำง
• เป็ ด
• มด
• แมลงปอ
• แมงมุม
• แมลงทับ
•
•
•
•
ต้นลำพู
บัว
หญ้ำ
เฟิ ร์น
จุดเด่นที่พบในบริ เวณบึงที่ไปสำรวจ
• หอยเจดีย ์
• ตัวอ่อนปลำเข็ม
• ต้นลำพู
หอยเจดีย ์
• ความเป็ นอยู่ของหอยเจดีย์
หอยเจดีย ์ หรื อหอยขี้นก เป็ นหอยฝำเดี่ยว ลักษณะเป็ นเกลียว
ปลำยแหลมคล้ำยเจดีย ์ มีขนำดโตประมำณ 2 เซนติเมตร แหล่งที่
อยูต่ ำมโคลนแนวชำยฝั่ง โดยเฉพำะพื้นที่ที่ควำมเค็มสู ง กินพวก
สำรอินทรี ยข์ นำดเล็ก แพลงก์ตอนพืช (สี น้ ำ) และแบคทีเรี ยที่อยู่
ตำมพื้นดินเป็ นอำหำร
วงชีวติ ของหอยเจดีย์
• เริ่ มตั้งแต่แม่หอยวำงไข่ลกั ษณะเป็ นฝักเส้นสำย และจะเริ่ มฟักตัว
พัฒนำและมีกำรแบ่งเซลล์อย่ำงต่อเนื่องและพัฒนำเป็ นลำดับดังนี้ เริ่ ม
ระยะคลีเวจ ใช้เวลำประมำณ 7 ชัว่ โมงก็จะเข้ำสู่ระยะแกสตรู ลำ และ
ชัว่ โมงที่ 40 ก็จะเข้ำสู่ ระยะเวลิเจอร์ ซ่ ึ งเป็ นระยะตัวอ่อนของหอยจะมี
กำรพัฒนำจนได้ลูกหอยระยะเวลิเจอร์ซ่ ึงใช้เวลำประมำณ 3 วันตั้งแต่
วำงไข่ หลังจำกนั้นก็จะเข้ำสู่ลูกหอยระยะคืบคลำน ซึ่งใช้เวลำ
ประมำณ 15-20 วันหลังวำงไข่และจะเข้ำสู่ระยะมีเปลือกที่สมบูรณ์
ควำมยำวประมำณ 1.45 มิลิเมตร ใช้เวลำประมำณ 1 เดือนหลังวำงไข่
และจะโตเต็มที่ใช้เวลำประมำณ 2 เดือนซึ่งมีควำมยำวประมำณ 2
เซนติเมตรซึ่งเป็ นระยะที่สมบูรณ์และพร้อมผสมพันธ์วำงไข่ได้
หอยเจดีย์
ปลำเข็ม
•
•
•
•
ชื่ออังกฤษ Freshwater halfbeak, Werstling fish
ชื่อไทย ปลำเข็ม
ประวัตทิ อี่ ยู่อาศัย พบตำมแหล่งน้ ำจืดทัว่ ไป
รู ปร่ างลักษณะ ปลำเข็มมีรูปร่ ำงเรี ยวยำว ลำตัวเกือบกลมมีส่วน
แบนตรงโคนหำง ลำตัวมีสีน้ ำตำลอ่อน หำงสี เหลือง ท้องสี ขำว
เหลืองฟ้ ำ ปลำเข็มหัวเล็ก มีงอยปำกแหลมยืน่ ยำวออกไป ครี บ
หลังและครี บก้นมีสีเหลืองอยูค่ ่อนไปทำงด้ำนหำง ครี บหำงกลม
มนมีขนำดใหญ่
• อาหาร กินตัวอ่อนของแมลงน้ ำ ลูกน้ ำ และสัตว์น้ ำขนำดเล็กที่
อำศัยอยูบ่ ริ เวณผิวน้ ำ
ปลาเข็ม
ต้นลำพู
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sonneratia caseolaris (L.) Engl.
วงศ์ : SONNERATIACEAE
ชื่อสามัญ : Cork Tree
ชื่ออืน่ :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ : เป็ นไม้ยนื ต้น
ขึ้นอยูช่ ำยเลนที่น้ ำท่วมถึง มีรำกงอกขึ้นเหนือพื้นดิน ลำต้นสูง ๑๐-๒๕
เมตร ทรงพุม่ กิ่งก้ำนห้อยย้อยลง ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ำมกันเป็ นคู่ขนำน
อย่ำงน้อย ๕ คู่ กว้ำง ๐.๔ -๐.๖ เซนติเมตร ยำว ๐.๕-๑๑ เซนติเมตร รู ป
มนไข่ ปลำยแหลม โคนใบสอบขอบเรี ยบ เนื้อหนำสี เขียวเป็ นมัน ท้อง
ใบสี อ่อน ดอก ออกเป็ นช่อติดก้ำนสลับใบและปลำยกิ่ง บำนห่อ ๔-๗
เซนติเมตร กลีบรองดอกสี เขียวอ่อน กลีบดอกขำวลำยสี ม่วงแดงเข้ม
ปลำยแยกแหลมเป็ น ๖ กลีบ บำง ร่ วงง่ำย เกสรผูเ้ ส้นขำวจำนวนมำก ผล
กลมแป้ นสี เขียวคล้ำยลูกจันทร์ ขยำยพันธุ์ดว้ ยเมล็ด
• ประโยชน์ : ไม้ลำพู ต้น รำก ใช้ทำจุกขวด ภำชนะปิ ดฝำโอ่ง ไห ที่มี
คุณค่ำมำกมำก่อนที่จะเปลี่ยนเป็ นวัสดุอื่นแทน จึงทำให้ตน้ ลำพูหมดค่ำ
ขำดกำรดูแลขยำยพันธุ์ ต้นลำพูยงั ป้ องกันพื้นตลิ่ง กันน้ ำเซำะได้ดี และ
ดูดซึมน้ ำเสี ยเป็ นน้ ำดีดว้ ย
ห่วงโซ่อำหำร
สำหร่ ำย ปลำเข็ม นกยำง
แพลงก์ตอนพืช (สี น้ ำ) หอยเจดีย ์ นกยำง
สำหร่ ำย ปลำเข็ม เป็ ด
ควำมสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวติ ที่พบ
• แบบภำวะอิงอำศัย เช่น
กำรยึดเกำะของหอยเจดีย ์ กับ สิ่ งต่ำงๆ เช่น ก้อนหิ น รำกต้นลำพู
ดินโคลน
แมลงปอ กับ รำกลำพู เพรำะ แมลงปอจะเกำะพักที่รำกลำพูโดยที่รำก
ลำพูไม่ได้ไม่เสี ย
• แบบภำวะล่ำเหยือ่ เช่น
นกยำง กับ ปลำเข็ม คือ นกยำงจะเป็ นผูล้ ่ำปลำเข็ม
เป็ ด กับ ปลำเข็ม คือ เป็ ดจะเป็ นผูล้ ่ำปลำเข็ม
นกยำง กับ หอยเจดีย ์ คือ นกยำงจะเป็ นผูล้ ่ำ
ตำรำงแสดงสิ่ งมีชีวติ ที่พบ
หอยเจดียท์ ี่ริมบึง
แมลงทับ กับ รำกลำพู
นกยำงที่ริมบึง
หอยขม กับ ตอไม้ในน้ ำ
ตำรำงแสดงสิ่ งมีชีวติ ที่พบ ( ต่อ )
นกเอียงที่ริมบึง
เฟิ ร์นที่ริมบึง
ต้นลำพูที่ริมบึง
แมลงปอ กับ รำกลำพู
ตำรำงแสดงสิ่ งมีชีวติ ที่พบ ( ต่อ )
ดอกบัวในบึง
เป็ ดในบึง
สรุป
จำกกำรที่ได้ไปสำรวจบึงน้ ำหลังสวนเจ้ำทะเลพบว่ำเป็ นบึงที่
มีระบบนิเวศที่ค่อยข้ำงสมบูรณ์ สังเกตได้จำกกำรวัดควำมเป็ น
กรดด่ำงของน้ ำได้อยูใ่ นระดับ 7 คือ มีค่ำเป็ นกลำง แสดงว่ำน้ ำ
ในบึงยังคงไม่เน่ำเสี ยและยังพบต้นลำพูที่มีรำกขึ้นจำนวนมำก
แสดงให้เห็นว่ำน้ ำในบึงจะไม่เสี ยเพรำะต้นลำพูสำมำรถดูดซึม
น้ ำเสี ยเป็ นน้ ำดีได้
รวมภาพกิจกรรม
อ้ำงอิง
• http://www.school.net.th/library/createweb/10000/generality/10000-177.html
• http://www.rspg.org/palace/chitralada/cld62_018.htm
• http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.
php?ID=706
จัดทำโดย
•
•
•
•
•
•
•
นำงสำวนำกีเย๊ำะ
สำและดิง รหัส 5120117054
นำงสำวนิอสั มีรำ
นิมะมิง รหัส 5120117059
นำงสำวพำตีเม๊ำะ เจะอำแว รหัส 5120117096
นำงสำวมำซีเตำะ วำแม
รหัส 5120117123
นำงสำววัตรี ยะฮ์
วำนิ
รหัส 5120117152
นำงสำวแวโนรไอสะห์ สื อแม
รหัส 5120117180
นำงสำวแวฮัสนะฮ์ สื อนอยำยำ รหัส 5120117182
คณะศึกษำศำสตร์ สำขำวิชำกำรประถมศึกษำ