พลังงานหมุนเวียน

Download Report

Transcript พลังงานหมุนเวียน

พลังงานกับเศรษฐกิจไทย
พรายพล คุ้มทรัพย์
ตอนที่ 3
พลังงานหมุนเวียน
• พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) คือ
พลังงานที่ใช้ ได้ อย่ างไม่ มีวนั หมดสิ้น ประกอบด้ วย
พลังงานที่ได้ จากแหล่ งธรรมชาติ เช่ น พลังน้า
แสงอาทิตย์ คลืน่ ลม และความร้ อนใต้ พภิ พ รวมทั้ง
พลังงานชีวมวล (Biomass) ทีไ่ ด้ จากวัสดุจากพืช/
สั ตว์ และขยะ/น้าเสี ย
2
พลังงานหมุนเวียน
• พลังงานชีวมวล
– พลังงานหมุนเวียนทีใ่ ช้ กนั มากทีส่ ุ ดในประเทศ
ได้ จากวัสดุเกษตร เช่ น กาก/ชานอ้ อย แกลบ
เศษ/เปลือกไม้ ซังข้ าวโพด เหง้ ามันสาปะหลัง
(+ขยะ)
– ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงทั้งในการผลิตไฟฟ้าและให้ ความ
ร้ อน (ไอน้า อบแห้ ง)
3
พลังงานหมุนเวียน
• ข้ อดีคอื
–เป็ นพลังงานที่สะอาด เป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม
–ใช้ วตั ถุดบิ ในประเทศ ทาให้ ลดการพึง่ พาการ
นาเข้ าพลังงานจากต่ างประเทศ
4
พลังงานหมุนเวียน
• ข้ อดีคอื
– ส่ งเสริมการเกษตร
– สร้ างงานและรายได้ ในชนบท
– สามารถใช้ ได้ ในชนบททีอ่ ยู่ห่างไกล
– ศักยภาพสู ง เพราะ “ไม่ มีวนั หมดสิ้น”
5
พลังงานหมุนเวียน
• ข้ อจากัด
– ต้ นทุนในการผลิตยังสู งอยู่
– เทคโนโลยีการผลิตยังต้ องพัฒนาอีก เช่ น solar
cell กังหันลม และโรงไฟฟ้ าใช้ วสั ดุเกษตร
6
พลังงานหมุนเวียน
• ข้ อจากัด
– วัตถุดบิ มีปริมาณจากัด อยู่กระจัดกระจาย และมี
ปริมาณไม่ สม่าเสมอตลอดปี /วัน
– อาจทาให้ ลดการผลิตอาหาร (ในกรณีที่ใช้ พชื
อาหารเป็ นวัตถุดบิ ) อาหารอาจแพงขึน้
7
พลังงานหมุนเวียน
• อย่ างไรก็ตาม
– มีแนวโน้ มว่ าต้ นทุนจะลดลงและสามารถแข่ งได้
กับพลังงานฟอสซิล (ซึ่งแพงขึน้ มาก)
– การประหยัดจากขนาด ผลจากการเรียนรู้ รวมทั้ง
การพัฒนาและวิจัย
8
แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี
พ.ศ. 2551 – 2565 ของกระทรวง
พลังงาน
9
ความคุ้มค่ าทางเศรษฐกิจของพลังงานหมุนเวียน
เทียบกับการใช้ เชือ้ เพลิงฟอสซิล
• เงินลงทุนมักจะสูงกว่ า (เช่ น บาทต่ อ
เมกะวัตต์ )
• เชือ้ เพลิงราคาถูกกว่ ามาก บางชนิด
ไม่ ใช้ เชือ้ เพลิงเลย
• ค่ าดาเนินการอื่นๆ (เงินเดือน ค่ าจ้ าง
ค่ าบารุ งรักษา) ใกล้ เคียงกัน
10
ความคุ้มค่ าทางเศรษฐกิจของพลังงานหมุนเวียน
เทียบกับการใช้ เชือ้ เพลิงฟอสซิล
• อัตราการใช้ งานต่ากว่ า เช่ น แผง
โซลาร์ ใช้ ได้ เฉพาะกลางวันที่มีแดด
• อายุใช้ งานอาจสัน้ กว่ า
• ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมน้ อยกว่ า
11
มาตรการส่ งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ
• กาหนดราคาส่ วนเพิ่มรับซือ้ ไฟฟ้า
(adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย
SPP (10 - 90 MW) และ VSPP (<10 MW)
 เพื่อจ่ ายเป็ นรางวัลที่มีผลดีต่อ
สิ่งแวดล้ อม และยังมีต้นทุนสูงกว่ า
เชือ้ เพลิงฟอสซิล
12
มาตรการส่ งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ
• กาหนดราคาส่ วนเพิ่มรับซือ้ ไฟฟ้า
(adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย
SPP และ VSPP
 เพิ่มขึน้ จากราคารับซือ้ ปกติ (คือปกติ
หน่ วยละ 2.50 บาท)
13
มาตรการส่ งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ
• ลดภาษีกาไร (สิทธิประโยชน์ ด้านภาษี
จาก BOI) และให้ สินเชื่อดอกเบีย้ ต่า
• ถ่ ายทอดความรู้ เช่ น โครงการสาธิต
• สร้ างมาตรฐานเทคโนโลยี
14
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• การเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ พลังงานจะเกิดขึน้ ได้
โดย
– การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตและเทคโนโลยีการ
ผลิต เช่ น โรงไฟฟ้ าแบบความร้ อนร่ วม
(combined cycle)
15
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• การเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ พลังงานจะเกิดขึน้ ได้
โดย
– การปรับปรุงการใช้ และบารุงรักษาอุปกรณ์
เครื่องจักรยนต์ ทมี่ ีอยู่เดิม เช่ น การขับรถในอัตรา
ความเร็วที่เหมาะสม การล้ างเครื่องปรับอากาศ
เป็ นประจา
16
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• การเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ พลังงานจะเกิดขึน้ ได้
โดย
–การเปลีย่ นไปใช้ อปุ กรณ์ ทปี่ ระหยัดพลังงาน เช่ น
การใช้ หลอดไฟประหยัด เครื่องปรับอากาศ
เบอร์ 5
17
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• การเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ พลังงานจะเกิดขึน้ ได้
โดย
–การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจให้ มี energy
intensity ลดลง
18
กินผักแทนเนือ้ ก็ประหยัดพลังงานได้
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• การจัดหาข้ อมูลให้ แก่ ผู้ใช้ พลังงานเพือ่ เพิม่
ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงานจะช่ วยให้ ผู้ใช้ พลังงาน
นั้นเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ พลังงานได้ ดยี งิ่ ขึน้
• “ข้ อมูล” มีลกั ษณะของสิ นค้ าสาธารณะคือ ไม่ เป็ น
ปฏิปักษ์ ในการบริโภค
• ภาครัฐจึงจาเป็ นต้ องเข้ ามาจัดหาข้ อมูลให้
20
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• มาตรการสองกลุ่มใหญ่ ๆ
• มาตรการประหยัดพลังงานชั่วคราวแบบบังคับ เช่ น
การดับไฟถนน/ไฟโฆษณา การปิ ดปั๊ม/
ห้ างสรรพสิ นค้ า/สนามกอล์ ฟให้ เร็วขึน้ การรณรงค์
ใช้ รถยนต์ /เครื่องปรับอากาศอย่ างประหยัด
21
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• มาตรการอนุรักษ์ พลังงานทีม่ ีลกั ษณะต่ อเนื่องและ
ระยะยาว => แผนอนุรักษ์ พลังงาน ตาม พรบ. การ
ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 => มุ่งเน้ น
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงานในโรงงานและ
อาคาร
22
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• พรบ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
กาหนดให้ โรงงานและอาคารที่ใช้ พลังงานมาก
(เทียบเท่ าการใช้ ไฟฟ้ าเกินกว่ า 1 MW) เป็ น
“โรงงานควบคุม” และ “อาคารควบคุม”
23
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• ข้ อกาหนดสาหรับโรงงานและอาคารควบคุม
–จัดให้ มพี นักงานประจาเป็ นผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน
–บันทึกและรายงานข้ อมูลเกีย่ วกับการผลิตและการใช้
พลังงาน
–กาหนดเป้าหมายและแผนเพือ่ อนุรักษ์ พลังงาน รวมทั้ง
ตรวจสอบและวิเคราะห์ การปฏิบัตติ ามเป้าหมายและ
แผนดังกล่ าว
24
การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงาน
• พรบ. กาหนดให้ มี กองทุนเพือ่ ส่ งเสริมการอนุรักษ์
พลังงาน โดยสนับสนุนโรงงานและอาคารให้
ดาเนินการอนุรักษ์ พลังงานตามกฎหมาย และ
ช่ วยเหลือผู้ใช้ พลังงานกลุ่มอืน่ ๆ รวมไปถึงส่ งเสริม
การใช้ พลังงานหมุนเวียนทดแทนพลังงานฟอสซิล
ด้ วย
• เก็บเงินเข้ ากองทุนจากผู้ใช้ นา้ มัน
25
การประเมินความคุ้มค่ าการลงทุน
เพือ่ ประหยัดพลังงาน
• ตัวอย่ างการทดแทนหลอดไส้ ด้วยหลอดตะเกียบ
– หลอดไส้ 60 W ใช้ งานได้ นาน 1,000 ชั่วโมง ราคา
หลอดละ 16 บาท
– หลอดตะเกียบ 15 W ใช้ งานได้ นาน 8,000 ชั่วโมง
ราคาหลอดละ 530 บาท
– อัตราการใช้ งานวันละ 10 ชั่วโมง
– ค่ าไฟฟ้าหน่ วยละ 3.25 บาท
26
้ ลอดไฟตะเกียบแทนหลอดไส ้
การประเมินความคุม
้ ค่าการใชห
(หลอดตะเกียบ 15 W 2 หลอด ก ับหลอดไส ้ 60W 16 หลอด)
ปี ที่
0
1
2
3
4
เงินลงทุน
-804
ประหย ัดพล ังงาน
534
534
534
534
205
ร ักษาสงิ่ แวดล้อม
49
49
49
49
19
IRR
NPV10%
กระแสเงินสุทธิ
-221
583
583
583
224
260%
฿1,256
27
การประเมินความคุ้มค่ าการลงทุน
เพือ่ ประหยัดพลังงาน
• ผลการประเมิน
– การใช้ หลอดตะเกียบ ทดแทนหลอดไส้
คุ้มค่ ามาก
– แต่ ทาไมคนส่ วนใหญ่ ยงั ไม่ อยากลงทุน?
28