ระบบบริหารยา (HA)

Download Report

Transcript ระบบบริหารยา (HA)

การนิเทศงาน (Supervision)
 หมายถึง To
oversee,To guide,To direct
แปลว่ า ชี้แจง แสดง จาแนก
ในแง่ การบริหารงาน หมายถึง กระบวนการทีช่ ่ วยในการควบคุม
งาน เพือ่ ชี้แนะให้ ผู้ปฏิบัตงิ านได้ เข้ าใจถึงวิธีการทางาน และช่ วย
แก้ ปัญหาได้ ทนั ต่ อเหตุการณ์ เพือ่ ให้ ได้ ผลงานตามความมุ่งหมาย
การนิเทศทางการพยาบาล
 หมายถึง การช่ วยเหลือให้ เจ้ าหน้ าที่ปฏิบัติงานได้ ดีขน
ึ้ โดยมี
วัตถุประสงค์ เพือ่ ปรับปรุงการพยาบาล ด้ วยการกระตุ้น ส่ งเสริม
ชักจูงให้ เจ้ าหน้ าทีซ่ ึ่งเป็ นบุคลากรทางการพยาบาลให้ ปฏิบัตงิ าน
ประกอบด้ วย
1.การนิเทศการพยาบาล (Supervision of patient care)
2. การนิเทศบุคลากรทางการพยาบาล (Supervision of
nursing personnel)
การนิเทศทางการพยาบาล
- การให้ ความช่ วยเหลือ ให้ คาแนะนาและการปรับปรุง
- กลไกการสนับสนุนเชิงวิชาชีพภายใต้ เงื่อนไขทีผ่ ู้รับการนิเทศสามารถ
แลกเปลีย่ นความสามารถในคลินิก ความสามารถด้ านการทางานใน
องค์ กร ความสามารถด้ านการพัฒนาและการจัดการด้ านอารมณ์ กบั
บุคลากรใสวิชาชีพในบรรยากาศแห่ งความมัน่ คง เชื่อมั่นทีจ่ ะพัฒนาให้
เกิดความรู้และทักษะ โดยจะต้ องมีการสะท้ อนผลการปฏิบัติร่วมกัน
ระหว่ างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ
- การชี้แนะแนวทางการปฏิบัติงาน ให้ ผู้รับการนิเทศเข้ าใจงานทีร่ ับผิดชอบ
และปฏิบัติงานนั้นอย่ างมีคุณภาพ
จุดมุ่งหมายของการนิเทศทางการพยาบาล
-เพือ่ ให้ การบริการพยาบาล ดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิภาพสอดคล้ องกับนโยบาย
วัตถุประสงค์ และแผนการรักษาของแพทย์ และช่ วยพัฒนาบุคลากรทางการ
พยาบาลทุกระดับให้ ปฏิบัตงิ านในความรับผิดชอบให้ ดที สี่ ุ ดและเป็ นทีพ่ อใจของ
ผู้ปฏิบัตงิ าน
-เพือ่ พัฒนา ส่ งเสริม สนับสนุนให้ พยาบาลระดับปฏิบัตกิ ารมีความรู้ ความสามารถ
และทักษะสู่ ระดับสู งขึน้ จนถึงขั้นระดับเชี่ยวชาญ
-ทาให้ พยาบาลมีความมัน่ ใจในการทางาน พึงพอใจ มีพลังอานาจในงานเพือ่
ความสาเร็จของงานตามที่องค์ กรพยาบาลวางเป้ าหมายไว้
-ค้ นหาประเมิน รวบรวมปัญหาเพือ่ พัฒนาคุณภาพพยาบาล/งาน/วิชาชีพ
-ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การปฏิบัตกิ ารพยาบาลให้ ได้ มาตรฐาน
-ช่ วยเหลือ สนับสนุน กระตุ้นปฏิบัตงิ านให้ มผี ลผลิตสู ง
-ลดความเสี่ ยง/เพิม่ ประสิ ทธิภาพ/ผลการบริการพยาบาล
-สนับสนุนให้ เกิดเอกลักษณ์/ลักษณะเฉพาะในอาชีพ พัฒนาสมรรถนะในงาน เพิม่
ทักษะและส่ งเสริมให้ เกิดจริยธรรม
วัตถุประสงค์ ของการนิเทศงาน
1.เพือ่ ให้ ผู้ปฏิบัตงิ านได้ ปฏิบัตงิ านของตนให้ สาเร็จตามที่ได้ รับ
มอบหมาย
2. เพือ่ ช่ วยให้ ผู้ปฏิบัตงิ านได้ ปฏิบัตดิ ้ วยความรวดเร็ว
3. เพือ่ สนับสนุน ส่ งเสริมผู้ถูกนิเทศ ในเรื่องความพึงพอใจในงาน
(Job satisticfaction) ความสามารถ (Competence) ทักษะและ
จริยธรรม (Skill and ethic)
4. เพิม่ พูนความรู้ ทางด้ านวิชาการให้ แก่ ผู้ปฏิบัตงิ าน
5. สร้ างความสั มพันธ์ อนั ดีระหว่ างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ
6. เพือ่ รวบรวมข้ อมูลและปัญหาต่ างๆทีไ่ ด้ จากการนิเทศ
หลักการนิเทศ
1.การนิเทศต้ องมีความเป็ นวิทยาศาสตร์
2. การนิเทศต้ องเป็ นความร่ วมมือกัน
3.การนิเทศต้ องเป็ นการสร้ างสรรค์
4.การนิเทศ ต้ องมีผลในทางปฏิบัติ
5.การนิเทศต้ องเป็ นไปอย่ างมีระบบ
ประเภทการนิเทศทางการพยาบาล
1.
2.
การนิเทศทัว่ ไป (Management Supervision)
การนิเทศทางคลินิก (Clinical Supervision)
การนิเทศทัว่ ไป (Management Supervision)
เป็ นการนิเทศโดยหัวหน้าพยาบาล ทีมบริ หารการพยาบาล และผูท้ ี่
ได้รับการนิเทศจะเป็ นหัวหน้าหอผูป้ ่ วย โดยจะเป็ นการนิเทศเชิงระบบ
แผนยุทธศาสตร์ ,HRD, RM, IC, ENV, ETH, EQU, ระบบยา,
สารสนเทศทางการพยาบาล เป็ นต้น
การนิเทศทางคลินิก Clinical Supervision
เป็ นการนิเทศทางการพยาบาลที่มีความเชื่อมโยงกับระบบคุณภาพของ
โรงพยาบาลกับมาตรฐานการพยาบาล โดยหัวหน้าหอผูป้ ่ วย ก่อให้เกิด
สมรรถนะในการทางานที่ถูกต้อง ตามมาตรฐานวิชาชีพ
มีการสอนแนะนาการปฏิบตั ิงาน ณ เวลานั้น เพื่อก่อให้เกิดการ
ปฏิบตั ิการที่ดีและถูกต้อง
มีระบบการรายงานต่อหัวหน้าพยาบาลและทีมบริ หารการพยาบาลเพื่อ
ร่ วมกันวิเคราะห์และนาไปสู่การพัฒนาในภาพรวม
มีการจัดสอบสมรรถนะที่ได้จากการนิเทศหน้างาน ซึ่งเป็ นแผนในการ
พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในกลุ่มการพยาบาล
หลักการนิเทศที่ดี
มุ่งปรับปรุงงาน โดยพัฒนาบุคคลให้ เก่งวิชาการ
 มุ่งความต้ องการของผู้รับการนิเทศและขึน
้ กับสถานการณ์ และบทบาท
ของผู้นิเทศ ต้ องมุ่งความสาเร็จของงาน
 ดาเนินการตามแนวทางประชาธิปไตย เคารพสิ ทธิของบุคคล ขอบเขต
งานวิชาชีพ

องค์ ประกอบทีส่ าคัญต่ อการสร้ างรู ปแบบการนิเทศ
ผู้บริหารสนับสนุนและออกนโยบาย
กลไกหนุนเสริมการนิเทศให้ เกิดอย่ างสม่าเสมอ
เช่ น KM ใช้ เป็ น KPI
หนึ่งในการประเมิน
รูปแบบการนิเทศการพยาบาล
ผู้ปฎิบัตทิ ้งั ผู้นิเทศและ
ผู้รับการนิเทศเข้ าใจและยอมรับ
มีกระบวนการ บริหารแผนการนิเทศ
ในรูปแบบกรรมการ
มีการประเมินผลลัพธ์การนิเทศสู่การพัฒนาในงาน
องค์ ประกอบของการนิเทศ
องค์ ประกอบที่ 1.หลัการ แนวคิด ปรัชญา เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ในการนิเทศการ
พยาบาล
1. Philosophy of nursing supervision:ปรัชญา
กองการพยาบาล: ความเป็ นประชาธิปไตยในการทางาน หมายถึงผู้ปฏิบัตงิ านทุกคนมี
เสถียรภาพในการทางาน ภายในขอบเขตหน้ าที่ ความรับผิดชอบของตน สานึกและ
พยายามเข้ าใจในความรับผิดชอบขิงผู้ร่วมงาน ทาให้ เกิดความร่ วมมือปฏิบัติงาน ให้ เกิด
ประสิ ทธิผลและเจริญก้ าวหน้ าด้ วยการสนับสนุนส่ งเสริม ปลูกฝังความเชื่อมั่นแก่
ผู้ปฏิบัตงิ าน โดยอาศัยการนิเทศ นอกจากนีย้ งั คานึงถึงความแตกต่ างระหว่ างบุคคล สิ ทธิ
และเสรีภาพของแต่ ละบุคคล การสร้ างสั มพันธภาพโดยยึดหลักมนุษย์ สัมพันธ์ และ
อาศัยความเชื่อทีว่ ่ า มนุษย์ ทุกคนมีขอบเขตแห่ งความสามารถทีจ่ ะทางานให้
เจริญก้ าวหน้ า ทั้งผู้นิเทศเองก็จะต้ องปรับปรุ งตนเองให้ มคี วามรู้ ความสามารถอยู่เสมอ
เพือ่ เป็ นหลักประกันในการปฏิบัติงานให้ ได้ ผลดี และบรรลุวตั ถุประสงค์ ทตี่ ้ังไว้
1. Philosophy of nursing supervision:จิตวิทยา
ผูน้ ิเทศ: ตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั บุคลิกภาพที่แงงอยู่
ทฤษฎีการจูงใจของเฮอร์ เบอร์ ก (Herzberg,1989)
ปัจจัยจูงใจ (Motivation factor)
1.ความสาเร็จ (achievement)
2 การยอมรับนับถือ (recognition)
3. ลักษณะงาน (work itself)
4. ความรับผิดชอบ (Responsibility)
5. ความก้าวหน้ าในตาแหน่ ง ( advancement)
6. ความเจริญในงาน (Possibility of growth)
ปัจจัยคา้ จุน (Hygiene factor)
สิ่ งจูงใจที่ Support งาน
1.เงินเดือน
2. ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
3.นโยบายและการบริหารงาน
4. สภาพการปฏิบัติงาน
5.สถานภาพของวิชาชีพ
6.ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน
7.สภาพความเป็ นอยู่ส่วนตัว
8. เทคนิคการควบคุม นิเทศงาน
ทฤษฎีแรงจูงใจของแมคเคลแลนด์ (1961)
1.ความต้ องการสั มฤทธิผล
2.ความต้ องการความรักและความผูกพัน
3.ความต้ องการมีอานาจ
3. สั งคม (Sociology of supervision)
ลาดับขั้นความต้ องการของ มาสโลว์
5. ความสาเร็จในชีวติ (Self-actualization)
4.ความต้ องการยกย่ อง (Self-esteem)
3.ความต้ องการความผูกพัน (Social Need)
2.ความปลอดภัย (Safety Need)
1. ความต้ องการทางกายภาพ (Physiology Need)
4.การให้คาปรึ กษา
เป็ นแนวทาง เป็ นทีป่ รึกษา เป็ นผู้กระตุ้นให้ บุคลากรสารวจปัญหา
และเข้ าใจปัญหาทีแ่ ท้ จริงและแก้ ปัญหาด้ วยศักยภาพของตนเอง
5. การเป็ นผู้นา (Leadership)
ผู้นาตามกฎหมาย(Legal leader)
ผู้นาตามบุคลิกภาพส่ วนตัว (Charismatic leader)
ผู้นาทีเ่ ป็ นสั ญลักษณ์ ของกลุ่ม (Symbotic leader)
6.กฎหมาย (Legal aspects of importance in supervision
of nursing personnel)
-ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309,301,59,324,307
-ความผิดทางด้ านคุณธรรม จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ
พยาบาล พ.ศ. 2530 ในการปฏิบัตติ ่ อผู้ป่วยในข้ อ 13
เป็ นต้ น
องค์ ประกอบที่ 2 หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ บทบาท คุณสมบัติและสมรรถนะ
ของผู้นิเทศทางการพยาบาล
หน้ าที่ความรับผิดชอบ
1.หน้ าทีท่ ี่ โรงพยาบาลกาหนด (ตามตาแหน่ งบริหาร) ด้ านการนิเทศและการ
สนับสนุน
2. หน้ าทีท่ อี่ ยู่หน้ า
บทบาทของผู้นิเทศในการปฏิบัติการนิเทศ
1.เป็ นตัวกลางของการติดต่ อ สื่ อสาร
2. เป็ นผู้สร้ างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
3.เป็ นผู้ให้ คาแนะนา ปรึกษา
4. เป็ นผู้ประสานนโยบาย
5.เป็ นแหล่ งความรู้ ทางวิชาการ
คุณสมบัตขิ องผู้นิเทศ
-มีภาวะผู้นา มีบุคลิกภาพทีด่ ี
- มีท่าทีเป็ นกันเอง ยิม
้ แย้มแจ่ มใส
- มีความรู้ ความเข้ าใจในงาน มัน
่ ใจในตนเอง
- มีทก
ั ษะการสอน
- มีความคิดเชิงบวก มองโลกในแง่ ดี
- สั งเคราะห์ วิเคราะห์ งานได้ เก่ ง
- เป็ นคนน่ าไว้ ใจ น่ าเคารพนับถือศรัทธา เป็ นทีป
่ รึกษาได้ ทุกเรื่อง
- มีประสบการณ์ มารดี นามาใช้ ในการนิเทศ
- มีการสื่ อสารที่ชัดเจน
- มีการตัดสิ นใจและแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ าได้ ดี
- มีการประสานงานทีด
่ ี
.คุณสมบัตขิ องผู้นิเทศ
-ผ่ านประสบการณ์ ฝึกการนิเทศอย่ างน้ อย 3-5 เดือน
-หรือได้ รับการอบรมนิเทศมาอย่ างน้ อย 1-2 วัน
-ผู้นิเทศควรฝึ กฝนตนเอง ในเรื่อง ภูมิรู้ ภูมิธรรม ภูมิฐาน แววตา
เป็ นมิตร ใกล้ ชิด เพิม่ พูนทักษะ มีธรรมะในหัวใจ
SMILE ยิม้ แย้ ม แจ่ มใส
SMALL อ่ อนน้ อม ไม่ อวดรู้
SMOOTH อ่ อนโยน พูดเพราะ
SMART สง่ างาม น่ าเกรงขาม น่ านับถือ
สมรรถนะของผูน้ ิเทศ
1.สมรรถนะด้ านการบริหาร (Administrative
competence)สามารถวางแผน จัดการ สั่ งการและการบริหาร
เพือ่ ให้ ผู้ใต้ บังคับบัญชาปฏิบตั ิงานได้ อย่ างเต็มความสามารถและ
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายของหน่ วยงาน
 2.สมรรถนะทางคลินิก (Technical competence) เป็ น
สมรรถนะเฉพาะ มีความรู้เฉพาะของตน เพือ่ ช่ วยให้ การดูแลการ
ปฏิบัติงานเป็ นไปอย่ างได้ ผล คือความสามารถในการนาวิธีการในการ
ปฏิบัติงานแบบต่ างๆ การจัดอุปกณ์ และสิ่ งอานวยความสะดวกและการ
นาความรู้ไปใช้ ในการปฏิบัตงิ านกับบุคคล

สมรรถนะของผูน้ ิเทศ
3.สมรรถนะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human relation
competence) ความสามารถในการเข้าใจคน รู้จกั การ
ทางานร่ วมกันกับคนอื่น เข้าใจหลักหรื อทฤษฎีเกี่ยวกับ
พฤติกรรมของมนุษย์
4.สมรรถนะหลัก (Core competence) การมุ่งมัน่ สู่
ความสาเร็ จ การให้ความสาคัญต่องานบริ การ ความรู้ความ
ชานาญเชิงเทคนิค จริ ยธรรม การทางานเป็ นทีม
Characterics of effective
supervision









เอาใจเขามาใส่ ใจเรา
สนับสนุน
ยืดหยุ่น
ให้ ความสนใจต่ อการนิเทศ
ติดตาม/ตามรอยผู้รับการนิเทศอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
เชื่อมโยงทฤษฎีส่ ู การปฏิบัติ
เน้ นการมีส่วนร่ วมในการแก้ไขปัญหา
แปลความหมายของปัญหาได้ ดี
น่ านับถือ เพ่ งความสนใจ ปฏิบัตไิ ด้ มีความรู้
Characteristic of ineffective
supervision










เข้ มงวด ไม่ ยดื หยุ่น
ความสามารถในการเข้ าใจความรู้ สึกของผู้อนื่ ตา่
การสนับสนุนตา่
การติดตามหรือตระหนักต่ อปัญหาของผู้รับการนิเทศล้ มเหลว
ล้มเหลวในการสอน/การให้ ความรู้
ไม่ ยอมรับความคิดทีแ่ ตกต่ าง/ใจแคบ
ขาดความน่ าเชื่อถือ ไม่ เข้ าใจผู้เรียน
ปราศจากการพูดชมเชย ให้ กาลังใจ ปลุกใจ ช่ วยเหลือ
กีดกันทางเพศ
ให้ ความสาคัญต่ อการประเมินผลต่า
องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการนิเทศทางการพยาบาล
1.การวางแผน ได้แก่ การกาหนดเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย
จานวน วันเวลา และวิธีดาเนินการ
2.การจัดองค์กร โดยกาหนดหน้าที่รับผิดชอบ การมอบหมายงาน
3.การจัดบุคลากร ผูน้ ิเทศและผูร้ ับการนิเทศ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร
4.การติดตามผลการนิเทศ
5.การบันทึกผลการนิเทศเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
6.การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากร
กิจกรรมการนิเทศการพยาบาล
1.กิจกรรมการค้ นหาปัญหา ได้ แก่
-การเยีย่ มตรวจทางการพยาบาล (Nursing round)
-การประชุ มปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing conference)
-การร่ วมมือปฏิบัติงาน (Participation)
-การสั งเกต(Observation)
2.กิจกรรมแก้ไขปัญหา ได้ แก่ การสอน การให้ คาปรึกษาแนะนา การแก้ปัญหา
และการตัดสิ นใจ
กิจกรรมการนิเทศงานพยาบาล
การตรวจเยีย่ ม
การสังเกต
การประชุ มปรึกษา
กิจกรรมการนิเทศงานพยาบาล
ให้ คาแนะนาปรึกษา
การแก้ไขปัญหา/ตัดสินใจ
การสอนสาธิต
การร่ วมปฏิบัตงิ าน
องค์ ประกอบที่4 เครื่องมือการนิเทศการพยาบาล
-แผนการนิเทศ
-เกณฑ์ การนิเทศงาน
-ตัวชี้วดั คุณภาพ
-มาตรฐานการพยาบาล
-คู่มือปฏิบัตงิ าน
-แบบบันทึกการนิเทศงาน
-ข้ อมูลทัว่ ไป ได้ แก่ Vision Mission นโยบาย เป้าหมาย
ของกลุ่มงาน/หน่ วยงาน ลักษณะงาน ขอบเขตหน้ าที่ของ
หน่ วยงาน
แผนการนิเทศ
องค์ กรพยาบาลควรจะต้ องมีแผนการนิเทศระดับกลุ่ม แผนก และหอ
ผู้ป่วย เพือ่ กาหนดทิศทางให้ ผู้นิเทศ หรือกาหนดให้ เป็ นบทบาทหน้ าที่
ดังนี้
1. ระดับหัวหน้ าฝ่ ายการพยาบาล ประเด็นการนิเทศ
- การสื่ อสารแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการทีก่ าหนดไว้
- การจัดการเชิงระบบในการดูแลผู้ป่วย
- การบริหารอัตรากาลังให้ สอดคล้องกับเกณฑ์ สั มพันธ์ กบั Productivity
- การติดตามตัวชี้วดั สาคัญของฝ่ ายการพยาบาล
แผนการนิเทศ
2. ระดับผู้ตรวจการหรือหัวหน้ างาน ประเด็นการนิเทศ
- การจัดการเชิงระบบของงานในการให้ บริการตามความเชี่ยวชาญ
- การสื่ อสารนโยบายของฝ่ ายการพยาบาล
3. ระดับหัวหน้ าหอผู้ป่วย ประเด็นการนิเทศ
-การบริหารจัดการในการให้ บริการผู้รับบริการทีส่ อดคล้องกับการ
จาแนกผู้ป่วย
- สมรรถนะที่จาเป็ นในงาน
- การใช้ กระบวนการพยาบาล และการบันทึกทางการพยาบาล
- การเยีย่ มตรวจ และการประชุ มปรึกษาปัญหาทางการพยาบาล
เครื่องมือในการนิเทศทางคลินิก
เครื่องมือคุณภาพทีใ่ ช้ ในกระบวนการนิเทศ เช่ น quality
assurance, bed side review, peer review, document
review, C3THER, adverse events review, incident review,
proxy disease, clinical tracer, root cause analysis, trigger
tools, 12 กิจกรรมทบทวน เป็ นต้ น
ประเด็นสาคัญ เครื่องมือในการนิเทศ และผลลัพธ์ ของการนิเทศ
หอผู้ป่วย/หน่ วยงาน ประเด็นสาคัญ
เครื่องมือในการนิเทศ
การปฏิบัตทิ ี่สะท้ อนคุณภาพ การ
ปรับปรุงผลลัพธ์ โอกาสพัฒนา และ
แผนการพัฒนา
OPD/ER
document review, C3THER,
adverse events review, incident
review, proxy disease
การปฏิบัตทิ ี่ทาให้ ผ้ปู ่ วยเข้ าถึงระบบ
บริการผู้ป่วยได้ ง่าย เหมาะสม ทันเวลา
มีการประสานงานที่ดี สิ่งแวดล้อม
เหมาะสม
C3THER
bed side review, peer review,
document review, clinical tracer
การดูแลที่ทาให้ ผ้ปู ่ วยได้ รับการบริการ
แบบองค์รวม ฟื้ นฟูสภาพมีความ
ปลอดภัย เหมาะสม เป็ นไปตาม
มาตรฐานวิชาชีพ ไม่ กลับมา re admit
C3THER bed side review, peer
review, document review, clinical
tracer, adverse events review,
incident review, proxy disease
การปฏิบัตทิ ี่ทาให้ ผ้ปู ่ วยได้ รับการ
บริการอย่ างทันท่ วงที ปลอดภัย
เหมาะสมเป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ
-การเข้ าถึง
- การคัดกรอง
- การสื่ อสาร
-การประเมินผู้ป่วย
IPD/Ward
-Holistic care
-- Comunication
-- Assessment
-- D/C planning
ICU
การดูแลระยะวิกฤต
อุปกรณ์ เครื่องมือ
การประสานงานกับ ward
ตัวอย่ างแผนการนิเทศทางการพยาบาลของหัวหน้ าหอผู้ป่วย
ด้ านการบริหารทรัพยากรบุคคล
แนวทางการนิเทศ
เครื่องมือ
1. การนานโยบายสู่ -มีการนาWI เรื่องการบริหารอัตรากาลังชี้แจงให้ เจ้ าหน้ าทีใ่ น -แบบบันทึกการนิเทศ
การปฏิบตั ิด้าน
หอผู้ป่วยรับทราบและนาสู่ แนวทางการปฏิบตั ิ
-แบบบันทึกยอดผู้ป่วย
อัตรากาลัง
- มีการบริหารอัตรากาลังได้ อย่ างเหมาะสมกับภาระงาน
และการมอบหมายงาน
ประจาวัน
2. การบริหาร
-มีการวิเคราะห์ อต
ั รากาลัง
-รายงานภาระงานและ
อัตรากาลังในแต่ ละ -มีการนาผลการวิเคราะห์ อตั รากาลังมาใช้ ในการจัดสรร
ข้ อมูลด้ านอัตรากาลัง
เวร
อัตรากาลังอย่ างเหมาะสม
ของหน่ วยงาน
-มีหลักเกณฑ์ /วิธีการจัดเวรของหน่ วยงาน
-ผลลัพธ์ และตัวชี้วัดที่
-มีแนวทางการบริหารอัตรากาลังตามภาระงานเพือ่ ให้
เกีย่ วข้ อง
สามารถปฏิบตั ิเป็ นแนวทางเดียวกัน
- การสั งเกต การ
3. การบริหารความ -มีแผนสารองและแผนหมุนเวียนอัตรากาลัง
สั มภาษณ์
เสี่ ยงด้ านอัตรากาลัง -มีเกณฑ์ ผสมผสานอัตรากาลังในการดูแลผู้ป่วยแต่ ละ
ประเภท ทั้งของ RNและ Non RN
- พัฒนาบุคลากรตาม JS ทีก่ าหนด
จุดเน้ น/ประเด็นการนิเทศ
ด้ านบริการคุณภาพการพยาบาล
จุดเน้ น/ประเด็นการ
นิเทศ
1. รูปแบบการ
มอบหมายงาน
แนวทางการนิเทศ
เครื่องมือ
-มีการมอบหมายงานทีเ่ หมาะสมกับอัตรากาลังทีข
่ ึน้
- แบบบันทึกนิเทศ
ปฏิบตั ิงาน
-มีการมอบหมายงานทีช
่ ัดเจนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
-มีการวางแผนมอบหมายหน้ าทีก
่ รณีมปี ัญหาขณะรับ-ส่ งเวร
-เจ้ าหน้ าทีใ่ นเวรทราบหน้ าทีข
่ องตน
-กรณี มีเจ้ าทีใ่ หม่ มก
ี ารมอบหมายพีเ่ ลีย้ งทุกครั้ง
ทางการพยาบาล
-แบบบันยอดผู้ป่วย
และการมอบหมาย
งานประจาวัน
- แบบบันทึกการ
ประกันคุณภาพการ
พยาบาล
-ผลลัพธ์ และตัวชี้วด
ั
ทีเ่ กีย่ วข้ อง
-การสั งเกตและ
สั มภาษณ์
2. ประเภทผู้ป่วยทีต่ ้ อง
ดูแล
- มีการแบ่ งประเภทผู้ป่วยทีถ
่ ูกต้ อง ตามมาตรฐานทีก่ าหนด
3. การพัฒนาและสร้ าง
รู ปแบบการบริการ
พยาบาลใหม่ ๆ
-มีการสร้ างนวัตกรรม/งานวิจัยทางการพยาบาล
- พยาบาลทราบและอธิบายประเภทผู้ป่วยได้ ถูกต้ อง
-มีการนาระบบ CM มาใช้ ในการดูแลผู้ป่วย
-มีการนาระบบสารสนเทศมาใช้ ประโยชน์ ทางการพยาบาล
ด้ านการพัฒนาบุคลากรและวิชาการ
จุดเน้ น/ประเด็นการนิเทศ
1. แผนการพัฒนาบุคลากร
แนวทางการนิเทศ
- มีแผนการพัฒนาบุคลากรทางการ
พยาบาลเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
-มีการจัดฝึ กอบรมเพือ่ พัฒนาความรู้ และ
ทักษะการปฏิบตั ิงานภายในหน่ วยงาน
-บุคลากรทางการพยาบาลรับทราบ
แผนพัฒนาบุคลากรอย่ างทัว่ ถึง
2. แผนปฐมนิเทศบุคลากร
-จัดทาแผนปฐมนิเทศบุคลากรทางการ
พยาบาลทีบ่ รรจุใหม่
-มีการฝึ กอบรมก่ อนเริ่มการปฏิบต
ั ิงาน
เพือ่ สร้ างความมัน่ ใจในการปฏิบัติงาน
3. การจัดทา/ทบทวนคู่มอื การ
ปฏิบตั ิงาน
-มีค่ ูมอ
ื /ทบทวนคู่มอื การปฏิบตั ิงาน
-มีแผนการทบทวนคู่มอ
ื การปฏิบตั ิงาน
เครื่องมือ
- แบบบันทึกการนิเทศการ
พยาบาล
-แผนพัฒนาบุคลากร
-คู่มอ
ื การปฐมนิเทศ
-คู่มอ
ื มาตรฐานการพยาบาล
-ผลลัพธ์ และตัวชี้วด
ั ที่
เกีย่ วข้ อง
-การสั งเกตและสั มภาษณ์
องค์ประกอบที่ 5 ผลลัพธ์การนิเทศการพยาบาล
Input
-ผู้นิเทศ ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความพร้ อม
-อุปกรณ์ /เครื่องมือนิเทศ ความพอเพียง ความครบถ้ วน ความเหมาะสม
-แผนการนิเทศ ความครบถ้ วน ชัดเจน ความเหมาะสม
Process
-ขั้นตอนการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ เทคนิคการนิเทศ ความต่ อเนื่องของการนิเทศ การ
พัฒนาหลังการนิเทศ
Output/Outcome
-ผู้รับการนิเทศ (บุคลากรทุกระดับ) ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความพึงพอใจ
-ระบบการจัดบริการ ความสะดวก คล่องตัว ลดภาวะเสี่ ยงในการบริการ ลดค่ าใช้ จ่าย
-ผู้ป่วย เข้ าใจภาวการณ์ เจ็บป่ วย ไม่ เกิดภาวะแทรกซ้ อนทีป่ ้ องกันได้
การประเมินผลลัพธ์ การนิเทศทางการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาลที่ผ้ ปู ่ วยได้ รับจากการพยาบาล ตามตัวชี้วดั ต่ างๆที่กาหนด
(ผู้รับบริการได้ รับบริการทีม่ ีคุณภาพ)
2.
การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ)
- ผู้นิเทศมีทกั ษะการสอนและระดับความรู้ ทางวิชาการเพิม่ ขึน้
- ระดับสมรรถนะของผู้นิเทศเพิม่ ขึน้
- ระดับความสามารถในการดูแลผู้ป่วยเพิม่ ขึน้
- ระดับ KAP เพิม่ ขึน้
- ระดับความเหนื่อยหน่ ายลดลง ระดับพลังอานาจเพิม่ ขึน้
- วิชาชีพได้ รับการยอมรับเพิม่ มากขึน้
3.การประเมินความพึงพอใจของผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ
1.
การประเมินผลลัพธ์การนิเทศการพยาบาล
วางแผนพัฒนางาน
วางแผนพัฒนาคน
วางแผนพัฒนาระบบ
ขั้นตอนและเทคนิค วิธีการในการประเมินผลการนิเทศ
ทางการพยาบาล
1.
2.
3.
4.
กาหนดเป้าหมายและกาหนดมาตรฐานขั้นต่าของการร
ประเมินผล
การเก็บรวบรวมข้ อมูลเพือ่ นาสู่ การวิเคราะห์ สรุป ประเมินผล
การวิเคราะห์ ข้อมูลและการสรุ ปผลการนิเทศ
บันทึกผลการประเมินไว้ เป็ นหลักฐาน
ตัวอย่ างแบบสรุป/รายงานผลการนิเทศ
วันทีส่ รุป..............................หน่ วยงาน/บุคคลทีท่ าการนิเทศ.............................
การสรุป/รายงานผลการนิเทศด้ วยระบบ SBAR
ระบบ SBAR
Situation:S
Background:B
Assessment:A
Recommendation:R
ผลการนิเทศ
สถานการณ์ /ประเด็นทีผ่ ้ นู ิเทศเข้ าไปทา
การนิเทศ
ข้ อมูลประกอบทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
สถานการณ์
การประเมินข้ อมูลต่ างๆทีเ่ กีย่ วข้ องและ
กิจกรรมการนิเทศที่ดาเนินไปในครั้งนี้
ข้ อเสนอแนะจากการนิเทศครั้งนี้
ชื่อผู้นิเทศ.................................................
ตัวอย่ าง แบบบันทึกการนิเทศทางการพยาบาล
แผนกพยาบาล.................................................หอผู้ป่วย/หน่ วยงาน...................................
วันที.่ ..............................เดือน..........................ปี ..............................
จุดเน้ น/ประเด็นการ
นิเทศ
ตัวบ่ งชี้/ระดับ
คะแนน
ผลการนิเทศ
จุดเด่ น/โอกาส
พัฒนา
ข้ อเสนอแนะ
ตัวอย่าง แบบบันทึกการนิเทศหน้างาน
แผนกพยาบาล.................................................หอผู้ป่วย/หน่ วยงาน..............................................
วันที.่ ..............................เดือน..........................ปี ..............................
รายการ
1. การจัดการสิ่ งแวดล้ อม
- พืน้ เปี ยก/ลืน่
- ความสะอาด
- ความร้ อน/การระบาย
อากาศ
2. การจัดการความเสี่ ยง
3. การใช้ กระบวนการพยาบาล
ปัญหาทีพ่ บ
การแก้ ไขเบือ้ งต้ น
แบบฟอร์ มการเขียนแผนการนิเทศรายกรณี ตามสภาพปัญหาทีพ่ บตามหลัก 5W 1H
นิเทศใคร...........................................................(WHO)
นิเทศเรื่ องอะไร...............................................(What)
นิเทศที่ไหน......................................................(Where)
นิเทศเมื่อไหร่ .....................................................(When)
วัตถุประสงค์
กิจกรรมทีเ่ ลือกใช้ วิธีการ/เทคนิค/ทีใ่ ช้ ตัวชี้วดั /พฤติกรรม
(เลือกจาก 7
ในการนิเทศ (เขียน ทีต่ ้ องการในเกิด
กิจกรรม)
รายเอียดของการ
ทา ทั้งเทคนิค วิธี
คาพูด)
การประเมินผล
หลังการนิเทศ