กลุ่มงานเลขานุการกรม (กล.) กลุ่มงานคลัง (กค.) กลุ่มแผนงาน (กผ.) กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (กพ.) กลุ่มส่ งเสริมปฏิบัติการ (กป.) กลุ่มการเจ้ าหน้ าที่ (กจ.) หน่ วยศึกษานิเทศก์ (ศน.) ศูนย์ เทคโนโลยีทางการศึกษา (ศท.) ศูนย์ วทิ ยาศาตร์ เพือ่ การศึกษา (ศว.) หน่ วยตรวจสอบภายใน.

Download Report

Transcript กลุ่มงานเลขานุการกรม (กล.) กลุ่มงานคลัง (กค.) กลุ่มแผนงาน (กผ.) กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (กพ.) กลุ่มส่ งเสริมปฏิบัติการ (กป.) กลุ่มการเจ้ าหน้ าที่ (กจ.) หน่ วยศึกษานิเทศก์ (ศน.) ศูนย์ เทคโนโลยีทางการศึกษา (ศท.) ศูนย์ วทิ ยาศาตร์ เพือ่ การศึกษา (ศว.) หน่ วยตรวจสอบภายใน.

กลุ่มงานเลขานุการกรม (กล.)
กลุ่มงานคลัง (กค.)
กลุ่มแผนงาน (กผ.)
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (กพ.)
กลุ่มส่ งเสริมปฏิบัติการ (กป.)
กลุ่มการเจ้ าหน้ าที่ (กจ.)
หน่ วยศึกษานิเทศก์ (ศน.)
ศูนย์ เทคโนโลยีทางการศึกษา (ศท.)
ศูนย์ วทิ ยาศาตร์ เพือ่ การศึกษา (ศว.)
หน่ วยตรวจสอบภายใน (ตสน.)
หน่ วยงานและสถานศึกษาสั งกัดสานักงาน กศน.
สถาบันส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการเรี ยน (สพร.)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้ าหมายพิเศษ (ศกพ.)
สถาบันการศึกษาทางไกล (สทก.)
สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิ รินธร (สธ.)
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาค (สถาบัน กศน.ภาค)
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุ งเทพมหานคร (สถาบัน กศน.กทม.)
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) (ศกภ.)
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ (ศฝก.)
ศูนย์ฝึกวิชาชีพจังหวัดกาญจนบุรี "สามสงฆ์ทรงพระคุณ" (ศฝส.)
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริ เวณชายแดน (ศฝช.)
ศูนย์วทิ ยาศาตร์เพื่อการศึกษา รังสิ ต (ศว.รังสิ ต)
ศูนย์วทิ ยาศาตร์เพื่อการศึกษา.....(ศว......)
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์และวัฒนาธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด (ศว.ร้อยเอ็ด)
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ (อวจ.)
สานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุ งเทพมหานคร (สานักงาน กศน.กทม.)
สานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (สานักงาน กศน.จังหวัด)
ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต (กศน.เขต)
 ศู นย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ (กศน.อาเภอ)

รอง ผอ.กศน. จังหวัด/กทม.(1-3)
ผอ.กศน. จังหวัด/กทม.
กลุม่ สอบภายใน(1-3)
คณะกรรมการ
กศน.จังหวัด/
กทม.
กลุ่มอำนวยกำร
(5- 7 คน)
กลุ่มยุทธศำสตร์ และ
กำรพัฒนำ (3-5 คน)
กลุ่มส่ งเสริมกำรศึกษำ
นอกระบบ (1-3 คน)
กลุ่มส่ งเสริมกำรศึกษำ
ตำมอัธยำศัย (1-3 คน)
กลุ่มส่ งเสริมภำคี
เครือข่ ำยและกิจกำร
พิเศษ (1-3 คน)
กลุม่ นิเทศติดตาม
และประเมินผลการจัด
การศึกษา (4-6 คน)
- กลุ่มงาน
บริหารทั่วไป
- กลุ่มงานยุทธศาสตร์
และแผนงาน
- กลุ่มงานการศึกษา
พืน้ ฐาน
- กลุ่มงานส่ งเสริมและ
พัฒนาแหล่ งเรียนรู้
- กลุ่มงานส่ งเสริมภาคี
เครือข่ าย
- กลุ่มงาน
บริหารบุคลากร
- กลุ่มงานข้ อมูล
สารสนเทศและรายงาน
-กลุ่มงานส่ งเสริมการ
ศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ
- กลุ่มงานส่ งเสริม
นิทรรศการและเผยแพร่
- กลุ่มงานกิจการพิเศษ
- กลุ่มงานบริหาร
การเงินและ
สินทรัพย์
- กลุ่มงานงบประมาณ
และระดมทรัพยากร
- กลุ่มงานส่ งเสริมการ
เทียบโอนการศึกษา/งาน
เทียบระดับการศึกษา
- กลุ่มงานนิเทศ
ติดตามและพัฒนา
ระบบบริหารและ
กระบวนการเรียนรู้
- กลุ่มงานส่ งเสริม
และพัฒนาระบบ
ประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
- กลุ่มงานวัดผลและ
ประเมินผลการศึกษา
-กลุ่มงานส่ งเสริม
และพัฒนาหลักสูตร
สื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทางการ
ศึกษา
- กลุ่มงาน
ประชาสัมพันธ์
- กลุ่มงานพัฒนา
ยุทธศาสตร์
หมายเหตุ ส.กศน.ขนาดเล็ก อัตรากาลัง = 18
ส.กศน.ขนาดกลาง อัตรากาลัง = 26
ส.กศน.ขนาดใหญ่ อัตรากาลัง = 34
- กลุ่มงานศูนย์ ให้
คาปรึกษาแนะนา
(Advice Center)
สถำนศึกษำ
กศน.อำเภอ/เขต
๑. เป็ นหน่ วยงานธุรการของคณะกรรมการส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/กรุ งเทพมหานคร
 ๒. จัดทายุทธศาสตร์ แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัด/กรุ งเทพมหานคร ให้ สอดคล้ องกับนโยบาย
มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยและความต้ องการของท้ องถิ่นและชุ มชน
 ๓. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้ อมูลสารสนเทศ ด้ านการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
 ๔. วิเคราะห์ จัดตั้ง จัดสรร เงินงบประมาณให้ แก่ สถานศึกษาและภาคีเครื อข่ าย
ทีจ่ ัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย







๕. ประสาน ส่ งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ของสถานศึกษาและภาคีเครือข่ าย
๖. จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบตามที่กฎหมายกาหนด
๗. ส่ งเสริม สนับสนุนการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์
และการเทียบระดับการศึกษา
๘. พัฒนาหลักสู ตร สื่ อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาร่ วมกับสถานศึกษาและ
ภาคีเครือข่ าย
๙. ระดมทรัพยากรด้ านต่ างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพือ่ การมีส่วนร่ วมในการส่ งเสริม
สนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๐. ส่ งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๑. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยและภาคีเครือข่ าย
 ๑๒.ส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
 งานนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้ างความมั่นคงของชาติ
 ๑๓. กากับ ดูแล นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและภาคีเครือข่ าย
 ๑๔. ปฏิบต
ั ิงานอืน่ ตามทีไ่ ด้ รับมอบหมาย








๑. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๒. ส่ งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ าย เพือ่ จัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
๓. จัด ส่ งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาตามโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ
งานนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้ างความมัน่ คงของชาติ
๔. จัด ส่ งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่ งเรียนรู้ และภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น
๕. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสู ตร สื่ อ กระบวนการเรียนรู้ และมาตรฐาน
การศึกษานอกระบบ
๖. ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ และ
เทียบระดับการศึกษา






๗. กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการ
ดาเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๘. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ
ภาคีเครือข่ าย
๙. ระดมทรัพยากรเพือ่ ใช้ ในการส่ งเสริม สนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษานอก
ระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๐. ดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้ สอดคล้ องกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ
ทีก่ าหนด
๑๑. ปฏิบัติงานอืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 125 ตอนที่ 41 ก. เมื่อ
วันที่ 3 มีนาคม 2551
 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2551
 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนปรับเปลี่ยนเป็ น
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อั ธยาศัย
 กาหนดให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอั ธยาศัยจังหวัดทุกจังหวัดรวมทั้ง
กรุงเทพมหานคร
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
ว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมีหลักการจัดการศึกษาให้เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับ
ประชาชน และให้ทุกภาคส่ วนของสังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาอาจ
จัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาตามอัธยาศัย รู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่ง
หรื อทั้งสามรู ปแบบก็ได้ โดยเป็ นการผสมผสานระหว่างการศึกษาทั้งสามรู ปแบบ เพื่อให้
สามารถพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวติ ของประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากกลไกและ
การดาเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยยังไม่มีกฎหมาย
เฉพาะรองรับดังนั้น
เพื่อให้เป็ นไปตามแนวทางและเป้ าหมายดังกล่าว สมควรให้มีกฎหมายเพื่อส่ งเสริ ม
และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็ นไปอย่างมีระบบ
และต่อเนื่อง มีการบริ หารและจัดการศึกษาที่มีประสิ ทธิภาพเพื่อทาให้ประชาชนได้มีโอกาส
เรี ยนรู้ และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตนได้ตามศักยภาพ เป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู้และภูมิ
ปั ญญา อันจะมีผลในการพัฒนากาลังคนและประเทศชาติให้เจริ ญก้าวหน้าต่อไป จึงจาเป็ นต้อง
ตราพระราชบัญญัติน้ ี
มาตรา
1
มาตรา 1
พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า
“พระราชบัญญัติส่งเสริ มการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา
1
มาตรา 4
“การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า กิจกรรมการศึกษาที่มีกลุ่มเป้ าหมาย
ผูร้ ับบริ การและวัตถุประสงค์ของการเรี ยนรู้ที่ชดั เจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัด
และระยะเวลาเรี ยนหรื อฝึ กอบรมที่ยดื หยุน่ และหลากหลายตามสภาพความต้องการ
และศักยภาพในการเรี ยนรู ้ของกลุ่มเป้ าหมายนั้นและมีวธิ ี การวัดผลและประเมินผล
การเรี ยนรู้ที่มีมาตรฐานเพื่อรับคุณวุฒิทางการศึกษา หรื อเพื่อจัดระดับผลการเรี ยนรู้
มาตรา
1
มาตรา 4
“การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า กิจกรรมการเรี ยนรู้ในวิถีชีวติ ประจาวันของบุคคล
ซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรี ยนรู ้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส
ความพร้อม และศักยภาพในการเรี ยนรู้ของแต่ละบุคคล
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาที่จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ในสานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
“ภาคีเครื อข่าย” หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นองค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
และองค์กรอื่นที่มีวตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา
1
มาตรา 5
เพื่อประโยชน์ในการส่ งเสริ มและสนับสนุนการศึกษา ให้บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
โดยให้บุคคลซึ่งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแล้วหรื อไม่กต็ ามมีสิทธิได้รับการศึกษาในรู ปแบบ
การศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาตามอัธยาศัยได้ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามกระบวนการและ
การดาเนินการที่ได้บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี
มาตรา
1
มาตรา 6 - 8
การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ดาเนินการเพือ่
กลุม่ เป้ าหมาย ตามทีก่ าหนด
Text
Text
ให้กระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมและสนับสนุน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
มาตรา 9
มาตรา 10
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขในการ
ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 13
จานวนอนุกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธกี ารได้
มาของประธานและอนุกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง
และการพ้นจากตาแหน่ง รวมทัง้ อานาจหน้าทีข่ อง
คณะอนุกรรมการภาคีเครือข่าย
พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
มาตรา 14
มาตรา ๑๔ ให้มีสานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยขึ้นในสานักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงศึกษาธิ การ เรี ยกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน.”
โดยมีเลขาธิ การสานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย เรี ยกโดยย่อว่า “เลขาธิการ
กศน.” ซึ่ งมีฐานะเป็ นอธิบดีและเป็ นผูบ้ งั คับบัญชา
ข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบการ
ดาเนินงานของสานักงาน
มาตรา 15
คุณสมบัติ วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง
ของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ และการประชุมคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดทุกจังหวัด
รวมทัง้ กรุงเทพมหานคร
มาตรา 18
การจัดตัง้ ยุบ เลิก รวม การกาหนดบทบาท
อานาจและหน้าทีข่ องสถานศึกษา
มาตรา 19
จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธกี ารได้มา
ของประธานและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง การพ้น
จากตาแหน่ง รวมทัง้ อานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ
สถานศึกษา
มาตรา 20
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพ
ภายในสาหรับสถานศึกษา
มาตรา 21 – 22
ให้สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ปรับเปลีย่ นภารกิจมาเป็ นสานักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
1
2
นายประเสริฐ บุญเรือง ดารงตาแหน่งเลขาธิการ กศน.
รมว.ศธ.ประกาศให้สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดทุกจังหวัดรวมทัง้ กรุงเทพมหานคร
เป็ นหน่วยงานการศึกษา
3
คาสัง่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มอบอานาจเลขาธิการ กศน. ปฏิบตั ริ าชการแทนกระทรวงศึกษาธิการ
มอบอานาจผอ.สนง.กศน.จังหวัดรวมทัง้ กรุงเทพมหานคร
ปฏิบตั ริ าชการแทนกระทรวงศึกษาธิการ
ให้บคุ ลากรในหน่ วยงานที่ปฏิบตั งิ านในศนจ.ปฏิบตั หิ น้าที่ใน
สนง.กศน.จังหวัดอีกหน้าที่หนึ่ งจนกว่า กคศ.จะอนุ มตั ิ
โครงสร้างกรอบอัตรากาลังในสานักงาน กศน.จังหวัด
มาตรา 23
รายชื่อสถานศึกษาทีม่ คี วามพร้ อมในการปฏิบัติ
ภารกิจของสถานศึกษาตามทีก่ าหนดใน
พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
การปรับเปลี่ยนสถานภาพ (สถานศึกษาทั้งหมด 1,040 แห่ง)
เป็ นหน่ วยงานการศึกษา จานวน 76 แห่ ง
(สานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
รวมทั้งกรุ งเทพมหานคร)
การปรับเปลี่ยนสถานภาพ
เป็ นสถานศึกษา จานวน 964 แห่ ง
สถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด จานวน 877 แห่ง
สถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร จานวน 50 แห่ง
สถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 37 แห่ง
การเปลี่ยนชื่ อสถานศึกษาปั จจุบัน เป็ นชื่ อสถานศึกษาและหน่ วยงานใหม่
ตาม พ.ร.บ.ส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551
เดิม
(สถานศึกษา 1,040 แห่ง)
ใหม่
(หน่วยงานการศึกษา 76 แห่ง/สถานศึกษา 964 แห่ง)
ชื่อย่อ
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
จังหวัด 75 แห่ง
สานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด 75 แห่ ง
สานักงาน
กศน. จังหวัด
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กรุ งเทพมหานคร 1
สานักงานส่งเสริ มการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
กรุ งเทพมหานคร 1 แห่ง
สานักงาน
กศน. กทม.
ศูนย์บริ การการศึกษานอก
โรงเรี ยนอาเภอ 877 แห่ง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอ 877 แห่ง
กศน.อาเภอ สานักงาน
กศน.จังหวัด
ศูนย์บริ การการศึกษานอก
โรงเรี ยนเขต 50 แห่ง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยเขต 50 แห่ง
กศน.เขต
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กาญจนาภิเษก(วิทยาลัยในวัง)
1 แห่ง
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนา
ภิเษก (วิทยาลัยในวัง) 1 แห่ง
ศกภ.
สถานศึกษา
สังกัด
หมาย
เหตุ
หน่วยงา
น
การศึกษ
าหน่วยงา
น
การศึกษ
า
สถานศึกษา
สานักงาน
กศน.กทม.
สถานศึกษา
สานักงาน
กศน.
สถานศึกษ
า
การเปลีย่ นชื่อสถานศึกษาปัจจบุ นั เป็ นชื่อสถานศึกษาและหน่ วยงานใหม่
ตาม พ.ร.บ.ส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551
เดิม
(สถานศึกษา 1,040 แห่ง)
ใหม่
(หน่วยงานการศึกษา 76 แห่ง/สถานศึกษา 964 แห่ง)
ชื่อย่อ
สถานศึกษา
สังกัด
หมายเหตุ
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อัน วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่ อง
เนื่องมาจากพระราชดาริ 1 แห่ง
มาจากพระราชดาริ 1 แห่ง
ศฝก.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทย ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริ เวณ
บริ เวณชายแดนจังหวัด 7 แห่ง
ชายแดน 7 แห่ง
ศฝช.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ศูนย์ฝึกวิชาชีพจังหวัดกาญจนบุรี
“สามสงฆ์ทรงพระคุณ” 1 แห่ง
ศูนย์ฝึกวิชาชีพจังหวัดกาญจนบุรี “สามสงฆ์ ศฝส.
ทรงพระคุณ” 1 แห่ง
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
จังหวัด 12 แห่ง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 12 แห่ง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
รังสิ ต 1 แห่ง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิ ต
1 แห่ง
ศว.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ศว.รังสิ ต สานักงาน กศน. สถานศึกษา
การเปลี
่ยนชืย่ ่ อนชืสถานศึ
กษาปั
ชื่ ออ่ สถานศึ
วยงานใหม่
การเปลี
อ่ สถานศึ
กษาปัจจุจบจุบันนั เป็เป็นนชื
สถานศึกกษาและหน่
ษาและหน่วยงานใหม่
ตามตาม
พ.ร.บ.ส่
งเสริงเสริ
มการศึ
กษานอกระบบและการศึ
ยาศัยย พ.ศ.
พ.ร.บ.ส่
มการศึ
กษานอกระบบและการศึกกษาตามอั
ษาตามอัธธยาศั
พ.ศ. 2551
2551
เดิม
(สถานศึกษา 1,040 แห่ง)
ใหม่
(หน่วยงานการศึกษา 76 แห่ง/สถานศึกษา 964 แห่ง)
ชื่อย่อ
สถานศึกษา
สังกัด
หมายเหตุ
ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อ
การศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด 1 แห่ง
ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อ
การศึกษาร้อยเอ็ด 1 แห่ง
ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษานอกโรงเรี ยน
กลุ่มเป้ าหมายพิเศษ 1 แห่ง
ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยสาหรับคนไทย
ในต่างประเทศ 1 แห่ง
ศกต.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
สถาบันการศึกษาทางไกล 1 แห่ง
สถาบันการศึกษาทางไกล 1 แห่ง
สทก.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
สถาบันการศึกษาและพัฒนา
ต่อเนื่องสิ รินธร 1 แห่ง
สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิ ริน
ธร 1 แห่ง
สธ.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กรุ งเทพมหานคร 2
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาอัธยาศัยกรุ งเทพมหานคร 1
1 แห่ง
สถาบัน กศน.
กทม.1
ศว.ร้อยเอ็ด สานักงาน กศน.
สถานศึกษา
สถานศึกษา
การเปลี่ยนชื่ อสถานศึกษาปั จจุบัน เป็ นชื่ อสถานศึกษาและหน่ วยงานใหม่
ตาม พ.ร.บ.ส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551
ปั จจุบนั
(สถานศึกษา 1,040 แห่ง)
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กรุ งเทพมหานคร 3
ใหม่
(หน่วยงานการศึกษา 76 แห่ง/สถานศึกษา 964 แห่ง)
ชื่อย่อ
สถานศึกษา
สังกัด
หมายเหตุ
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาอัธยาศัยกรุ งเทพมหานคร 2
1 แห่ง
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาอัธยาศัยกรุ งเทพมหานคร 3
1 แห่ง
สถาบัน กศน.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
กทม. 2
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนภาค 5 แห่ง
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยภาค 5 แห่ง
สถาบัน กศน. สานักงาน กศน. สถานศึกษา
ภาค
ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษาตามอัธยาศัย
1 แห่ง
สถาบันส่งเสริ มและพัฒนานวัตกรรม
การเรี ยนรู้ 1 แห่ง
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน
กรุ งเทพมหานคร 4
อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ กว้า
ณ กว้ากอ จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 1 แห่ง กอ จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 1 แห่ง
สถาบัน กศน. สานักงาน กศน. สถานศึกษา
กทม. 3
สพร.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
อวจ.
สานักงาน กศน. สถานศึกษา
มาตรา 24
ให้ นากฎกระทรวง ข้ อบังคับ ระเบียบ ประกาศและคาสั่ ง
เกีย่ วกับการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่ใช้ บังคับอยู่ในวันที่
พระราชบัญญัตนิ ีใ้ ช้ บังคับ มาใช้ บังคับโดยอนุโลมจนกว่ าจะ
ได้ มีกฎกระทรวง ข้ อบังคับ ระเบียบ และประกาศที่ออกตาม
พระราชบัญญัตนิ ี้ ทั้งนี้ ต้ องไม่ เกินสองปี นับแต่ วันที่
พระราชบัญญัตนิ ีใ้ ช้ บังคับ
มาตรา 25
ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ีและ
มีอานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี

วิสัยทัศน์
คนไทยได้ รับการศึกษาตลอดชีวติ ทีม่ ีคุณภาพ อย่ างทัว่ ถึงและเท่ าเทียมกัน
เพือ่ ให้ เกิดสั งคมแห่ งการเรียนรู้





1. จัดและส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ มคี ุณภาพ
2. ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของภาคีเครือข่ ายทั้งในและต่ างประเทศในการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3. ส่ งเสริมชุ มชนให้ พฒ
ั นากระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพือ่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
4. พัฒนาและส่ งเสริมการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อสาร มาใช้ ให้ เกิดประสิ ทธิภาพต่ อการศึกษาตลอดชีวิต
5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการเพือ่ ให้ สามารถดาเนินงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
1. คนไทยได้ รับโอกาสทางการศึกษาอย่ างทัว่ ถึง ครอบคลุม และเป็ นธรรม
 2. ผู้เรียน และผู้รับบริการ ได้ รับการศึกษาทีม
่ คี ุณภาพ ได้ มาตรฐาน และคุณลักษณะทีพ่ งึ่ ประสงค์
เพือ่ นาไปสู่ ความเป็ นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
 3. ภาคีเครือข่ ายเข้ ามาร่ วมดาเนินการจัดการศึกษาตลอดชี วต
ิ อย่ างกว้ างขวาง
 4. ชุ มชนมีการจัดการความรู้ และกระบวนการเรียนรู้ เพือ่ สร้ างสั งคมแห่ งภูมป
ิ ัญญาและการเรียนรู้
 5. แหล่ งการเรียนรู้ มอี ยู่อย่ างทัว่ ถึงและได้ รับการพัฒนาเพือ่ เพิม
่ โอกาส และช่ องทางการศึกษาและ
การเรียนรู้ตลอดชีวติ ทีม่ คี ุณภาพและสนองตอบความต้ องการของประชาชน
 6. หน่ วยงานและสถานศึกษานาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาใช้ ในการบริหารองค์ กร และจัดบริการการเรียนรู้แก่ ประชาชนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
 7. หน่ วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการทีม
่ คี ุณภาพ สามารถจัดบริการตอบสนองกับ
สภาพและความต้ องการของผู้เรียนและผู้รับบริการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
 8. บุคคลากรมีสมรรถนะสู งขึน
้ ในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


เชิงปริมาณ
1. ร้ อยละของคนไทยกลุ่มต่ าง ๆ ทีไ่ ด้ รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอย่ างทัว่ ถึง ครอบคลุม และเป็ นธรรม
1.1 การพัฒนาคุณภาพ
1) ผู้ด้อยโอกาส
2) ผู้พกิ ารหรือทุพพลภาพ
3) ผู้สูงอายุ
4) ชนต่ างวัฒนธรรม
5) ประชาชนทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจใฝ่ เรียนรู้
1.2 การพัฒนาความสามารถในเชิงการแข่ งขันทางเศรษฐกิจ
1) ผู้อยู่ในวัยแรงงานทีอ่ ยู่นอกระบบ
2) ผู้อยู่ในวัยแรงงานทีอ่ ยู่ในระบบ
 2. ร้ อยละของผู้เรียนและผู้รับบริการทีม
่ ีผลสั มฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการ
เรียนรู้ของแต่ ละหลักสู ตร หรือกิจกรรมการเรียนรู้ และมีคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ เพือ่ นาไปสู่ ความเป็ นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
 3. ร้ อยละของผู้รับบริการทีม
่ ีความพึงพอใจต่ อการใช้ บริการของ
หน่ วยงานและสถานศึกษา
 4. ร้ อยละของภาคีเครือข่ ายทีเ่ พิม
่ ขึน้ ในการเข้ ามามีส่วนร่ วมดาเนินการ
จัดการศึกษาตลอดชีวติ
 5. ร้ อยละของชุ มชนทีม
่ ีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้ อนั
เป็ นผลเนื่องมาจากการเข้ าร่ วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย






6. ร้ อยละของชุ มชนทีม่ แี หล่ งการเรียนรู้ ทพี่ ร้ อมในการจัดและสนับสนุนการศึกษา
ตลอดชีวติ
7. ร้ อยละของหน่ วยงานและสถานศึกษาที่นาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มาใช้ ในการบริหารองค์ กร และจัดบริการ
การเรียนรู้ แก่ ประชาชน
8. ร้ อยละของผู้รับบริการทีม่ ีความพึงพอใจต่ อการใช้ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ของหน่ วยงานและสถานศึกษา
9. ร้ อยละของบุคลากรทีไ่ ด้ รับการพัฒนาสมรรถนะในการดาเนินงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
10. ร้ อยละของหน่ วยงานและสถานศึกษาทีส่ ามารถนาแผนการนิเทศไปสู่
การฏิบัตไิ ด้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ
11. ร้ อยละของหน่ วยงานและสถานศึกษาที่มกี ารจัดการความรู้ อย่ างเป็ นระบบ
ต่ อเนื่อง และสามารถนาไปพัฒนาการบริหารจัดการองค์ กรได้ อย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
คนไทยกลุ่มต่ าง ๆ ทีไ่ ด้ รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมี
คุณภาพชีวติ ทีด่ ี
ผู้เรียนและผู้รับบริการทีม่ ีผลสั มฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ ของแต่ ละหลักสู ตร
หรือกิจกรรมการเรียนรู้ และมีศักยภาพทีพ่ งึ ประสงค์
ผู้รับบริการทีม่ คี วามพึงพอใจต่ อการใช้ บริการของหน่ วยงาน และสถานศึกษา
ภาคส่ วนต่ าง ๆ ของสั งคมทีเ่ ข้ ามามีส่วนร่ วมเป็ นภาคีเครือข่ ายในการจัดกิจกรรม
การศึกษาตลอดชีวิต
ชุ มชนทีเ่ ข้ าร่ วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีการจัดการ
ความรู้ และการะบวนการเรียนรู้
ชุ มชนทีม่ แี หล่ งการเรียนรู้ ทพี่ ร้ อมในการจัดสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต
7. หน่ วยงานและสถานศึกษาที่มกี ารนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อสาร มาใช้ ในการบริหารองค์ กร และจัดบริการการเรียนรู้ แก่
ประชาชน
8. ผู้รับบริการทีม่ คี วามพึงพอใจต่ อการใช้ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่ อสาร ของหน่ วยงานและสถานศึกษา
9. บุคลากรทีไ่ ด้ รับการพัฒนาสมรรถนะในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
10. หน่ วยงานและสถานศึกษาทีม่ กี ารนิเทศทีม่ ีคุณภาพ
11. หน่ วยงานและสถานศึกษาทีม่ กี ารจัดการความรู้ อย่ างเป็ นระบบต่ อเนื่อง และสามารถ
นาไปพัฒนาการบริหารจัดการองค์ กรได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
นโยบายสาคัญ
1. เร่ งสร้ างและพัฒนา กศน.ตาบลหรื อแขวง : แหล่ งเรี ยนรู้ ชุ มชนให้ เป็ น
ศูนย์ กลางการเรี ยนรู้ ตลอดชี วิตในชุมชน
2. เร่ งรั ดดาเนินงานตามนโยบายการขับเคลื่อนการปฏิ รูปการศึกษาในทศวรรษ
ที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561)
3. เร่ งรั ดจัดการศึกษาโดยไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย 15 ปี อย่ างมีคุณภาพ เพื่ อเพิ่มโอกาส
ทางการศึกษาให้ กับประชาชน
นโยบายสาคัญ (ต่ อ)
4. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาการศึกษาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
5. ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้ ทุกภาคส่ วนเข้ ามามีส่วนร่ วมเป็ นภาคี เ ครื อข่ ายใน
การจั ดส่ งเสริ ม และสนับสนุนการจั ดการศึ กษาตลอดชี วิตให้ ครอบคลุมพื น้ ที่ ทุกระดับ
อย่ างต่ อเนื่องและเข้ มแข็ง
6. พั ฒ นาบุ ค ลากรและการบริ หารจั ด การ เพื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านที่ มี
ประสิ ทธิ ภาพของ กศน.ตาบล/แขวง
นโยบายตามภารกิจ
1. นโยบายด้ านการศึกษานอกระบบ
2. นโยบายการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นโยบายด้ านการส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ ของชุมชน
4. นโยบายด้ านการสนับสนุนโครงการพิเศษ
5. นโยบายด้ านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
6. นโยบายด้ านการบริ หารจัดการ
เทคนิคการนานโยบายสู่ การปฏิบัติ
1. ใช้ แผนยุทธศาสตร์ เชิ งรุ กทุกกลุ่มเป้ าหมาย เน้ นบูรณาการ ระดมสรรพกาลัง
2. ตอบสนองยุทธศาสตร์ ชาติ
3. พัฒนาโครงการเด่ น
4. ใช้ เทคนิคการบริ หารจัดการสมัยผลักดันโครงการ
•
•
การศึกษาคือ ขุมทรั พย์ ในกายตน
1. Learn to know
2. Learn to do
3. Learn to live together
4. Learn to be
การศึกษาคือการพัฒนาคนให้ เป็ นมนุษย์ ทสี่ มบูรณ์