วัตถุประสงค์ หลังจากเรียน นศ.สามารถ *อธิบายความหมาย ขอบเขต ความสาคัญและประโยชน์ ประเภทของการจัดบริการอาชีวอนามัยได้ *บอกแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยได้ *อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสิง่ แวดล้อมและ ความปลอดภัยได้ *อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสุขภาพอนามัยได้ ความหมาย การบริการอาชีวอนามัย หมายถึง การดาเนิ นการโดยหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ของผูป้ ฏิบตั งิ านให้สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่าง ปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ์ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ และสามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

Download Report

Transcript วัตถุประสงค์ หลังจากเรียน นศ.สามารถ *อธิบายความหมาย ขอบเขต ความสาคัญและประโยชน์ ประเภทของการจัดบริการอาชีวอนามัยได้ *บอกแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยได้ *อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสิง่ แวดล้อมและ ความปลอดภัยได้ *อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสุขภาพอนามัยได้ ความหมาย การบริการอาชีวอนามัย หมายถึง การดาเนิ นการโดยหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ของผูป้ ฏิบตั งิ านให้สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่าง ปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ์ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ และสามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

วัตถุประสงค์
หลังจากเรียน นศ.สามารถ
*อธิบายความหมาย ขอบเขต ความสาคัญและประโยชน์
ประเภทของการจัดบริการอาชีวอนามัยได้
*บอกแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยได้
*อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสิง่ แวดล้อมและ
ความปลอดภัยได้
*อธิบายถึงวิธีการจัดบริการทางด้านสุขภาพอนามัยได้
ความหมาย
การบริการอาชีวอนามัย หมายถึง
การดาเนิ นการโดยหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพือ่ ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
ของผูป้ ฏิบตั งิ านให้สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่าง
ปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ์ทง้ั
ทางร่างกายและจิตใจ และสามารถปฏิบตั งิ าน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
ความหมาย
การบริการอาชีวอนามัย หมายถึง
การบริการที่จัดขึน้ ในสถานประกอบการ
โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะส่ งเสริมและดารงไว้ ซึ่ง
สุขภาพอนามัยที่ดีของ
ผู้ประกอบอาชีพ รวมทัง้
การควบคุมโรคตลอดจน
อันตราย อันเกิดจากอุปกรณ์ และเครื่องจักรใน
การปฏิบัติงาน
ขอบเขตการบริการอาชีวอนา
มัย
WHO, ILO ควรจะประกอบด้วยงาน 5 อย่าง
1. การส่งเสริมสุขภาพ และดารงไว้ซ่งึ ความมี
สุขภาพดี
2. การป้ องกันโรคอันเนื่ องจากการทางาน
3. การปกป้ องคุม้ ครองคนทางานหรือลูกจ้าง
ไม่ให้ทางานที่เสีย่ งอันตราย
ขอบเขตการบริการอาชีวอนา
มัย
4.จัดคนงานให้ทางานในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับ
ความสามารถของร่างกาย และจิตใจ
5.ปรับงานให้เหมาะสมกับคน และ
ปรับคนให้เหมาะสมกับสภาพการทางาน
ความสาคัญและประโยชนของ
์
การบริการอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย
ลดลง
การได้รบั บาดเจ็บ โรคจากการ
จากการทางาน
ทางาน
เพิม่ ขึ้น
ความเจ็บป่ วย
ทัว่ ไป
ความสามารถ
ในการทางาน
ระยะเวลาของ
การทางาน
การหยุดงาน
สูญเสียเงิน
ในการรักษาพยาบาล
การเปลี่ยนคนงาน
ค่าใช้จา่ ยในการฝึ กอบรมใหม่
ผลผลิต
องค์ประกอบของการจัดบริการ
อาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และ
สุขภาพในการทางาน
นโยบายของสถานประกอบการ
ประเภทและขนาดของกิจการ
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
กาหนดให้ งานอุตสาหกรรม ทางานได้ไม่เกินสัปดาห์ละ 48
ชัวโมง
่
งานขนส่ง ทางานได้ไม่เกินวันละ 8 ชัวโมง
่
 ให้มีวน
ั หยุดสัปดาห์ละ 1 วัน วันหยุดตามประเพณี ปีละ
13 วันรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย
 ถ้าทางานครบ 1 ปี อาจลาหยุดพักผ่อนได้ปีละ 6 วันทางาน
 ทางานวันละ 8 ชม. ถ้าเกินคิด OT การคุ้มครองความ
ปลอดภัย การป้ องกันอันตราย เช่น เสียงดังไม่เกิน 90
dBA, สารตะกัวในอากาศไม่
่
เกิน 0.2 มก./ลบ.ม.ใน 8
ชัวโมง
่
เป็ นต้นให้มีสวัสดิการด้านรักษาพยาบาล

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
พรบ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
 จะกาหนดเกี่ยวกับค่าแรง การจ้าง/การเลิกจ้าง ถ้าเป็ น
เรือ่ งที่ตงั ้ จะเป็ น พรบ.ผังเมือง, พรบ.ที่ดิน การจัดให้
มี Buffer Zone โดยกระทรวงมหาดไทย ก่อสร้าง
อาคาร โดยกฎหมาย พรบ.อาคาร พ.ศ.2520
กระทรวงมหาดไทย การใช้สอยโดยกฎหมาย พรบ.
โรงงาน พ.ศ.2535 *พรบ.สถานพยาบาล, พรบ.
โรงแรม
 การจ้างงานโดย กฏหมายคุ้มครองแรงงาน, พรบ.
แรงงานสัมพันธ์ การใช้วสั ดุ โดย พรบ.วัตถุอนั ตราย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
พรบ.เงินทดแทน (นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน)
 ค่ารักษาพยาบาลการเจ็บป่ วยจากการทางาน การจ้าง
ส่วนใหญ่คิดเป็ นรายวัน ค่าทดแทนการเสียรายได้
60% ค่าทดแทนการเสียอวัยวะ, ทุพพลภาพจ่ายไม่
เกิน 15 ปี , ค่าเสียชีวิต
พรบ.ประกันสังคม
(นายจ้าง1.5% ลูกจ้าง1.5% รัฐ 1.5%)
ค่ารักษาพยาบาลการเจ็บป่ วยไม่ใช่จากการทางาน ค่า
ทาคลอด ค่าชดเชยการเสียรายได้ 50%
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515
 คนงาน 10 คน ต้องจัดให้มี First Aids kit
 คนงาน 50 คน ต้องจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครอง
 คนงาน 100 คน ต้องจัดให้มีเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัย
 คนงาน 200 คน ต้องจัดให้มีห้องพยาบาล พยาบาล
ประจา 1 คน, แพทย์ 1คนตรวจรักษาเป็ นครังคราว
้
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 พ.ศ.2515
 คนงาน 1,000 คน ต้องจัดให้มีสถานพยาบาลพร้อม
เตียงพักคนไข้ 1 เตียง
 คนงาน มากกว่า1,000 คน ต้องจัดให้มี
สถานพยาบาลพร้อมเตียงพักคนไข้ 2 เตียง
 พยาบาลประจา 2 คน, แพทย์ 1 คนประจาเวลา
ทางานปกติอย่างน้ อย 2 ชัวโมง
่
แนวทางในการจัดบริการ
อาชี
ว
อนามั
ย
การจัดบริการอาชีวอนามัยภาครัฐบาล
ส่วนกลาง ;
การออกกฎหมาย มาตรฐานสิ่งแวดล้อมและ
ความปลอดภัยในการทางาน การตรวจตรา
ให้เป็ นไปตามกฎหมาย สนับสนุ นงบประมาณ
การศึกษาวิจยั และการฝึ กอบรม
ระดับภาคหรือเขต ;
สืบค้นปัญหา OHSE
บริการทางห้องปฏิบตั กิ าร
แนวทางการจัดบริการอาชี
วอนามัย
การจัดให้มีความ
ปลอดภัยในการ การป้ องกันและ
ส่งเสริมสุขภาพ
ทางาน
อนามัย
การบริการด้าน
การรักษาพยาบาลและ
สุขศาสตร์อตุ สาหกรรม
การส่งต่อ
การฟื้ นฟูสมรรถภาพ
การปรับ
ในการทางาน
ปรุงงาน
ให้เหมาะสมกับคน
สภาพแวดล้อมในการทางาน
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
กิจกรรมการให้บริการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
สอบสวน/วิเคราะห์
อุบัติเหตุ/
โรคจากการทางาน
อบรม/ให้ ความรู้
บริการข้ อมูลข่ าวสาร
การค้ นหาอันตรายและ
ประเมินความเสี่ ยง
การเฝ้ าระวังด้ าน
สิ่ งแวดล้ อม
จัดการปฐมพยาบาล
รักษา/ฟื้ นฟู
โรคจากการทางาน
การวางแผน จัดองค์ กร
ออกแบบสถานที่ทางาน
การปรับปรุง
การทางาน
การเฝ้ าระวังสุ ขภาพ
การให้ คาแนะนา
ด้ านOSE
รูปแบบองค์กรในการจัดบริการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1. รูปแบบอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (Big Industry Model)
 เป็ นรูปแบบของสถานประกอบการขนาดใหญ่จดั บริการเองให้บริการ
ในสถานประกอบการเลย
 ข้อดี คือ เก็บข้อมูลคนงานและสถานประกอบการได้สมบูรณ์
แก้ปญั หาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้เต็มที่
 จุดอ่อน คือ นายจ้างอาจชี้นาการให้บริการมากเกินไปอาจขาดการ
ประสานกับหน่ วยงานสาธารณสุขอืน่ ๆ เช่นในประเทศฮังการี, ประเทศ
ฝรัง่ เศส, ประเทศโปรตุเกส
รูปแบบองค์กรในการจัดบริการอาชีวเวชกรรม
2. รูปแบบให้บริการแบบกลุม่ (Group Services Model)
 เป็ นรูปแบบการรวมตัวกันของสถานประกอบการขนาดกลาง
และเล็ก
 จุดอ่อน คือ บุคลากรไม่มีความใกล้ชิดกับคนงานในสถาน
ประกอบการ
 จุดดี คือ ครอบคลุมสถานบริการขนาดเล็กและสามารถเคลื่อน
ย้ายได้ ไม่ม่งุ ค้ากาไร เช่นประเทศฝรัง่ เศส
รูปแบบองค์กรในการจัดบริการอาชีวเวชกรรม
3. รูปแบบให้บริการแบบสถานบริการเอกชน (Private Health
Center Model)
 เอกชนจัดขึ้นและเสนอขายบริการแก่สถานประกอบการ
 ข้อดี คือยืดหยุ่น
 ข้อเสีย คือค่าใช้จา่ ยสูง
 ตัวแทนสถานประกอบการไม่มีสว่ นร่วม เช่นในยุโรปตะวันตก
รูปแบบองค์กรในการจัดบริการอาชีวเวชกรรม
4. รูปแบบให้บริการเวชกรรมชุมชน (Community Health Center
Model)
 ให้บริการโดยหน่ วยงานรัฐบาล เช่นเดียวกันกับงานอนามัย แม่และ
เด็ก งานอนามัยโรงเรียน
 จุดเด่น คือให้บริการร่วมไปกับบริการทางสุขภาพอืน
่ ๆ
 จุดด้อย คือถ้าบริเวณนั้นมีโรงงานอุตสาหกรรมหนาแน่ นจะต้องเตรียม
บุคลากรที่มีความชานาญเฉพาะทางด้านอาชีวอนามัยมาดาเนิ นงาน
โดยตรง ถ้าบริเวณนั้นมีโรงงานไม่หนาแน่ น อาจใช้วธิ ีอบรมระยะสัน้
แก่เจ้าหน้าที่ให้มีความรูด้ า้ นนี้ อาจต้องมีการสนับสนุ นนักวิชาการจาก
ส่วนกลางหรือศูนย์เขต เช่นประเทศอิตาลีประเทศไอส์แลนด์ ประเทศ
ฟิ นแลนด์
รูปแบบองค์กรในการจัดบริการอาชีวเวชกรรม
5. รูปแบบให้บริการอาชีวอนามัยระดับชาติ (National Health
Service Model)
เหมือนกับ Big Industry Model แต่บคุ ลากรและการบริหารโดย
ภาครัฐ
6. รูปแบบให้บริการจากการประกันสังคม (Social Security
Institution Model)
 เหมือนกับ Group Service Model แต่จดั บริการโดยสานักงาน
ประกันสังคม โดยเป็ นผูด้ าเนิ นการ และให้เงินสนับสนุ น เช่น
ประเทศตุรกี และประเทศอิสราเอล
ระบบการให้บริการอาชีวอนามัยในประเทศไทย
หน่ วยงานรับผิดชอบ คือ
 กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
 กระทรวงสาธารณสุข
 กระทรวงอุตสาหกรรม
 รูปแบบที่ใช้ในประเทศไทยคือ Big Industry Model, Private
Health Center Model
 การดาเนิ นงานโดยงานอาชีวเวชกรรมของกลุม
่ งาน
เวชกรรมสังคม และโรงพยาบาลชุมชนของอาเภอนั้นๆ
1. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
หน่ วยงานรับผิดชอบ คือ
1.1 กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
 ดาเนิ นการและส่งเสริมให้มีความปลอดภัยในการทางาน
 โดยออกกฎหมาย ศึกษาวิจยั เสริมสร้างและพัฒนา สิง่ แวดล้อมใน
การทางาน
 ตรวจสถานประกอบการเพือ่ ให้ดาเนิ นการตามกฎหมาย
 สนับสนุ นด้านวิชาการเช่น สถาบันความปลอดภัยในการทางาน
1. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
1.2 สานักงานประกันสังคม
ดูแลผูใ้ ช้แรงงานที่ประสบอันตรายจากการทางาน
 กองทุนประกันสังคม
ให้ความคุม้ ครองการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพพลภาพ
และตายที่ไม่ใช่เหตุจากการทางาน
 กองทุนเงินทดแทน
ให้ความคุม้ ครองการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพพลภาพและตายที่
เนื่ องมาจากการทางาน
 ศูนย์ฟ้ ื นฟูสมรรถภาพคนงาน
2. กระทรวงสาธารณสุข
หน่ วยงานรับผิดชอบ คือ
2.1 กรมอนามัย
 เป็ นหน่ วยงานวิชาการ มีหน้าที่หลักในการวิจยั และพัฒนาวิชาการ&
เทคโนโลยี กลวิธีและรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
สิง่ แวดล้อม
2.2 กรมการแพทย์
 เป็ นหน่ วยงานวิชาการ มีหน้าที่หลักในการวิจยั และพัฒนาวิชาการ&
เทคโนโลยีทางการแพทย์ และหน่ วยงานที่มีบทบาท/กิจกรรมด้านอาชี
วอนามัยคือ สานักงานอาชีวเวชศาสตร์และสิง่ แวดล้อม รพ.นพรัต
นราชธานี
2. กระทรวงสาธารณสุข
2.3 สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 กองระบาดวิทยา
เป็ นศูนย์กลางในการเฝ้ าระวังและสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา
โดยรวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูลข่าวสารการเกิดโรค
 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สืบค้นและเฝ้ าระวังปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ฝึ กอบรม วิจยั และเผยแพร่ผลงานในจังหวัดของตน
 รพ.ศูนย์/รพ.ทัว่ ไป
ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งต่อผูป้ ่ วยด้วยโรค/อุบตั ิเหตุจากการทางาน
ตรวจสุขภาพผูป้ ระกอบอาชีพ รายงานโรคและการเจ็บป่ วย
3. กระทรวงอุตสาหกรรม
3.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
มีบทบาทสาคัญในการดาเนิ นงานด้านการป้ องกันปัญหาอาชีว
อนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน มีอานาจออกใบอนุ ญาตและต่อ
ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงานได้ หน่ วยงานที่รบั ผิดชอบด้านนี้
โดยตรงคือ ศูนย์เทคโนโลยีความปลอดภัย
 ศูนย์เทคโนโลยีความปลอดภัย
เป็ นหน่ วยงานวิชาการมีหน้าที่ ศึกษาและวิเคราะห์
เพื่อพัฒนางานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยในโรงงาน
บทบาทในการให้บริการOHSของนายจ้าง
กาหนดนโยบาย
กาหนดเป้ าหมาย/
วัตถุประสงค์
จัดหาและจัดให้มี
การบริการOHS
ให้ความร่วมมือ
และมีสว่ นร่วม
รับผิดชอบค่าใช้จา่ ย
ในการบริการฯ
แจ้งผลการตรวจสุขภาพ
และสวล.ให้คนงานทราบ
แจ้งผูใ้ ห้บริการทราบเกี่ยวกับปัจจัย
ที่อาจเป็ นอันตราย/ การบาดเจ็บ
หรือเจ็บป่ วยจากการทางาน
ประเมินผลการบริการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
บทบาทในการให้บริการOHSของลูกจ้าง
การให้ความร่วมมือและ
มีสว่ นร่วมในการบริการ
แจ้งหรือรายงานเกี่ยวกับสภาพหรือ
ปัจจัยที่อาจจะเป็ นอันตรายใน
สิง่ แวดล้อมการทางาน
ปฏิบตั ติ ามหน้าที่ท่ไี ด้รบั
มอบหมายด้วยความปลอดภัย
แจ้งหรือรายงานเกี่ยวกับ
การหยุดงานและการเจ็บ
ป่ วยของตน
บทบาทและคุณสมบัติของ
ผูใ้ ห้บริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
 นักสุขศาสตร์อตุ สาหกรรม
 แพทย์อาชีวอนามัย
 พยาบาลอาชีวอนามัย
 วิศกรความปลอดภัย
 นักพิษวิทยา
 คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
บทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
 ดูแลให้มีการปฏิบตั ิเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานของ
ลูกจ้าง
 ให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานแก่
นายจ้างและลูกจ้าง
 ควบคุมและดูแลการใช้อปุ กรณ์ความปลอดภัยให้ถกู วิธี และให้
อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
 ตรวจตราสภาพการทางานและการปฏิบตั งิ าน
ของลูกจ้างแล้วรายงานนายจ้างให้ปรับปรุงแก้ไข
บทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
 บันทึก จัดทารายงาน และสอบสวนเกี่ยวกับอุบตั เิ หตุและโรคซึ่ง
เกี่ยวเนื่ องจากการทางาน
 ส่งเสริมและสนับสนุ นให้มีกจิ กรรมเกี่ยวกับความปลอดภัยใน
การทางาน
บทบาทนักสุขศาสตร์อตุ สาหกรรม
 ดูแลและควบคุมการดาเนิ นการโปรแกรมสุขศาสตร์
อุตสาหกรรม
 เก็บตัวอย่างสิง่ แวดล้อมและตรวจวัดปัจจัยอันตราย
ในสิง่ แวดล้อมการทางาน
 แปลผลที่ได้จากการเก็บตัวอย่างหรือตรวจวัดสภาพแวดล้อมที่มี
ผลกระทบต่อสุขภาพ ประสิทธิภาพในการทางาน และหรือก่อ
เหตุราคาญในชุมชน
 ประเมินประสิทธิผลและความจาเป็ นของมาตรการการควบคุม
พร้อมทัง้ แนะนาขัน้ ตอนการทางานที่เหมาะสม
บทบาทนักสุขศาสตร์อตุ สาหกรรม
 ประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสิง่ แวดล้อมภายนอก
้ ตอนการทางานที่
 ร่างข้อบังคับ กฎหมาย ค่ามาตรฐาน และขัน
เหมาะสมเพือ่ สุขภาพที่ดีในการทางาน
้ ศาล เมื่อมีการฟ้ องร้อง
 เป็ นพยานในชัน
 จัดเตรียมเอกสารสาหรับการติดฉลาก และข้อมูลความปลอดภัย
ของสารเคมีให้ผูเ้ กี่ยวข้องทราบ
 จัดโปรแกรมการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการป้ องกันโรคจากการทางาน
 ศึกษาระบาดวิทยาของโรคจากการทางานที่เกิดกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
 ศึกษาวิจยั ปัจจัยที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน
ประเภทของสวัสดิการหรือบริการ
การจัดบริการอาชีวอนามัยภาคเอกชน

สวัสดิการตามกฎหมาย
 สวัสดิการนอกเหนื อจากที่กฎหมายกาหนด
ประเภทของบริการอาชีวอนามัย
การประเมินอันตรายจาก
สิ่งแวดล้อมในการทางาน
การตรวจสุขภาพก่อนเข้า
ทางาน
การตรวจสุขภาพคนงาน
เป็ นระยะๆ
การปฐมพยาบาลเบือ
้ งต้น
การฟื้ นฟูสมรรถภาพ
 การให้สข
ุ ศึกษา
 การจัดให้มี PPE
 การให้ภม
ู ิ ค้มุ กันโรค
 โภชนาการ
 ป้ องกันสิ่งเสพติด
 สวัสดิการอื่นๆ
การจัดบริการด้านสภาพแวดล้อม
และความปลอดภัยในการทางาน
1.บริการด้านสุขศาสตร์อตุ สาหกรรมในสถานประกอบการ
1. ตรวจสภาพแวดล้อมในการทางาน
2. ประเมินความเสีย่ งและอันตราย
3. จัดให้มีการปรับปรุงและควบคุมอันตรายให้ลด
น้อยลง
4. การสุขาภิบาลที่ดีในโรงงาน
2. การปรับปรุงงานให้เหมาะสมกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
* การออกแบบ - เครื่องจักร ที่นงั ่ วิธีการปฏิบตั ิงาน
การจัดบริการด้านความปลอดภัยในการทางาน
1. ความปลอดภัยของเครื่องจักร
2. การจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
3. การจัดให้มีการฝึ กอบรม- ส่งเสริมความปลอดภัย
4. การทบทวนการบริหารงานความปลอดภัยฯ
5. ออกกฏระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ -การป้ องกัน
6. เก็บรวบรวมสถิติเกี่ยวกับการบาดเจ็บและเจ็บป่ วย
การจัดบริการดาน
้
สุขภาพอนามัย
1. การป้ องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
2. การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
3. ฟื้ นฟูสภาพ
4. ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
5. การบันทึกระเบียนรายงาน
1. การป้ องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
1. มีการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทางาน เพื่อจัดให้คนงานทางานให้
เหมาะสมกับงานที่ทาเพือ่ หลีกเลี่ยงการเสีย่ งอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัยและความปลอดภัย
2. มีการตรวจสุขภาพอนามัยคนงานเป็ นระยะๆ หลังจากที่ได้ทางานไป
แล้ว ทัง้ นี้ เพื่อเป็ นการค้นหาโรคแต่เนิ่ นๆ และรักษาได้ทนั ท่วงที
3. มีการให้สขุ ศึกษา สวัสดิการแก่เจ้าหน้าที่และคนงานที่เกี่ยวข้องอาจ
ในรูปของการจัดการอบรม เอกสาร โปสเตอร์
หรือการจัดนิ ทรรศการก็ได้
4. มีการให้ภมู ิคมุ ้ กันโรคแก่เจ้าหน้าที่ท่มี ีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเช่น
การฉี ดวัคซีนไวรัสตับอักเสบชนิ ดบี
5. มีโครงการในเรือ่ งโภชนาการแก่ผูป้ ระกอบการ
เพื่อคนงานจะได้รบั ประทานอาหารที่เป็ นประโยชน์
6. มีบริการด้านสวัสดิการ เช่น ให้มีการพักผ่อนหย่อนใจ และการ
บริการ
สวัสดิการด้านอืน่ ๆ
2. การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
3. มีการปฐมพยาบาลในกรณี ท่คี นงานได้รบั อุบตั เิ หตุกอ่ นส่งต่อเพื่อ
รักษา
3. ฟื้ นฟูสภาพ
มีการตรวจสุขภาพคนงานที่หายเจ็บป่ วยแล้ว เพื่อดูว่าเขามีความ
สามารถและเหมาะสมจะทางานใหม่ได้เพียงใด
4. ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
 ตรวจสมรรถภาพการได้ยนิ
 ตรวจสมรรถภาพปอด
 ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น
5. การบันทึกระเบียนรายงาน
มีการรวบรวมรายงานและสถิติเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัยในการทางานเช่น สถิติการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ การเกิด
อุบตั ิเหตุจากการทางาน
การจัดบุคลากรในหน่ วยบริการสุ ขภาพ
อย่างน้อยควรจัดให้เพียงพอต่อการดาเนิ นการดังต่อไปนี้
* ปฐมพยาบาลและรักษาในกรณี รีบด่วน
และกรณี เกิดอุบตั ิเหตุจดั ส่งไปรักษาต่อได้
* ตรวจสุขภาพตามกฎหมาย
* เก็บรวบรวมสถิติ รายงานต่างๆเกีย่ วกับสุขภาพอนามัย
ของพนักงาน
ประกาศ
กระทรวงมหาดไทย
เรือ
่ ง
กาหนดสวัสดิการ
เกีย
่ วกับสุขภาพอนามัยสาหรับ
ลูกจ้าง
การจัดสวัสดิการด้านการ
รักษาพยาบาล
* มีลูกจ้างทางานตัง้ แต่ 10 คนขึ้นไป
 ปัจจัยในการปฐมพยาบาล
* ถ้ามีลูกจ้างทางานในขณะเดียวกัน 200 คนขึ้นไป
+ ห้องรักษาพยาบาล
+ เตียงพักคนไข้ 1 เตียง
+ เวชภัณฑ์
11/7/2015
การจัดสวัสดิการด้ านการรั กษาพยาบาล
* มีลูกจ้างทางานในขณะเดียวกัน 1,000 คนขึ้นไป
- ห้องรักษาพยาบาล
- เตียงพักคนไข้ 1 เตียง
- เวชภัณฑ์
- ยานพาหนะ
จานวนพยาบาลในสถาน
ประกอบการ
กรณี ลูกจ้าง 200 คน - 999 คน
 ต้องจัดให้มีพยาบาลประจา 1 คน ตลอดเวลาทางานปกติ
ไม่นอ้ ยกว่าวันละ 8 ชม.
* หากมีลูกจ้างเพิม่
 ให้มีพยาบาลเพิม
่ 1 คน : ลูกจ้างที่เพิม่ ขึ้นทุกๆ
1,000 คน
11/7/2015
จานวนพยาบาลในสถานประกอบการ
กรณี ลูกจ้าง 1,000 คนขึ้นไป
 ต้องจัดให้มีพยาบาลประจาอย่างน้อย
 เวลาทางานปกติของแต่ละคน
ไม่นอ้ ยกว่าวันละ 8 ชม.
2 คน
คุณสมบัตพิ ยาบาล
 สาเร็จการศึกษาไม่ตา่ กว่า
ป.ตรี สาขาพยาบาลอาชีว
อนามัย หรือเทียบเท่า
 ผ่านการอบรมด้านอาชีวอนามัยไม่ตา่ กว่า 60 ชม.
 ปฏิบตั งิ านอาชีวอนามัยไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี และผ่านการ
ทดสอบตามหลักเกณฑ์กาหนด
 สาเร็จการศึกษาพยาบาล หรือการพยาบาลผดุงครรภ์
หลักสูตร 2 ปี ที่ปฏิบตั งิ านอาชีวอนามัยมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า
5 ปี
จานวนแพทย์ในสถานประกอบการ



11/7/2015
กรณีลูกจ้าง 200 - 499 คน
ต้องจัดให้มีแพทย์ประจาไม่นอ้ ยกว่า 8 ชม/m
กรณีลูกจ้าง 500 - 999 คน
ต้องจัดให้มีแพทย์ประจาไม่นอ้ ยกว่า 4 ชม/wk.
กรณีลูกจ้าง 1,000 คนขึ้ นไป
ต้องจัดให้มีแพทย์ประจาไม่นอ้ ยกว่า 6 ชม/wk
คุณสมบัติแพทย์



เป็ นแพทย์แผนปั จจุบนั ชั้นหนึง่
ผ่านการอบรมด้านอาชีวเวชศาสตร์
ไม่ตา่ กว่า 60 ชม.
ปฏิบตั ิงานในหน้าทีเ่ กีย่ วกับอาชีวเวชศาสตร์
ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
อุปสรรคและปัญหาของประเทศไทย
 จานวนบุคลากรในงานอาชีวอนามัยยังคงมีจานวนไม่เพียงพอ
 องค์ความรูแ้ ละการฝึ กอบรม ยังต้องเร่งพัฒนา
 ทัศนคติของนายจ้างลูกจ้างที่ยงั ไม่ให้ความสาคัญ
 แผนงานนโยบายของรัฐบาลเน้นการลงทุนด้าน
อุตสาหกรรมไม่เคร่งครัดด้านอาชีวอนามัย
 กฎหมายที่เกี่ยวข้องและการบังคับใช้ กฎหมายเนื้ อหายังไม่สมบูรณ์
ขอเสนอแนะส
าหรับประเทศไทย
้
 สาหรับพืน
้ ที่อตุ สาหกรรมหนาแน่ นควรพัฒนาเป็ น
แบบ National Health Service Model
 กาหนดนโยบายให้ความสาคัญด้านอาชีวอนามัย
 กาหนดนโยบายโดยนายจ้างและลูกจ้าง
 ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง