การอนุรักษ์พลังานไฟฟ้าในระบบแสงสว่าง สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย

Download Report

Transcript การอนุรักษ์พลังานไฟฟ้าในระบบแสงสว่าง สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย

สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
กลุ่ม ทำไม??ต้องเป็ น…..(ผม)
• สมาชิกในกลุ่ม
๑) นายธเนศ โพธิ์เตีย้
๒) นายวานิตย์ แก้วสวัสดิ์
๓) นายผดุงเดช ผดุงกุล
๔) นายธีรศักดิ์ บุญเรือง
๕) นายสุ รินทร์ นวลฉาย
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
1
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ปัญหำ เผำหัว อุ่นเครื่ อง ก่อนเรี ยน
จำกรู ปเป็ นหลอดไฟที่มกั นิยมใช้ในภำคใด ???
ก. ภำคเหนือ
ข. ภำคใต้
ค. ภำคตะวันตก
ง. ภำคตะวันออก
จ. ภำคอีสำน
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
2
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ปัญหำ เผำหัว อุ่นเครื่ อง ก่อนเรี ยน
ข้อใดถูกต้องที่สุดในกำรมำอบรมครั้งนี้ ???
ก. ถูกบังคับมำ
ข. อยำกออกจำกบ้ำน
ค. หน้ำที่ของครู ดี
ง. หำใครไม่ได้แล้ว
จ. พลังครู ช่วยชำติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
3
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
•
•
•
•
•
๑) บอกแหล่งกำเนิดและกำรส่ องสว่ำงได้
๒) บอกหลอดไฟฟ้ ำชนิดต่ำงๆได้
๓) บอกอุปกรณ์ประกอบหลอดไฟฟ้ ำที่ประหยัดพลังงำนไฟฟ้ ำได้
๔) บอกโคมไฟฟ้ ำชนิดต่ำงๆ ได้
๕) บอกแนวทำงกำรประหยัดพลังงำนไฟฟ้ ำแสงสว่ำงได้
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
4
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
เห็นอะไรบ้ าง ??
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
5
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
การอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
• ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้ าในระบบ
แสงสว่ าง
• ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
6
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับแสงสว่ าง
• แสงกับการมองเห็น
– เรตินา ประกอบด้วยเซลล์ประสำท 2 ชนิด
• โคน (Cones) แยกสี และรำยละเอียด เมื่อมีแสงสว่ำงมำก
• ร็อด (Rods) เห็นภำพหยำบๆ ทำงำนได้ในที่แสงสว่ำงน้อย
• คุณสมบัตทิ ่ วั ไปของแสง
– แสงเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ำ
– ปรำกฏกำรณ์ที่สำคัญ
กำรทะลุผำ่ น (Transmission) กำรสะท้อน (Reflection)
กำรหักเห (Reflaction) กำรกระจำย (Diffusion)
กำรดูดกลืน (Absorbtion)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
7
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับแสงสว่ าง
• คุณสมบัตทิ ่ วั ไปของแสง (ต่ อ)
– แสงที่ตาคนเรามองเห็น
• ม่ วง คราม นา้ เงิน เขียว เหลือง แสด แดง
• แสงทีต่ าตอบสนองได้ ดที สี่ ุ ดคือ สี เหลือง
– แม่ สีของแสง แดง เขียว นา้ เงิน
• คุณสมบัติทางสี ของแสง
1. อุณหภูมสิ ี ของแสง
• แสดงถึงโทนสี (อุ่น-เย็น)
• มีหน่ วยเป็ น เคลวิน (K)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
8
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับแสงสว่ าง
ตารางที่ 1. แสดงอุณหภูมิสีและตัวอย่ างหลอดไฟฟ้ าโทนสีที่ใช้ กนั ทั่วไป
โทนสี ของแสง (Color Group)
อุณหภูมิสีของแสง (K)
ตัวอย่ำงหลอดไฟฟ้ ำ
สี หลอดไส้ (Incandescent; I)
สี ขำวเหลือง (Warm White; WW)
สี ขำว (White; W)
สี ขำวเย็น (Cool White; CW)
สี ขำวฟ้ ำ (Daylight; D)
สี ขำวฟ้ ำเย็น (Cool Daylight; CD)
ประมำณ 2,700
ประมำณ 3,000
ประมำณ 3,500
ประมำณ 4,000
5,000 - 6,000
6,500 ขึ้นไป
หลอดอินแคนเดสเซนต์
หลอดทังสเตนฮำโลเจน
หลอดไอปรอทควำมดันสู ง
หลอดเมทัลฮำไลด์
แสงจำกดวงอำทิตย์
หลอดฟลูออเรสเซนต์
• คุณสมบัตทิ างสีของแสง (ต่ อ)
2. ดัชนีเทียบสี (CRI, Ra)
• แสดงถึงความถูกต้ องของสี ทปี่ รากฏ (0-100)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
9
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับแสงสว่ าง
• การกาเนิดแสง
1. แสงธรรมชาติ
• แสงจำกดวงอำทิตย์ เกิดจำกกำรรวมตัวของแสงครบทุกสี ที่มีควำมต่อเนื่อง
• สำมำรถนำมำใช้เป็ นแหล่งกำเนิดแสงได้ 3 ลักษณะ คือ
1 . แสงแดด 2. แสงจำกท้องฟ้ ำ 3. แสงจำกกำรสะท้อนที่พ้นื และพื้นผิวอื่น
1.
2. แสงทีม่ นุษย์ ประดิษฐ์ ขนึ้
• หลักกำรให้กำเนิดแสงของหลอดไฟฟ้ ำมีอยู่ 3 วิธี คือ
อินแคนเดสเซนต์ ให้แสงควบทุกสี และมีควำมต่อเนื่อง เช่น หลอดไส้
ลูมิเนสเซนต์ ให้แสงที่มีสเปกตรัมไม่ต่อเนื่อง เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์
อินดักชัน่ ให้แสงที่ใกล้เคียงกับหลักกำรลูมิเนสเซนต์ เช่น หลอดคิวแอล
1.
2.
3.
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
10
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับแสงสว่ าง
• หน่ วยที่ใช้ ในการวัดแสงสว่ าง
1. ฟลักซ์ การส่ องสว่ าง (Luminous Flux)
• มีหน่วยเป็ น ลูเมน (lm)
2. ความเข้ มการส่ องสว่ าง (Luminous Intensity)
• มีหน่วยเป็ น แคนเดลา (cd)
3. ความสว่ าง (Illuminous)
• มีหน่วยเป็ น ลูเมนต่ อตารางเมตร หรื อ ลักซ์ (lux)
4. ความส่ องสว่ าง (Luminance)
• มีหน่วยเป็ น แคนเดลาต่ อตารางเมตร (cd/m2)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
11
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
หลักการให้ แสงสว่ าง
• จุดมุ่งหมายหลัก 3 ประการ
1. เพือ่ ให้ การทางานแต่ ละประเภทดาเนินไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
2. ช่ วยสร้ างความปลอดภัย
3. เพือ่ ความสวยงาม และสร้ างบรรยากาศทีเ่ หมาะสม
• วิธีการให้ แสงสว่ าง 3 วิธี
1. การให้ แสงสว่ างทัว่ พืน้ ที่ (General lighting)
• ข้ อดี ออกแบบได้ ง่าย ย้ายตาแหน่ งที่ทางานได้ อย่ างอิสระ
• ข้ อเสี ย สิ้นเปลืองพลังงานสู ง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
12
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
หลักการให้ แสงสว่ าง
• วิธีการให้ แสงสว่ าง 3 วิธี (ต่ อ)
2. การให้ แสงสว่ างเฉพาะพืน้ ที่
(Localized General lighting)
• ข้ อดี ประหยัดพลังงานกว่ าวิธีการแรก
• ข้ อเสี ย การย้ ายตาแหน่ งพืน้ ทีท่ างานไม่ อสิ ระ
3. การให้ แสงสว่ างเฉพาะตาแหน่ ง
(Local lighting)
• ข้ อดี เป็ นวิธีทปี่ ระหยัดพลังงานทีส่ ุ ด
• ข้ อเสี ย ต้ องควบคุมทิศทางและความสว่ าง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
13
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
• หลอดไฟฟ้ า
คุณสมบัตสิ าคัญของหลอดไฟฟ้าที่ต้องพิจารณา
•
•
•
•
•
•
ประสิ ทธิภาพแสง (Luminous Efficacy) มีหน่วยเป็ น ลูเมนต่ อวัตต์ (lm/W)
อายุใช้ งาน (Lamp Mortality) ให้ใช้หน่วยเป็ น พันชั่วโมง (kh)
ความเสื่ อมของหลอด (Lamp Lumen Depreciation, LLD)
คุณสมบัติทางสี ของแสง (Color Properties of Light)
ระยะเวลาอุ่นหลอด และระยะเวลารอจุดหลอดซ้า (Restrike Time)
คุณสมบัติเฉพาะอืน่ ๆ เช่น รำคำหลอด ขนำดกำลัง ลักษณะกำรติดตั้ง กำรหรี่
แสง ควำมทนต่อกำรสัน่ สะเทือนและอุณหภูมิ กำรแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ำ (Radio
Interference) และกำรกระเพื่อมของแสง (Stroboscopic Effect)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
14
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
ชนิดของหลอดไฟฟ้า
• 1. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent Lamp)
– หลอดอินแคนเดสเซนต์ธรรมดำ (Standard Incandescent Lamp)
– หลอดทังสเตน-ฮำโลเจน (Tungsten-Halogen Lamp)
• 2. หลอดก๊ าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp)
– หลอดคำยประจุควำมดันต่ำ (Low-pressure Discharge Lamps)
– หลอดคำยประจุควำมดันสูง (High-pressure Discharge Lamps) หรื อหลอด
คำยประจุควำมเข้มสูง (High Intensity Discharge Lamps; HID)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
15
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
1. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent Lamp)
• หลอดอินแคนเดสเซนต์ ธรรมดา (Standard
Incandescent Lamp) หรือ หลอดไส้
ตารางที่ 2. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสีย ของหลอดอินแคนเดสเซนต์ ธรรมดา
ข้อดี
- รำคำหลอดต่ำที่สุด แต่มีค่ำเสื่ อมสู ง
- ค่ำดัชนีเทียบสี สูงที่สุด (Ra=100)
- ให้แสงสว่ำงทันที่เมื่อเปิ ดใช้งำน
- ไม่ตอ้ งใช้บลั ลำสต์ อุณหภูมิไม่มีผลต่อควำมสว่ำง
- หรี่ แสงได้ง่ำย โดยปรับลดแรงดันไฟฟ้ ำขำเข้ำ
- มีขนำด และรู ปทรงให้เลือกได้มำก
- มีขนำดเล็ก เบำ ติดตั้งและควบคุมทิศทำงแสงได้ง่ำย
- กลมกลืนกับโคมไฟได้ดี และมีประกำยสวยงำม
ข้อเสี ย
- ประสิ ทธิภำพแสงต่ำที่สุด เพียง 8-14 lm/W
- พลังงำนที่สูญเสี ยก่อให้เกิดควำมร้อนสู งกว่ำ 90%
- แสงมีควำมร้อนที่ทำให้สีของวัตถุซีดจำงเสื่ อมสภำพ
- อำยุใช้งำนสั้นที่สุด คือ 1,000 ชัว่ โมง
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำเร็ วมำก เมื่อเทียบกับหลอด
ประเภทอื่นๆ
- เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และมีค่ำต่ำประมำณ 2,700 K
- มีเฉพำะหลอดขนำดกำลังวัตต์ต่ำ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
16
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
1. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent Lamp) (ต่ อ)
• หลอดทังสเตน-ฮาโลเจน (Tungsten-HalogenLamp)
หรือ หลอดไอโอดีน
ตารางที่ 3. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสีย ของหลอดทังสเตน-ฮาโลเจน
ข้อดี
ข้อเสี ย
- หลอดกำลังต่ำรำคำค่อนข้ำงสู ง ส่ วนหลอดกำลังสู ง
รำคำต่ำที่สุด แต่มีค่ำเสื่ อมสู งทุกขนำด
- ค่ำดัชนีเทียบสี สูงที่สุด (Ra=100)
- ให้แสงสว่ำงทันที่เมื่อเปิ ดใช้งำน
- ไม่ตอ้ งใช้บลั ลำสต์ อุณหภูมิไม่มีผลต่อควำมสว่ำง
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำต่ำที่สุด คือไม่ถึง 10%
- หรี่ แสงได้ง่ำย โดยปรับลดแรงดันไฟฟ้ ำขำเข้ำ
- มีขนำดเล็ก เบำ ติดตั้งและควบคุมทิศทำงแสงได้ง่ำย
- ประสิ ทธิภำพแสงยังต่ำมำก เพียง 16-25 lm/W
- พลังงำนที่สูญเสี ยก่อให้เกิดควำมร้อนสู งกว่ำ 80%
- แสงมีควำมร้อนที่ทำให้สีของวัตถุซีดจำงเสื่ อมสภำพ
(ยกเว้นหลอดแบบติดกับถ้วยที่ให้แสงเย็น)
- ตัวหลอดมีควำมร้อนสู ง กำรใช้งำนจึงต้องระมัดระวัง
- อำยุใช้งำนยังสั้นมำก คือ 2-3,000 ชัว่ โมง
- เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และมีค่ำต่ำ ประมำณ 3,000 K
- ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้ ำสำหรับหลอดกำลังต่ำ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
17
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp)
• หลอดฟลูออเรสเซนต์ ชนิดหลอดตรงหรือชนิดหลอดวงกลม
(Turbular or Circular Fluorescent Lamps)
ตำรำงที่ 4. แสดงคุณสมบัติขอ้ ดี-ข้อเสี ย ของหลอดฟลูออเรสเซนต์
ข้อดี
ข้อเสี ย
- อำยุใช้งำนค่อนข้ำงยำว คือ 10,000-13,000 ชัว่ โมง
- รำคำหลอดต่ำ และมีค่ำเสื่ อมต่ำที่สุด
- ค่ำดัชนีเทียบสี ค่อนข้ำงสู ง ถึงสู งมำก (Ra=63-85)
- มีอุณหภูมิสีให้เลือกได้ครบทุกโทนสี
- หรี่ แสงได้โดยใช้หลอดชนิดติดเร็ ว หรื อใช้เครื่ องหรี่ ไฟ
- อุณหภูมิสภำพแวดล้อมรอบข้ำงต่ำที่สุด
- เป็ นแหล่งกำเนิดแสงแบบกระจำยจึงไม่จำ้ แยงตำ
- ประสิ ทธิ ภำพแสงยังไม่สูง โดยขนำด 18W <50 lm/W
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำสู ง แต่คงที่ประมำณ 25%
(ยกเว้นรุ่ น super 80 จะต่ำประมำณ 10%)
- ใช้เวลำ 2-3 วินำทีจึงให้แสงสว่ำง และมีกำรกระเพื่อม
(ยกเว้นชนิดติดเร็ ว หรื อเมื่อใช้บลั ลำสต์อิเล็กทรอนิกส์)
- ต้องใช้บลั ลำสต์ (และสตำร์ตเตอร์ เมื่อใช้ชนิดอุ่นไส้)
- อุณหภูมิมีผลต่อควำมสว่ำงมำก (ยกเว้นชนิดติดเร็ ว)
- มีแต่หลอดขนำดกำลังต่ำ ต้องติดตั้งจำนวนมำก
- มีขนำดใหญ่ หนักติดตั้งและควบคุมทิศทำงแสงยำก
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
18
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp) (ต่ อ)
• หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (Compact Fluorescent Lamps)
หรือหลอดประหยัดไฟ
ตารางที่ 5. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสี ย ของหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
ข้อดี
-ประสิ ทธิ ภำพแสงสู งที่สุดสำหรับหลอดกำลังต่ำ
(>50 lm/W)
- อำยุใช้งำนค่อนข้ำงยำว คือ 8,000-12,000 ชัว่ โมง
- ค่ำดัชนีเทียบสี สูงมำก (Ra=78-82)
- มีขนำดเล็กลง จึงควบคุมทิศทำงแสงได้ง่ำยขึ้น
- ข้ออื่นๆ เหมือนหลอดฟลูออเรสเซนต์
ข้อเสี ย
- รำคำหลอดและค่ำเสื่ อมสู ง โดยเฉพำะชนิดบัลลำสต์
ภำยใน จะสู งที่สุดสำหรับหลอดกำลังต่ำ
- ชนิดบัลลำสต์ภำยในมีขนำดใหญ่ หนัก เมื่อหลอดเสี ย
ต้องทิ้งบัลลำสต์ไปด้วยกัน
- ข้ออื่นๆ เหมือนหลอดฟลูออเรสเซนต์
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
19
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp) (ต่ อ)
• หลอดไอปรอทความดันสู ง(High-pressure
Mercury Vapour Lamps) หรือ หลอดแสงจันทร์
หลอดเมอร์ ควิ รี่-ทังสเตน หรือ หลอดแสงผสม
ตารางที่ 6. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสี ย ของหลอดไอปรอทความดันสู ง
ข้อดี
ข้อเสี ย
- อำยุใช้งำนยำวมำก คือ 24,000 ชัว่ โมง
- รำคำหลอดต่ำ และมีค่ำเสื่ อมต่ำที่สุดในหลอดกำลังสู ง
- ไม่ตอ้ งใช้อิกนิเตอร์ ใช้เพียงบัลลำสต์ และคำปำซิเตอร์
(ยกเว้นหลอดชนิดไม่ใช้บลั ลำสต์)
- มีหลอดชนิดไม่ใช้บลั ลำสต์ ในกรณี ที่ติดตั้งไม่ได้
- สำมำรถใช้โดยไม่ตอ้ งมีฉำกกั้นแสง
- ประสิ ทธิ ภำพแสงต่ำในหลอดกำลังสู ง <50 lm/W
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำสู ง ควรเปลี่ยนเมื่อถึง 30%
- ค่ำดัชนีควำมเหมือนสี ค่อนข้ำงต่ำ (Ra=40-48)
- มีอุณหภูมิสีเฉพำะโทนสี ขำว หรื อขำวเย็น
- ใช้เวลำอุ่นหลอด 3-7 นำที และรอจุดซ้ ำ 3-6 นำที
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
20
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp) (ต่ อ)
• หลอดเมทัลฮาไลด์ (Metal Halide Lamps)
ตำรำงที่ 7. แสดงคุณสมบัติขอ้ ดี-ข้อเสี ย ของหลอดหลอดเมทัลฮำไลด์
ข้อดี
ข้อเสี ย
- ประสิ ทธิภำพสู ง (65-85 lm/W)
- อำยุใช้งำนค่อนข้ำงยำว จนถึง 20,000 ชัว่ โมง
- ค่ำดัชนีควำมเหมือนสี ค่อนข้ำงสู ง (Ra=65-85)
- อุณหภูมิสีเป็ นธรรมชำติ ขนำดกำลังต่ำเลือกโทนสี ได้
- มีหลอดบำงรุ่ นที่ไม่ตอ้ งรอจุดซ้ ำ
- รำคำหลอดและค่ำเสื่ อมสู ง โดยเฉพำะขนำดกำลังต่ำ
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำสู ง แต่คงที่ประมำณ 30%
- ต้องใช้อิกนิเตอร์ บัลลำสต์ และคำร์ปำซิเตอร์
- ใช้เวลำอุ่นหลอด 1-3 นำที และรอจุดซ้ ำ 10-15 นำที
- กำรใช้งำนส่ วนมำกต้องใช้ฉำกกันแสง UV
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
21
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp) (ต่ อ)
• หลอดโซเดียมความดันสู ง (High-pressure
Sodium Vapour Lamps)
ตารางที่ 8. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสี ย ของหลอดโซเดียมความดันสู ง
ข้อดี
- ประสิ ทธิภำพแสงสูงมำก (70-110 lm/W)
- อำยุใช้งำนยำวถึง 24,000 ชัว่ โมง
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำไม่สูงมำก ประมำณ 25%
เมื่อครบอำยุใช้งำน
- มีหลอดพิเศษที่ให้แสงคุณภำพใกล้เคียงกับหลอดไส้
- มีหลอดบำงรุ่ นที่ไม่ตอ้ งรอจุดซ้ ำ (ใช้อิกนิเตอร์พิเศษ)
ข้อเสี ย
- รำคำหลอด และค่ำเสื่ อมค่อนข้ำงสูง
- ค่ำดัชนีควำมเหมือนสี ต่ำ (Ra=25)
- เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และมีค่ำต่ำ ประมำณ 2,000 K
- ต้องใช้อิกนิเตอร์ บัลลำสต์ และคำร์ปำซิเตอร์
- ใช้เวลำอุ่นหลอด 3-5 นำที และรอจุดซ้ ำ 1 นำที
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
22
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
2. หลอดก๊าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp) (ต่ อ)
• หลอดโซเดียมความดันต่า (Low-pressure
Sodium Vapour Lamps)
ตารางที่ 9. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสีย ของหลอดโซเดียมความดันต่า
ข้อดี
- ประสิ ทธิภำพแสงสู งที่สุด (100-150 lm/W)
- อำยุใช้งำนยำว 18,000 ชัว่ โมง
- ควำมเสื่ อมของหลอดไฟฟ้ ำไม่สูง ตลอดอำยุใช้งำน
ข้อเสี ย
- รำคำหลอด และค่ำเสื่ อมสู ง
- เป็ นแสงควำมยำวคลื่นเดี่ยว ซึ่ งแยกสี ไม่ได้ (Ra=0)
- เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และมีค่ำต่ำ ประมำณ 2,000 K
- ต้องใช้อิกนิเตอร์ บัลลำสต์ และคำร์ปำซิเตอร์
- ใช้เวลำอุ่นหลอด 10-13 นำที และรอจุดซ้ ำ 1-2 นำที
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
23
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
• บัลลาสต์
คุณสมบัตสิ าคัญของบัลลาสต์ ที่ต้องพิจารณา
•
•
•
•
•
•
แรงดันไฟฟ้ า (Line Volt)
แรงดันไฟฟ้าตก (Voltage Dip)
ตัวประกอบกาลัง (Power Factor, PF)
ประสิ ทธิภาพของบัลลาสต์ หรือ ความสู ญเสี ยในตัวบัลลาสต์ (Ballast Losses)
ตัวประกอบยอดคลืน่ กระแส (Current Crest Factor)
คุณสมบัติเฉพาะอืน่ ๆ เช่น รำคำ อำยุใช้งำน และควำมทนต่อสภำพแวดล้อม
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
24
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
ชนิดของบัลลาสต์
• บัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์
– บัลลำสต์แกนเหล็ก (Magnetic Ballast)
– บัลลำสต์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Ballast)
• หลอดบัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอด HID
– รี แอกเตอร์บลั ลำสต์ (Reactor Ballast)
– เรกูเลเตอร์บลั ลำสต์ (Regulator Ballast)
– แล็กบัลลำสต์ (Lag Ballast)
– บัลลำสต์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Ballast)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
25
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
บัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์
• บัลลาสต์ แกนเหล็ก (Magnetic Ballast)
ตารางที่ 10. แสดงคุณสมบัติข้อดี-ข้ อเสีย ของบัลลาสต์แกนเหล็ก
ข้ อดี
ข้ อเสีย
- ราคาต่า และอายุใช้ งานยาวนานมาก (20 ปี )
- มีการสูญเสียพลังงานสูงประมาณ 20% (6-13W)
- ทนต่อสภาพแวดล้ อม เช่น แรงดันไม่คงที่ อุณหภูมิสงู - เกิดความร้ อนสูส่ ภาพแวดล้ อมสูง และมีเสียงคราง
- ช่างติดตังได้
้ อย่างคุ้นเคย และหาซื ้อได้ ทวั่ ไป
- มีคา่ ตัวประกอบกาลังต่า (PF=0.27-0.52)
- ใช้ เวลา 2-3 วินาทีจงึ ให้ แสงสว่าง และมีการกระเพื่อม
- มีการกระพริบเมื่อหลอดไฟฟ้ า บัลลาสต์ หรือสตาร์ ทเตอร์ เสือ่ ม ซึง่ นอกจากเปลืองไฟแล้ วยังอาจทาให้ เกิด
ไฟไหม้ ได้ เพราะกระแสสูงผิดปกติทาให้ ชดุ ขดลวด
ร้ อนผิดปกติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
26
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
บัลลาสต์ ทใี่ ช้ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ (ต่ อ)
• บัลลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Ballast)
ตารางที่ 11. แสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของบัล ลาสต์อิเล็กทรอนิกส์
ข้ อดี
ข้ อเสีย
- ลดสูญเสียพลังงานประมาณ 20%
- ลดความร้ อนสูส่ ภาพแวดล้ อม และลดเสียงคราง
- มีคา่ ตัวประกอบกาลังสูง (โดยทัว่ ไป PF>0.96)
- ให้ แสงสว่างทันที และไม่มีการกระเพื่อม
- มีวงจรควบคุมตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้าเมื่อผิดปกติ
- ความเสือ่ มของหลอดไฟฟ้าลดลง อายุใช้ งานนานขึ ้น
- สามารถใช้ ไฟฟ้ากระแสตรงแรงดันสูง และหรี่ แสงได้
- สามารถใช้ กบั หลอดไฟฟ้าได้ 3-4 หลอด
- น ้าหนักเบา และไม่ต้องใช้ สตาร์ ทเตอร์ ภายนอก
- ราคาสูง และอายุใช้ งานสั ้น
- มีข้อจากัดในการใช้ งานในสถานที่มีอณ
ุ หภูมิสงู มีฝนุ่
ละอองน ้า ไอน ้ามัน หรื อแรงดันไม่คงที่
- มีข้อที่ต้องระมัดระวังในการเลือกซื ้อ และการเลือกใช้
ให้ เหมาะสมต่อลักษณะการใช้ งาน
- มีข้อเสียเรื่ องสิง่ แวดล้ อมที่ขยะอิเล็กทรอนิกส์ไม่
สามารถ Recycle ได้ เหมือนขยะจากบัลลาสต์
แกนเหล็ก
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
27
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
• โคมไฟ
คุณสมบัตสิ าคัญของโคมไฟทีต่ ้ องพิจารณา
• ประสิ ทธิภาพของโคมไฟ
• สั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์ (Coefficient of
Utilization, CU)
• ความเสื่ อมจากโคมไฟสกปรก (Luminaire Dirt
Depreciation, LDD)
• กราฟแสดงการกระจายของกาลังส่ องสว่ าง
• คุณสมบัติเฉพาะอืน่ ๆ เช่น กำรป้ องกันแสงจ้ำ ควำมปลอดภัย และควำม ยำกง่ำย
ในกำรซ่อมบำรุ ง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
28
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
ชนิดของโคมไฟ
• ก. แบ่ งตามชนิดของหลอดไฟฟ้าทีใ่ ช้
– โคมไฟที่ใช้กบั หลอดอินแคนเดสเซนต์
– โคมไฟที่ใช้กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์
– โคมไฟที่ใช้กบั หลอด HID
• ข. แบ่ งตามลักษณะการติดตั้ง
– โคมไฟแบบห้อย (Pendent)
– โคมไฟแบบฝังเข้ำไปในเพดำน
(Recessed)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
29
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• ข. แบ่ งตามลักษณะการติดตั้ง (ต่ อ)
– โคมไฟแบบยึดติดกับเพดำน
(Surface)
• ค. แบ่ งตามลักษณะการใช้ งาน
– โคมไฟสำหรับงำนอุตสำหกรรม
– โคมไฟสำหรับบ้ำน
– โคมไฟประดับ
– โคมไฟถนน
– โคมไฟสำหรับงำนพิเศษ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
30
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• ง. แบ่ งตามลักษณะการกระจายแสง (Light Distribution Characteristic)
– ชนิดกระจำยแสงลง (Direct Luminaire)
ข้ อดี ควบคุมทิศทำงของแสงได้ง่ำย
ข้ อเสีย ควำมจ้ำเพดำน ผนัง กับโคมไฟต่ำงกันมำก
และเกิดเงำขึ้นบนพื้นงำนได้ง่ำย
– ชนิดกึ่งกระจำยแสงลง (Semi-direct Luminaire)
ข้ อดี ควำมจ้ำเพดำน ผนัง กับโคมไฟต่ำงกันน้อยลง
โดยยังคงควบคุมทิศทำงของแสงได้ง่ำย
ข้ อเสีย เกิดเงำขึ้นบนพื้นงำนได้ง่ำย
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
31
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
– ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• ง. แบ่ งตามลักษณะการกระจายแสง (Light Distribution Characteristic) (ต่ อ)
– ชนิดกระจำยแสงแบบรอบด้ำน (General Diffuse Luminaries)
ข้ อดี ควำมจ้ำบนพื้นผิวทั้งห้องจะสม่ำเสมอ
และสบำยตำ
ข้ อเสีย กำรควบคุมทิศทำงของแสงทำได้ยำก
– ชนิดกระจำยแสงแบบขึ้น-ลง (Direct-indirect Luminaries)
คล้ำยกับโคมไฟประเภทที่แล้วทุกประกำร
ยกเว้นที่จะมีเฉพำะแสงพุง่ ลงสู่เบื้องล่ำงและขึ้นสู่เพดำน
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
32
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
– ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• ง. แบ่ งตามลักษณะการกระจายแสง (Light Distribution Characteristic) (ต่ อ)
– ชนิดกึ่งกระจำยแสงขึ้น (Semi-Indirect Luminaries)
ข้ อดี ควำมจ้ำบนพื้นผิวทั้งห้องจะสม่ำเสมอ สบำยตำ
ข้ อเสีย ค่ำสัมประสิ ทธิ์กำรใช้ประโยชน์มีค่ำต่ำ
– ชนิดกระจำยแสงขึ้น (Indirect Luminaries)
ข้ อดี ควำมจ้ำทัว่ บริ เวณห้องจะสม่ำเสมอ
จนเกือบเท่ำกันหมด ถ้ำระยะที่หอ้ ย
โคมไฟจำกเพดำนมีค่ำมำกพอ
ข้ อเสีย ค่ำสัมประสิ ทธิ์กำรใช้ประโยชน์ต่ำที่สุด
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
33
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
– ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• จ. แบ่ งตามความเสื่ อมจากโคมไฟสกปรก (LDD)
– ประเภทที่ 1 โคมไฟแบบ
กึ่งกระจำยแสงลง ตัวโคมไฟ
เป็ นแบบเปิ ด เช่น โคมเปลือย
โคมกล่องเหล็ก โคมอกไก่
– ประเภทที่ 2 โคมไฟแบบ
แสงลง ตัวโคมไฟ
แต่มี ตะแกรง
ก้ำงปลำ
กึ่งกระจำย
เป็ นแบบเปิ ด
อยูด่ ำ้ นล่ำง เช่น โคม
โคมโรงงำน
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
34
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
– ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• จ. แบ่ งตามความเสื่ อมจากโคมไฟสกปรก (LDD) (ต่ อ)
– ประเภทที่ 3 โคมไฟแบบ
เดียวกับโคมไฟประเภทที่ 2
แต่ตะแกรงมีควำมถี่มำกกว่ำ
รวมทั้งโคมไฟที่ใช้หลอด HID
– ประเภทที่ 4 โคมไฟแบบ
กระจำยแสงลง ด้ำนบนปิ ด
และอำจมีตะแกรงอยูด่ ำ้ นล่ำง
เช่น โคมฝัง โคมติดลอยรวมทั้ง
โคมดำวน์ไลท์
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
35
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป
– ชนิดของโคมไฟ (ต่ อ)
• จ. แบ่ งตามความเสื่ อมจากโคมไฟสกปรก (LDD) (ต่ อ)
– ประเภทที่ 5 โคมไฟแบบ
กระจำยแสงลง หรื อกึ่งกระจำย
แสงลง ตัวโคมปิ ดมิดชิด เช่น
โคมตัวยู โคมกันน้ ำกันฝุ่ น และ
โคมไฟอื่นๆ ที่มีฝำครอบ
– ประเภทที่ 6 โคมไฟแบบ
กระจำยแสงขึ้น หรื อกึ่งกระจำย
แสงขึ้น ที่ใช้ส่องเพดำน เช่น
โคมไฟหลืบ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
36
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
หลักการอนุรักษ์ พลังงาน
• ผลดีของการให้ แสงสว่ างอย่ างเหมาะสมในโรงงาน
–
–
–
–
ปริมาณผลผลิตที่จะผลิตได้ เพิม่ ขึน้
ปริมาณของเสี ยที่จะลดลง
ขวัญและกาลังใจของผู้ปฎิบัติงาน
ลดอัตราการเกิดอุบัตเิ หตุ และการเจ็บป่ วยจากการทางาน
• การอนุรักษ์ พลังงานในระบบแสงสว่ างทีถ่ ูกต้ อง จึงไม่ ใช่ มุ่งแต่ เพียง
เฉพาะการประหยัดไฟฟ้า แต่ จะต้ องมุ่งสู่ การได้ มาซึ่งระบบไฟฟ้า
แสงสว่ างทีม่ ีประสิ ทธิภาพสู ง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
37
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
• แนวทางการปรับปรุงระบบแสงสว่ าง
1. การใช้ แสงสว่ างจากธรรมชาติ
2. การจัดการระบบแสงสว่ างให้ ทางานอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
38
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
1. การใช้ แสงสว่ างจากธรรมชาติ
• การใช้ แสงสว่ างจากแสงอาทิตย์
– ควำมเข้มแสง 80,700 lumen ต่อตำรำงเมตร
– ประสิ ทธิภำพแสงต่อควำมร้อน 110 lumen/W
– พื้นที่โปร่ งแสง 5% ให้ควำมสว่ำงเ กิน 100 lux
ได้ถึง 95% และเกิน 150 lux ได้ถึง 90%
• การใช้ แสงสว่ างจากท้ องฟ้ า
– ประสิ ทธิภำพแสงต่อควำมร้อนสู งถึง
140 lumen/W
– หน้ำต่ำงหรื อช่องรับแสงในด้ำนทิศเหนือ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
39
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
2. การจัดการระบบแสงสว่ างให้ ทางานอย่ างมีประสิทธิภาพ
2.1 การปรั บลดความสว่ างให้ เหมาะสม
• การลดจานวนหลอดไฟฟ้า
– ควำมสว่ำงในพื้นที่สูงกว่ำค่ำที่กำหนด
– มีกำรชดเชยโดยกำรเปลี่ยนชนิดหลอดไฟฟ้ ำ
หรื อติดตั้งแผ่นสะท้อนแสงเพิ่ม
• การเปลี่ยนวิธีการให้ แสงอย่ างเหมาะสม
– ให้แสงสว่ำงเพียงพอเฉพำะบริ เวณที่มีกำรทำงำน
– ควำมสว่ำงที่บริ เวณต่ำงๆ ต้องไม่ต่ำงกันมำกกว่ำ
เท่ำตัว
3
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
40
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
2.1 การปรับลดความสว่ างให้ เหมาะสม (ต่ อ)
• การหรี่แสง
– ปรับระดับแสงสว่ำงให้เหมำะกับควำมต้องกำร
ของกิจกรรมแต่ละชนิด
– กำรลดแรงดันไฟฟ้ ำลงทุกๆ 5% ยืดอำยุใช้งำน
ของหลอดอินแคนเดสเซนต์ได้มำกกว่ำ 2 เท่ำ
– หลอดฟลูออเรสเซนต์หรี่ แสงได้เฉพำะชนิดติดเร็ว
หรื อต้องใช้บลั ลำสต์อิเล็กทรอนิกส์ ร่ วมกับเครื่ องหรี่ ไฟ (Light Dimmer)
– หลอด HID ไม่สำมำรถหรี่ แสงได้อย่ำงต่อเนื่อง แต่สำมำรถติดตั้งชุด
อุปกรณ์เพื่อปรับค่ำควำมต้ำนทำนภำยในวงจร
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
41
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
2.2 การควบคุมการเปิ ด-ปิ ด
• การเปิ ด-ปิ ด โดยคนควบคุม
– การปิ ดทั้งหมด โดยตัดไฟที่สำยเมน
– การปิ ดบางส่ วน โดยกำรแยกสวิตช์
หรื อติดสวิตช์กระตุก
• การเปิ ด-ปิ ด โดยอุปกรณ์ อตั โนมัติ
– สวิตช์ ต้ังเวลา (Timer) และสวิตช์ หน่ วงเวลา
(Time Delay Switch)
– สวิตช์ แสงแดด (Photo Cell Switch)
– สวิตช์ ตรวจจับการทางาน (Occupancy Sensor)
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
42
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
2.3 การบารุ งรักษาอย่ างสม่าเสมอ
• การเปลีย่ นหลอดไฟ
– กำรเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ ำใหม่เป็ นบำงจุด
(Spot Relamping)
– กำรเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ ำเป็ นกลุ่ม (Group
Relamping)
• การทาความสะอาดโคมไฟ เพดาน ผนัง และพืน้
– ขึ้นกับควำมยำกง่ำย ช้ำหรื อเร็ว ในกำรสะสมฝุ่ นละอองของโคมไฟ
– ควำมสะอำดของสถำนที่ติดตั้งโคมไฟ
– เพดำน ผนัง และพื้น ควรมีกำรทำควำมสะอำดเช่นกัน
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
43
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน
• การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้ าประสิ ทธิภาพสู ง
– ประเภทกำรทำงำนเป็ นตัวกำหนด ปั จจัยด้ำนคุณภำพ ซึ่ งได้แก่
1. ระดับควำมสว่ำง 2. ควำมถูกต้องของสี 3. อุณหภูมิของแสง
4. กำรหรี่ แสง
5. ระยะเวลำอุ่นหลอด 6. ระยะเวลำรอจุดซ้ ำ
7. ปัจจัยอื่นๆ เช่น ควำมชื้น ควำมสัน่ สะเทือน อุณหภูมิ ควำมสูงเพดำน
– ปัจจัยในด้ำนค่ำใช้จ่ำย คือ
1. ประสิ ทธิภำพ
2. อำยุใช้งำน
3. รำคำ
– ไม่ควรใช้หลอดไส้ในกำรให้แสงสว่ำงทัว่ ไปควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
เป็ นหลัก ในกำรติดตั้งไฟส่ องลง (down light) หรื อโคมฉำย (Flood light)
ในห้องโถงใหญ่ควรใช้หลอด HID เป็ นต้นกำเนิดแสงหลัก
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
44
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน (ต่ อ)
• การเลือกใช้ บลั ลาสต์ ทมี่ กี ารสู ญเสี ยต่า
– หำกเป็ นไปได้ควรเลือกใช้บลั ลำสต์ที่มีกำรสูญเสี ยต่ำที่สุด คือ บัลลำสต์
อิเล็กทรอนิกส์ แต่บลั ลำสต์อิเล็กทรอนิกส์ไม่เหมำะที่จะใช้ในโรงงำน
– บัลลำสต์อิเล็กทรอนิกส์ 1 ตัว สำมำรถใช้กบั หลอดไฟฟ้ ำได้ 3 ถึง 4 หลอด
และบำงรุ่ นยังสำมำรถหรี่ แสงได้
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
45
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน (ต่ อ)
• การเลือกใช้ โคมไฟประสิ ทธิภาพสู ง
– ปัจจัยด้ำนสภำพพื้นที่
1. โคมไฟที่ใช้หลอด HID เพดำนควรสูงมำกกว่ำ 3.5 เมตร และถ้ำเพดำน
สูงไม่ถึง 5 เมตร จะใช้หลอด HID ได้เฉพำะหลอดขนำดเล็ก
2. อัตรำส่ วนระหว่ำงระยะห่ำงของโคมไฟกับควำมสู งของโคมไฟ (S/Hm)
หรื อ ค่ำ SC (Spacing Criteria) โดยทัว่ ไปจะมีค่ำ 1.0-1.5
– ปัจจัยด้ำนประสิ ทธิภำพ พิจำรณำที่ ค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ ประโยชน์ (CU) ซึ่ง
ขึ้นกับ อัตราส่ วนช่ องว่ างของห้ อง (Room Cavity Ratio)
RCR
= 5 x ควำมสูงจำกพื้นงำนของโคมไฟ x (กว้ำง+ยำว ) / (กว้ำงxยำว)
= 5 / Kr
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
46
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน (ต่ อ)
– การคานวณหาจานวนโคมไฟ
จาก E = F / A = [N x n x Fl x CU x LLF] / A
นันคื
้ อ N = [E x A] / [n x Fl x CU x LLF]
»
»
»
»
»
»
»
โดยที่ E คือ ค่าระดับความสว่างที่ต้องการ (lux หรื อ lm/m2)
F คือ ฟลักซ์การส่องสว่างทั ้งหมดที่ตกลงบนพื ้นที่ทางาน (lm)
A คือ พื ้นที่ทางาน (m2)
N คือ จานวนโคมไฟ (โคม)
n คือ จานวนหลอดไฟฟ้าในโคมไฟ 1 โคม (หลอด/โคม)
Fl คือ ฟลักซ์การส่องสว่างของหลอดไฟฟ้า 1 หลอด (lm/หลอด)
LLF คือ ค่าแฟคเตอร์ การสูญเสียแสง (Light Loss Factor) ซึง่ เป็ นผลรวมของ
ความเสื่อมของหลอดและความเสื่อมจากโคมไฟสกปรก = LLD x LDD
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
47
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน
3. การเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า และอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน (ต่ อ)
– การคานวณค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ในระบบแสงสว่างต่อตารางเมตรของพื ้นที
คานวนได้ จาก E = [N x n x Fl x CU x LLF] / A
[N x n] / A = E / [Fl x CU x LLF]
[N x n x P] / A = E x P/ [Fl x CU x LLF]
นันคื
้ อ W/m2 = E / [LPW x CU x LLF ]
» โดยที่ P คือ กาลังไฟฟ้าที่ใช้ ของหลอดไฟฟ้า 1 หลอด (W)
» LPW คือ ค่าประสิทธิภาพของแสง (lm/W) = Fl / P
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
48
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
เครื่องมือในการอนุรักษ์ พลังงาน
1. อุปกรณ์ วดั ทีใ่ ช้ ในการอนุรักษ์ พลังงาน
– เครื่องวัดความสว่ าง หรื อ ลักซ์ มิเตอร์
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้วดั ปริ มำณแสงที่ตกกระทบ
ต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ (lm/m2 หรื อ lux)
– เครื่องวัดระยะทาง เช่นตลับเมตร
2. แผนผังและตารางทีใ่ ช้ ในการอนุรักษ์ พลังงาน
– แผนผังหลอดไฟฟ้า แสดงถึงชนิดของหลอดไฟฟ้ ำ ตำแหน่งติดตั้ง และสวิทช์
ควบคุม
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
49
• แผนผังหลอดไฟฟ้า อาคาร 1
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
50
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
เครื่องมือในการอนุรักษ์ พลังงาน
• แผนผังและตารางทีใ่ ช้ ในการอนุรักษ์ พลังงาน (ต่ อ)
– ตารางกาหนดการเปิ ด-ปิ ด หลอดไฟฟ้า แสดงกำหนดกำรเปิ ด-ปิ ด ชนิด และ
จำนวนหลอดไฟฟ้ ำของสวิตช์ควบคุมแต่ละจุด โดยระบุชื่อผูร้ ับผิดชอบเปิ ด-ปิ ด และ
ซ่อมบำรุ ง
– ตารางการวิเคราะห์ ระบบแสงสว่ าง แสดงชนิด ขนำด และจำนวนหลอดไฟฟ้ ำ
ในแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้คำนวณค่ำกำลังไฟฟ้ ำแสงสว่ำงที่ใช้ต่อพื้นที่ และแสดงชัว่ โมง
ทำงำนของโคมไฟในแต่ละพื้นที่
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
51
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ทฤษฎีการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่ าง
เครื่องมือในการอนุรักษ์ พลังงาน
• แผนผังและตารางทีใ่ ช้ ในการอนุรักษ์ พลังงาน (ต่ อ)
– ตารางพิจารณาปรับปรุ ง แสดงผลกำรพิจำรณำแสงธรรมชำติ เวลำทำงำน และ
พื้นที่ใช้งำนของสวิตช์ควบคุมแต่ละจุด
– แบบฟอร์ มสาหรับวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่ายระบบแสงสว่ าง แสดงข้อมูลของหลอด
ไฟฟ้ ำที่ใช้อยู่ และชนิดที่พิจำรณำจะเปลี่ยนใช้แทน
– ตารางแผนการซ่ อมบารุ งระบบแสงสว่ าง แสดงกำหนดกำรซ่อมบำรุ ง ได้แก่
กำรทำควำมสะอำดบริ เวณต่ำงๆ กำรเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ ำในพื้นที่ซ่ ึ งกำหนดให้เปลี่ยน
หลอดไฟฟ้ ำตำมกำหนดอำยุกำรใช้งำน โดยระบุชื่อผูร้ ับผิดชอบ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
52
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
ข้ อกาหนดมาตรฐานการใช้ พลังงาน
• ข้ อกาหนดทีต่ ้ องปฎิบัติ
1. ระบบไฟฟ้ าแสงสว่ างทุกบริเวณ ต้ องมีการควบคุมโดยมีผ้ ูรับผิดชอบ
2. สวิตช์ ทุกจุดต้ องอยู่ในตาแหน่ งทีผ่ ู้ปฏิบตั ิงานสามารถ เปิ ด-ปิ ด ได้ สะดวก
3. ต้ องจัดให้ มสี วิตช์ ควบคุมอย่ างน้ อย 1 จุดสาหรับ
• 3.1 อุปกรณ์แสงสว่ำงแต่ละประเภท หรื อมีขนำดกำลังรวมเกิน 1,000 วัตต์
• 3.2 พื้นที่ไม่เกิน 30 ตร.ม หรื อภำยในแต่ละพื้นที่ทำงำน/ห้อง
• 3.3 พื้นที่ซ่ ึงในบำงครั้งทำงำนไม่พร้อมกัน หรื อบริ เวณที่มีแสงธรรมชำติเพียงพอ
• 3.4 อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ ให้ถือว่ำเทียบเท่ำจำนวนสวิตช์ได้ไม่เกิน 3 จุด
4. ต้ องมีแผนผังทางไฟฟ้ า ทีถ่ ูกต้ องตรงกับสภาพปัจจุบนั อยู่เสมอ
5. ต้ องจัดทาตารางวิเคราะห์ ระบบแสงสว่ าง ให้ ครอบคลุมทัว่ ทุกบริเวณ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
53
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
ข้ อกาหนดเพือ่ พิจารณาปรับปรุง
• ข้ อกาหนดเพือ่ พิจารณาปรับปรุง
1. ระบบไฟฟ้ าแสงสว่ างทุกบริเวณทีม่ กี ารเปิ ดใช้ ในเวลากลางวันเป็ นประจา รวมทั้ง
บริเวณห้ องนา้ ควรพิจารณาใช้ แสงสว่ างจากธรรมชาติ
2. ควรทบทวนสภาพการใช้ แสงสว่ างจากธรรมชาติ ระดับความสว่ าง และ วิธีการให้
แสงสว่ าง เพือ่ ทาการปรับปรุงให้ เหมาะสมทุกครั้งทีม่ กี ารต่ อเติม แก้ ไขอาคาร ย้ าย
พืน้ ทีท่ างาน หรือเครื่องจักร
3. บริเวณทีม่ กี ารใช้ งานหลายอย่ าง ซึ่งบางครั้งต้ องการแสงสว่ างน้ อย หรือ มีการใช้
แสงธรรมชาติช่วยให้ แสงสว่ าง ควรพิจารณาติดตั้งเครื่องหรี่ไฟ
4. ดวงไฟทีผ่ ้ ูรับผิดชอบ เปิ ด-ปิ ด ไม่ สามารถควบคุมได้ อย่ างถี่ถ้วน ติดตั้งในบริเวณพืน้ ที่
กว้ างหรือมีจานวนมาก ควรพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์ ควบคุมอัตโนมัติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
54
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
ข้ อกาหนดเพือ่ พิจารณาปรับปรุง
• ข้ อกาหนดเพือ่ พิจารณาปรับปรุง (ต่ อ)
5. ดวงไฟทีต่ ิดตั้งในพืน้ ทีก่ ว้ างหรือห้ องขนาดใหญ่ และมีทางเข้ าออกหลายทาง หรือ
สวิตช์ ควบคุม ติดตั้งรวมไว้ ในบริเวณทีห่ ่ างไกล เช่ น โกดังเก็บของ ควรพิจารณาติดตั้ง
สวิตช์ ควบคุมเพิม่
6. พิจารณาเลือกใช้ อุปกรณ์ ประหยัดพลังงานประเภทต่ างๆ ดังนี้
• 6.1 กำรเลือกใช้หลอดไฟฟ้ ำประสิ ทธิภำพสูง
• 6.2 กำรเลือกใช้บลั ลำสต์ที่มีกำรสูญเสี ยต่ำ
• 6.3 กำรเลือกใช้โคมไฟประสิ ทธิภำพสูง
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
55
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
ข้ อกาหนดเพือ่ ตรวจสอบและบารุงรักษา
• ข้ อกาหนดเพือ่ ตรวจสอบ และบารุงรักษา
1. ก่ อนเริ่มต้ นทางาน พนักงานทุกคนต้ องสั งเกตการทางานของหลอดไฟฟ้ าในพืน้ ที่
ทางานของตน หากมีหลอดไฟฟ้ าเริ่มทางานไม่ ปกติให้ แจ้ งซ่ อมทันที
2. ฝ่ ายซ่ อมบารุงต้ องมีผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ และบารุงรักษาระบบแสงสว่ างในแต่
ละพืน้ ทีท่ นั ทีเมือ่ ได้ รับแจ้ ง
3. ฝ่ ายซ่ อมบารุงต้ องจัดทาตารางแผนการตรวจสอบระบบแสงสว่ าง โดยมาตรการที่ต้อง
ทาเป็ นประจามีดงั นี้
• 3.1 สำรวจสภำพกำรทำงำนของหลอดไฟฟ้ ำ ให้ครอบคลุมทัว่ ทุกบริ เวณ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
56
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
ข้ อกาหนดเพือ่ ตรวจสอบและบารุงรักษา
• ข้ อกาหนดเพือ่ ตรวจสอบ และบารุงรักษา (ต่ อ)
• 3.2 ทำกำรวัดและบันทึกระดับควำมสว่ำงในพื้นที่ทำงำน ซึ่ งแสงสว่ำงมีผลต่อ
ประสิ ทธิภำพ กำรทำงำนอย่ำงสม่ำเสมอ และทุกครั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุ ง
ระบบแสงสว่ำง
• 3.3 ตรวจสอบอุปกรณ์แสงสว่ำง รวมทั้งฉนวนหุม้ สำยไฟฟ้ ำ ทุกครั้งที่มีกำรทำ
ควำมสะอำด และพิจำรณำเปลี่ยนตำมจำเป็ น
• 3.4 ทำควำมสะอำดดวงโคมอย่ำงน้อยปี ละครั้ง และทุกครั้งที่มีกำรซ่อมบำรุ ง
4. โรงงานต้ องมีการทาความสะอาดเพดาน ผนัง และพืน้ อย่ างน้ อยปี ละครั้ง และพิจารณา
ทาสี ใหม่ ตามสมควร
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
57
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
มาตรฐานที่เกี่ยวกับการใช้ พลังงานในระบบแสงสว่ าง
• พ.ร.บ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
– โรงงานควบคุม (หลังปี 2543) คือ โรงงานภายใต้ เลขทีบ่ ้ านเดียวกัน ทีต่ ิดตั้งหม้ อแปลง
ไฟฟ้ ามีขนาดรวมกันตั้งแต่ 1,175 KVA ขึน้ ไป หรือ ได้ ใช้ พลังงาน รวมกันทั้งหมดใน
1 ปี เทียบเท่ าพลังงานไฟฟ้ าตั้งแต่ 20 ล้ าน MJ ขึน้ ไป
• กาหนดมาตรฐานฯ การอนุรักษ์ พลังงานในอาคารควบคุม
1. ได้ ระดับความส่ องสว่ างสาหรับงานแต่ ละประเภทอย่างเพียงพอ
2. ใช้ กาลังไฟฟ้าไม่ เกินค่ าดังต่ อไปนี้
• 16 W/m2 สาหรับ สานักงาน โรงแรม สถานศึกษา และโรงพยาบาล
• 23 W/m2 สาหรับ ร้ านขายของ ซุปเปอร์ มาเก็ต หรือศูนย์ การค้ า
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
58
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
มาตรฐานที่เกี่ยวกับการใช้ พลังงานในระบบแสงสว่ าง
• ค่ าระดับความส่ องสว่ างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และ
ค่ ามาตรฐานของต่ างประเทศ (JIS, Grandjean)
ระดับความสว่ าง (Lux)
ลักษณะงาน
กระทรวงมหาดไทย JIS
Grandjean
งานที่ไม่ต้องละเอียด
20 และ 50
20 - 75
80 - 170
งานที่ละเอียดน้ อย
100
75 - 150
200 - 300
งานที่ละเอียดปานกลาง
200
150 - 300 500 - 700
งานที่ละเอียดสูง
300
300 - 750 500 - 700
งานที่ละเอียดเป็ นพิเศษ 500 และ 1,000 750 - 3,000 1,000 - 2,000
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
59
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
ข้ อกาหนดระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
มาตรฐานที่เกี่ยวกับการใช้ พลังงานในระบบแสงสว่ าง
• ค่ าความสามารถในการสะท้ อนแสง สาหรับสานักงาน และ
โรงงานอุตสาหกรรม IES ได้ เสนอแนะไว้ ดังนี ้
ผิวของวัสดุ
เพดาน
พนัง
โต๊ ะทางาน ฯลฯ
พื ้น
ความสามารถในการสะท้ อนแสง (%)
อาคารสานักงาน โรงงานอุตสาหกรรม
70 - 90
80 - 90
40 - 60
40 - 60
25 - 45
25 - 45
20 - 40
ไม่น้อยกว่า 20
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
60
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
Have a nice week.
Don't count the years - count the memories!
อย่านับวันคืนที่ลว่ งผ่าน
แต่จงนับความทรงจาที่ด.ี
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
61
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
THE END
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
62
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
63
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
64
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
65
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ
No!!!!!
การอนุรักษ์ พลังานไฟฟ้ าในระบบแสงสว่ าง
66