Fact = ข้อเท็จจริง

Download Report

Transcript Fact = ข้อเท็จจริง

บทที่ 1
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวข้ อบรรยาย:
1.1 บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2 ข้อมูลและสารสนเทศ
1.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.4 ประโยชน์ที่ได้จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1 บทบาทความสาคัญ
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
• การเปลีย่ นแปลงสั งคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เป็ นไปอย่ างรวดเร็ว
สั งคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จึงเปลีย่ นจากสั งคมเกษตรมาเป็ นสั งคมเมือง
และเกิดรวมกันเป็ นเมืองอุตสาหกรรมต่ าง ๆในช่ วง พ.ศ. 2523 เป็ นต้ นมา
ความเจริญก้าวหน้ าทางด้ านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารข้ อมูลเป็ นไปอย่ าง
รวดเร็ว
** การใช้ คอมพิวเตอร์ เพือ่ ประมวลผลข้ อมูลเป็ นไปอย่ างกว้ างขวาง มีการส่ งถ่ าย
ข้ อมูลระหว่ างกันเป็ นจานวนมาก เกิดการประยุกต์ งานด้ านต่ าง ๆ เช่ น ระบบ
การโอนถ่ ายเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต การจองตั๋ว การซื้อ
สิ นค้ า การติดต่ อส่ งข้ อมูล เช่ น โทรสาร (facsimile) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
(electronic mail)
1.2 ข้ อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริ งหรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งต่างๆ
เช่น คน สัตว์ สิ่ งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของ
สิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็ นระบบและ
ต่อเนื่อง
หากพิจารณาในแง่ขององค์การ ข้อมูลแบ่งเป็ น
1. ข้อมูลภายใน
• ข้อมูลการปฏิบตั ิงาน
ของฝ่ ายต่างๆ
งบประมาณ
ค่ าใช้ จ่าย
พัสดุคงคลัง
2. ข้อมูลภายนอก
• ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ
การดาเนินงานของหน่วยงานอื่น
ข้อมูลของบริ ษทั คู่แข่ง
หากพิจารณาในแง่ของการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลอาจจัดแบ่งเป็ น
1. ข้ อมูลเชิงจานวน (Numeric Data) เป็ นข้ อมูลที่
บันทึกเป็ นตัวเลข และอาจนามาใช้ คานวณได้ เช่ น
ข้ อมูลเงินเดือนข้ าราชการในสถาบันราชภัฏสวนดุสิต
หรือข้ อมูลนักท่ องเทีย่ วทีเ่ ข้ าใช้ บริการห้ องพักของ
โรงแรมดุสิตเพลสปี 2546
2. ข้ อมูลอักขระ (Character Data) หรือข้ อความ
(Text) เป็ นข้ อมูลทีเ่ ป็ นตัวอักษรและสั ญลักษณ์ ที่
แสดงออกมาได้ จัดเรียงลาดับได้ แต่ นาไปคานวณ
ไม่ ได้ เช่ น ชื่อข้ าราชการ และรหัสหน่ วยงาน เป็ นต้ น
3. ข้อมูลกราฟิ ก (Graphical Data) เป็ นข้อมูลที่เป็ น
จุดพิกดั ของรู ปหรื อแผนที่ที่ใช้ในการสร้างรู ปและ
แผนที่ ปัจจุบนั นิยมนามาใช้ในการออกแบบสิ นค้า
ผลิตภัณฑ์ แบบก่อสร้างอาคาร และแผนที่
4. ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image) เป็ นข้อมูลที่แสดง
ความเข้มและสี ของรู ปภาพหรื อเอกสารที่ใช้เครื่ อง
สแกนเนอร์บนั ทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูล
ประเภทนี้สามารถแสดงผ่านทางจอภาพ ย่อหรื อ
ขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนามาใช้คานวณ
หรื อดาเนินการอย่างอื่นได้
ข้ อมูลและสารสนเทศ
รู ป แสดงความสัมพันธ์ ของข้ อมูลและสารสนเทศ
ตัวอย่ างข้ อมูลและสารสนเทศ
รู ป ตัวอย่ างระเบียนประวัติของนักเรี ยน
ข้ อมูลและสารสนเทศ
รู ป การแจกแจงข้ อมูลปี เกิดของนักเรี ยนทั้งโรงเรี ยน
คุณสมบัตขิ องข้ อมูล
1) ความถูกต้ อง
2) ความรวดเร็วและเป็ นปัจจุบัน
3) ความสมบูรณ์
4) ความชัดเจนและกะทัดรัด
5) ความสอดคล้ อง
การทาข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้ อมูล
1.1 การเก็บรวบรวมข้ อมลู
1.2 การตรวจสอบข้ อมูล
2.การดาเนินการประมวลผลข้ อมูลให้ กลายเป็ นสารสนเทศ
2.1 การจัดแบ่ งกล่ มุ ข้ อมูล
2.2 การจัดเรี ยงข้ อมูล
2.3 การสรุปผล
2.4 การคานวณ
รหัสแทนข้ อมูลในคอมพิวเตอร์
รหัสแอสกี (ASCII) เป็ นมาตรฐานที่นิยมใช้กนั มากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วน
ใหญ่ เป็ นคาย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange
เป็ นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว
รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) เป็ นคาย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal
Interchange Code พัฒนาและใช้งานโดยบริ ษทั ไอบีเอ็ม เครื่ องคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมของไอบีเอ็มยังคงใช้รหัสนี้
การแทนข้ อมูลในหน่ วยความจา
หน่วยความจาหลักของคอมพิวเตอร์เป็ นที่เก็บข้อมูลและคาสัง่
ในขณะประมวลผล การเก็บข้อมูลในหน่วยความจาเป็ นการเก็บรหัสตัว
เลขฐานสอง ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลทั้งตัวเลขหรื อตัวอักษรจะ
ได้รับการแทนเป็ นตัวเลขฐานสอง แล้วเก็บไว้ในหน่วยความจา เช่น
ข้อความว่า BANGKOK เก็บในคอมพิวเตอร์จะแทนเป็ นรหัสเรี ยงกันไป
ดังนี้
การแทนข้ อมูลในหน่ วยความจา
ข้ อมูล
หน่ วยความจา
B
A
N
G
K
O
K
01000010
01000001
01001110
01000111
01001011
01001111
01001011
รู ป แสดงตัวอย่ างการแทนข้ อความในหน่ วยความจา
ข้ อแตกต่ างระหว่ าง สารสนเทศ (Information) กับ ข้ อมูล (Data)
Data = ข้ อมูล
• ข้ อเท็จจริง (Fact) หรือ สิ่ งทีถ่ ือหรือยอมรับว่ าเป็ นความจริง
• เป็ นตัวเลข ข้ อความ (ตัวอักษร) สั ญลักษณ์ ทีม่ นุษย์ กาหนดขึน้ เพือ่ ใช้ เป็ น
ตัวแทน (แสดง)
- ลักษณะของวัตถุ สิ่ งของ คน สัตว์ พืช เช่น โต๊ะ ต้นไม้
- การกระทา (พฤติกรรม) ของคน สัตว์ พืช เช่น กอด กัด
- ปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น สุ ริยปุ ราคา จันทคราส รุ ้งกินน้ า
- สัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น
• เป็ นสิ่ งทีม่ ีความหมายไม่ สมบูรณ์ ไม่ สามารถตีความได้ และยังไม่ สามารถ
นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้ ทันที
• เป็ นองค์ ประกอบพืน้ ฐานของสารสนเทศ
• ตัวอย่ าง:
ข้ อมูลผู้ป่วย (นา้ หนัก ส่ วนสู ง ความดันโลหิต อาการเจ็บป่ วย ฯลฯ)
นาย ก: นา้ หนัก 70 ความดันสูง 170 ปวดศีรษะบ่ อย ----(วิเคราะห์ )---->
สรุ ปเป็ นโรคความดันโลหิตสูง
ข้ อมูลพนักงานบริษัท (ชื่อ ทีอ่ ยู่ การศึกษา ประสบการณ์ การทางาน)
ข้ อมูลผู้ป่วยโรคเอดส์ (เพศ วัย สาเหตุโรค จานวนผู้ป่วย/คนตาย)
ข้ อมูลส่ วนแบ่ งตลาด PC ของบริษัทคอมพิวเตอร์ 3 แห่ ง.
Computers
Information = สารสนเทศ, สารนิเทศ
• ความหมาย “สารสนเทศ (Information)” [สารสนเทศศึกษา]
* ข้อมูล/ ข้อเท็จจริ ง ข่าวสาร ความรู้ ความคิด ความรู้สึก
จินตนาการ และประสบการณ์
* ผ่านกระบวนการ รวบรวม กลัน่ กรอง วิเคราะห์ ตีความ
เรี ยบเรี ยง แล้วทาการบันทึกในสื่ อรู ปแบบต่างๆ
* เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาส่วนบุคคล & สังคมต่อไป.
1.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้ วยเทคโนโลยีสาคัญ 2 สาขา คือ
• เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
• เทคโนโลยีส่ื อสารโทรคมนาคม
1.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูลต่าง ๆ และ
ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้
คอมพิวเตอร์น้ นั ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรี ยกว่า ฮาร์ดแวร์
(Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์น้ ีจะต้องทางานร่ วมกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์หรื อที่เรี ยกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software)
Information Technology
2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
•
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่ อสารรับ/ส่ ง
ข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็ นการส่ งของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรื อ
เครื่ องมือที่อยูห่ ่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ ขอ้ มูลหรื อ
สารสนเทศไปยังผูใ้ ช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว
ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซึ่งรู ปแบบของข้อมูลที่รับ/ส่ งอาจเป็ น
ตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสี ยง
(Voice)
ต้ นแหล่ งของข้ อความ
สื่ อกลาง
จุดรับข้ อความ
• แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่ อสารโทรคมนาคม
Information Technology
องค์ ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ฮาร์ ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่ วน คือ
• อุปกรณ์รับข้อมูล (Input)
• อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output)
• หน่วยประมวลผลกลาง
• หน่วยความจาหลัก
• หน่วยความจาสารอง
Information Technology
องค์ ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.ซอฟต์ แวร์ เป็ นองคประกอบที
ส
่ ำคัญและจำเป็ นมำก
์
ในการควบคุมการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถ
แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
• ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบ
คอมพิวเตอร์ และเป็ นตัวกลางระหว่างผูใ้ ช้กบั คอมพิวเตอร์หรื อ
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งเป็ น 3 ชนิดใหญ่ คือ
ซอฟต์แวร์
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
ระบบปฏิบตั ิกำร
ตัวแปลภำษำ
ยูทิลิต้ ี
2.ซอฟต์แวร์ประย ุกต์
ซอฟต์แวร์สำเร็จร ูป
ซอฟต์แวร์ใช้เฉพำะงำน
Information Technology
องค์ ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ซอฟต์ แวร์ ระบบ
- โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ใช้ควบคุมกำรทำงำนของ
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์พว่ งต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยม
ใช้กนั ในปั จจุบนั เช่น UNIX, DOS, Microsoft Windows
- โปรแกรมอรรถประโยชน์
ใช้ช่วยอำนวยควำมสะดวกแก่
ผูใ้ ช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในระหว่างการประมวลผลข้อมูลหรื อในระหว่างที่ใช้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมที่นิยมใช้กนั ในปั จจุบนั เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์
(Editor)
- โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในกำรแปลควำมหมำยของคำสั่ งที่
เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าใจและทางาน
ตามที่ผใู้ ช้ตอ้ งการ
Information Technology
องค์ ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
เป็ นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่ งซอฟต์แวร์
ประยุกต์น้ ีสามารถแบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ
- ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ เพือ่ งานทัว่ ไป เป็ นซอฟตแวร
ที
่ ร้ำงขึน
้ เพือ
่
์
์ ส
ใช้งานทัว่ ไปไม่เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอย่าง เช่น Word Processing,
Spreadsheet, Database Management เป็ นต้น
- ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ เฉพาะงาน เป็ นซอฟตแวร
ที
่ รำงขึ
น
้ เพือ
่
้
์
์ ส
ใช้ในธุรกิจเฉพาะ ตามแต่วตั ถุประสงค์ของการนาไปใช้
- ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ อนื่ ๆ เป็ นซอฟตแวร
ที
้ เพือ
่ ควำม
์
์ เ่ ขียนขึน
บันเทิง และอื่น ๆ นอกเหนือจากซอฟต์แวร์ประยุกต์สองชนิดข้างต้น ตัวอย่าง เช่น
Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์ เกมต่าง ๆ เป็ นต้น
กระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศ
เพื่อให้ได้สารสนเทศตามต้องการอย่างรวดเร็ วถูกต้อง แม่นยา
และมีคุณภาพ ดังแผนภาพต่อไปนี้คือ
การนาเข้ า
ข้ อมูล
การประมวลผล
ข้ อมูล
การแสดงผล
ข้ อมูล
Information Technology
คุณภาพของสารสนเทศ
• 1. ตรงกับความต้ องการ (Relevant)
• 2. น่ าเชื่อถือ (Reliable)
• 3. สารสนเทศนั้นเข้ มแข็ง (Robust)
Information Technology
นอกจากนั้นซวาสส์ (Zwass 1998 : 42)
กล่าวถึง คุณภาพของสารสนเทศ พิจารณาใน 3 มิติ ดังนี้
1. มิติด้านเวลา (Time Dimension)
1.1 สารสนเทศควรจะมีการเตรี ยมไว้ให้ทนั เวลา (Timeliness) กับความ
ต้องการของผูใ้ ช้
1.2 สารสนเทศควรจะต้องมีความทันสมัย หรื อเป็ นปัจจุบนั (Currency)
1.3 สารสนเทศควรจะต้องมีความถี่ (Frequency) หรื อบ่อย เท่าที่ผใู ้ ช้
ต้องการ
1.4 สารสนเทศควรมีเรื่ องเกี่ยวกับช่วงเวลา (Time Period) ตั้งแต่อดีต
ปัจจุบนั และอนาคต
Information Technology
2. มิติด้านเนือ้ หา (Content Dimension)
•
•
•
•
•
2.1 ความถูกต้อง ปราศจากข้อผิดพลาด
2.2 ตรงกับความต้องการใช้สารสนเทศ
2.3 สมบูรณ์ สิ่ งที่จาเป็ นจะต้องมีในสารสนเทศ
2.4 กะทัดรัด เฉพาะที่จาเป็ นเท่านั้น
2.5 ครอบคลุม (Scope) ทั้งด้านกว้างและด้านแคบ (ด้านลึก) หรื อมี
จุดเน้นทั้งภายในและภายนอก
• 2.6 มีความสามารถ/ศักยภาพ (Performance) ที่แสดงให้เห็นได้จากการ
วัดค่าได้ การบ่งบอกถึงการพัฒนา หรื อสามารถเพิ่มพูนทรัพยากร
Information Technology
3. มิตดิ ้ านรู ปแบบ (Form Dimension)
•
•
•
•
3.1 ชัดเจน ง่ายต่อการทาความเข้าใจ
3.2 มีท้ งั แบบรายละเอียด (Detail) และแบบสรุ ปย่อ (Summary)
3.3 มีการเรี ยบเรี ยง ตามลาดับ (Order)
3.4 การนาเสนอ (Presentation) ที่หลากหลาย เช่น พรรณนา/บรรยาย
ตัวเลข กราฟิ ก และอื่น ๆ
• 3.5 รู ปแบบของสื่ อ (Media) ประเภทต่าง ๆ เช่น กระดาษ วีดิทศั น์ ฯลฯ
Information Technology
ความสาคัญของสารสนเทศ
• 1. ทาให้ผบู ้ ริ โภคสารสนเทศเกิดความรู ้ (Knowledge)
• 2. เมื่อเรารู ้และเข้าใจในเรื่ องที่เกี่ยวข้องแล้ว
• 3. นอกจากนั้นสารสนเทศ ยังสามารถทาให้เราสามารถแก้ไขปัญหา
Information Technology
บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
1. ช่ วยลดความเสี่ ยงในการตัดสิ นใจ (Decision)
2. ช่ วย หรือสนับสนุนการจัดการ (Management)
3. ใช้ ทดแทนทรัพยากร (Resources)
4. ใช้ ในการกากับ ติดตาม (Monitoring)
5. สารสนเทศเป็ นช่ องทางโน้ มน้ าว หรือชักจูงใจ (Motivation)
6. สารสนเทศเป็ นองค์ ประกอบสาคัญของการศึกษา (Education)
7. สารสนเทศเป็ นองค์ ประกอบสาคัญทีส่ ่ งเสริมวัฒนธรรม และสั นทนาการ
8. สารสนเทศเป็ นสิ นค้ าและบริการ
9. สารสนเทศเป็ นทรัพยากรทีต่ ้ องลงทุน
Information Technology
นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้
เป็ น 6 รู ปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการเก็บข้ อมูล เช่น ดำวเทียมถำยภำพทำงอำกำศ,
่
กล้องดิจิทลั , กล้องถ่ายวีดีทศั น์, เครื่ องเอกซเรย์ ฯลฯ
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการบันทึกข้ อมูล จะเป็ นสื่ อบันทึกขอมู
ๆ เช่น
้ ลตำง
่
เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จานแสงหรื อจานเลเซอร์ , บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการประมวลผลข้ อมูล ไดแก
้ ่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร ์
ทั้งฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการแสดงผลข้ อมูล เช่น เครือ
่ งพิมพ,์ จอภาพ, พลอตเตอร์
ฯลฯ
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครือ
่ งถำยเอกสำร,
เครื่ อง
่
ถ่ายไมโครฟิ ล์ม
• เทคโนโลยีสาหรับถ่ ายทอดหรือสื่ อสารข้ อมูล ไดแก
้ ่ ระบบโทรคมนำคม
ต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจายเสี ยง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครื อข่าย
Information Technology
ปัจจัยที่ทาให้ เกิดความล้มเหลวในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
•
•
•
•
•
การขาดการวางแผนที่ดีพอ
การนาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน
การขาดการจัดการหรื อสนับสนุนจากผูบ้ ริ หารระดับสูง
ความกลัวการเปลี่ยนแปลง
การไม่ติดตามข่าวสารความรู ้ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ
•
โครงสรำงพื
น
้ ฐำนดำนเทคโนโลยี
สำรสนเทศ
้
้
ของประเทศกระจายไม่ทวั่ ถึง
Information Technology
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
•
•
•
•
•
•
การสร้ างเสริมคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
เสริมสร้ างความเท่ าเทียมในสั งคมและการกระจายโอกาส
สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่ งแวดล้อม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ
การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม
Information Technology
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
•
•
•
•
•
•
การสร้ างเสริมคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
เสริมสร้ างความเท่ าเทียมในสั งคมและการกระจายโอกาส
สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่ งแวดล้อม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ
การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาการของ
สารสนเทศ
การเรี ยนการสอนคอมพิวเตอร์ ในโรงเรี ยน
สั งคมเมือง
การใช้ คอมพิวเตอร์ ควบคุม
ระบบต่ างๆ ในอาคาร
การใฃ้ คอมพิวเตอร์
ทางานในสานักงาน
ตัวอย่ างเครื่ องวัดอัตโนมัติ
1.4 ประโยชน์ ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้สารสนเทศเกี่ยวข้องกับทุกคน การเรี ยนรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจาเป็ น ปัจจุบนั เราใช้จ่ายเงินซื้อสิ นค้าด้วย
บัตรเครดิต เบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็ม การโอนย้ายข้อมูลในลักษณะ
อิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวข้องกับเรามากขึ้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ น
เทคโนโลยีแห่งศตวรรษนี้ ที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูล
จานวนมากได้รับการบันทึกไว้ในรู ปแบบที่ให้เครื่ องจักรอ่านได้ เช่น
ประโยชน์ ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผ่ นซี ดีรอม แผ่ นบันทึก
การใช้ โปรแกรมไมโครซอฟต์ แอกเซสเก็บข้ อมูล
การใช้ สารสนเทศบนเครื อข่ าย
Information Technology
ประโยชน์ ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้ านประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
• ระบบสารสนเทศทาให้การปฏิบตั ิงานมีความรวดเร็ วมากขึ้น
• ช่วยลดต้นทุน
• ช่วยให้การติดต่อสื่ อสารเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว
• ระบบสารสนเทศช่วยทาให้การประสานงานระหว่างฝ่ ายต่าง ๆ เป็ นไปได้
ด้วยดี
Information Technology
ประโยชน์ ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้ านประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
• ระบบสารสนเทศทาให้การปฏิบตั ิงานมีความรวดเร็ วมากขึ้น
• ช่วยลดต้นทุน
• ช่วยให้การติดต่อสื่ อสารเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว
• ระบบสารสนเทศช่วยทาให้การประสานงานระหว่างฝ่ ายต่าง ๆ เป็ นไปได้
ด้วยดี
Information Technology
ประโยชน์ ได้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
• ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสิ นใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบ
สาหรับผูบ้ ริ หาร
• ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสิ นค้า/บริ การที่เหมาะสมระบบ
สารสนเทศจะช่วยทาให้องค์การทราบถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับต้นทุน
• ระบบสารสนเทศช่วยปรับปรุ งคุณภาพของสิ นค้า/บริ การให้ดีข้ ึนระบบ
สารสนเทศทาให้การติดต่อระหว่างหน่วยงานและลูกค้า
• ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน (Competitive Advantage)
• คุณภาพชีวิตการทางาน (Quality o f Working Life
END