มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา - เยอรมัน

Download Report

Transcript มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา - เยอรมัน

มาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษา
สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไทย-เยอรมัน (TGDE)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เนื้อหา
 มาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษา
 กระบวนการสหกิจศึกษา
 กระบวนการและมาตรฐาน
 ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
มาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษา
 จากที่ สกอ. ได้สนับสนุนให้ สถาบันอุดมศึกษา ดาเนินงานสหกิจศึกษาระหว่างปี
๒๕๔๕ – ๒๕๔๗
 มีการสารวจและประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ พบว่าปัญหาและอุปสรรคหลัก คือ
บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการของสหกิจศึกษา
 ทาให้การดาเนินงานสหกิจศึกษาขาดประสิทธิภาพ
 ไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบัติที่ดีได้
มาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษา
 ต้องเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานทางวิชาการตามเกณฑ์ สกอ. และมาตรฐานวิชาชีพ
ควบคุม
 ต้องเป็นการจัดประสบการณ์ตรงในการปฏิบัติงานจริงเต็มเวลาในสถานประกอบการ
 มาตรฐานการดาเนินงานต้องมีความยืดหยุ่น กาหนดเท่าที่จาเป็น เพื่อให้สถานศึกษา
และสถานประกอบการ มีโอกาสพัฒนาการดาเนินงานสหกิจศึกษาได้
 แต่ละมาตรฐานแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ มาตรฐานขั้นต่าและมาตรฐานส่งเสริม
กระบวนการสหกิจศึกษา
ก่อนการปฏิบัติงาน
ระหว่างการปฏิบัติงาน
หลังจากการปฏิบัติงาน
กระบวนการและมาตรฐาน
ก่อนการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา
6
กระบวนการและมาตรฐาน
ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 การเตรียมการขั้นต้น
 การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การรับรองคุณภาพงาน
 การเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 กระบวนการรับสมัครงาน
 การส่งตัวนักศึกษาไปสถานประกอบการ
7
การเตรียมการขั้นต้น
 ด้านหลักสูตร
 สอดคล้องกับเกณฑ์ของ สกอ. และสมาคมวิชาชีพ : มาตรฐานขั้นต่า
 จานวนหน่วยกิต ไม่ต่าว่า ๖ หน่วยกิต ในระบบทวิภาค : มาตรฐานขั้นต่า
 ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า ๑๖ สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง : มาตรฐานขั้นต่า
8
การเตรียมการขั้นต้น
ด้านการบริหารจัดการ
 ด้านบุคลากร : คณาจารย์นิเทศ เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง
 คณาจารย์นิเทศ
 ต้องมีประสบการณ์สอนไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาและได้ผ่านการอบรมหลักสูตรการนิเทศ ใน
หลักสูตรที่ สกอ. รับรอง : มาตรฐานขั้นต่า
 จัดระบบพี่เลี้ยงให้กับคณาจารย์ที่ไม่มีประสบการณ์การนิเทศ : มาตรฐานขั้นต่า
 เป็นคณาจารย์ในสาขาที่นักศึกษาสังกัดอยู่ : มาตรฐานขั้นต่า
9
การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การหารายชื่อของสถานประกอบการ
 องค์กรที่รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการ
 องค์กรวิชาชีพต่าง ๆ
 ข้อมูลสถานประกอบการที่เคยรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพรูปแบบอื่น
 สถานประกอบการที่เคยทาธุรกรรมกับทางมหาวิทยาลัย
 บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย เช่น อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา
 สถานประกอบการ หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ เอกชน ที่มีตาแหน่งงานตรง
กับสาขาวิชาชีพของนักศึกษา
10
การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การคัดเลือกสถานประกอบการ
 มีการประกอบธุรกิจ ตรงกับสาขาวิชาชีพ
 มีหน่วยงานภายใน ตรงกับสาขาวิชาชีพ
 ระยะทาง ระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา
 ความปลอดภัย
 การขอรับการเสนองานจากสถานประกอบการ
 ติดต่อประสานงานโดยตรง อาจใช้ช่องทางความคุ้นเคยของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย
 ให้เสนองานผ่านกระบวนการเอกสาร : มาตรฐานส่งเสริม
 ควรมีข้อมูลลักษณะงานเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการของนักศึกษา
11
การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การแนะนาสถานประกอบการในการเสนองาน
 ต้องมาจากความต้องการของสถานประกอบการ
 กาหนดลักษณะงาน / ปัญหา ที่ต้องการจะแก้ไข : มาตรฐานขั้นต่า
 ลักษณะงานต้องเป็นโครงงานหรืองานประจาที่เน้นประสบการณ์ตรงกับสาขาวิชาชีพ
 เลือกสาขาวิชา ที่มีความสามารถในการแก้ไขงาน / ปัญหา ที่กาหนด
 แจ้งความต้องการมายังสถานศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า
 กาหนดให้เสนองานมาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษา
12
การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การแนะนาสถานประกอบการในการเสนองาน
 กาหนดกระบวนการคัดเลือกนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า
 เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา
 เตรียมผู้นิเทศงานของสถานประกอบการ : มาตรฐานขั้นต่า
 มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพเดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมีความชานาญในสาขา
วิชาชีพเดียวกับนักศึกษา
 จานวนงานควรมีมากกว่าจานวนนักศึกษา : มาตรฐานส่งเสริม
 ตาแหน่งงานควรมีมากกว่าจานวนนักศึกษาอย่างน้อยร้อยละ ๑๐
13
การจัดหางานสหกิจศึกษา
 การแนะนาสถานประกอบการในการเสนองาน
 กาหนดผู้นิเทศงาน : มาตรฐานขั้นต่า
 กาหนดไว้ว่า ผู้นิเทศงานของสถานประกอบการ ต้องมีคุณวุฒิไม่ตากว่
่ าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพ
เดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมีความชานาญในสาขาวิชาชีพเดียวกับนักศึกษา
 เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ รวมไปถึงสวัสดิการแก่นักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องมีค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามเหมาะสมและจาเป็นตามลักษณะงาน
 มีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่เหมาะสมสาหรับการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 กาหนดกระบวนการคัดเลือกนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า
 เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา
14
กระบวนการรับรองคุณภาพงาน
 เป็นโครงงาน หรืองานประจาที่เน้นประสบการณ์ตรงกับสาขาวิชาชีพ : มาตรฐานขั้นต่า
 อาจารย์ประจาสาขาวิชาเป็นผู้รับรองงาน : มาตรฐานขั้นต่า
 คณาจารย์ประจาสาขาวิชาพิจารณารับรองงานก่อนให้นักศึกษาเลือก
 เป็นลักษณะงานที่ท้าทายความสามารถของนักศึกษา เป็นงานที่ไม่ง่าย ไม่ยากเกินไป
สามารถแสดงศักยภาพของตนอง : มาตรฐานขั้นต่า
 คณาจารย์ประจาสาขาวิชาประเมินคุณค่าทางวิชาการของงาน
 สามารถทางานหรือโครงงาน ได้แล้วเสร็จตามระยะเวลาการปฏิบัติงานของนักศึกษา
15
กระบวนการรับรองคุณภาพงาน
 ต้องมีค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามเหมาะสมและจาเป็นตามลักษณะงาน : มาตรฐานขั้นต่า
 มีความปลอดภัย ตามสาขาวิชาชีพ
16
การเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 สถานศึกษาต้องกาหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขทางวิชาการ : มาตรฐานขั้นต่า
 คุณสมบัติของนักศึกษา
 พิจารณาจากระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม/จานวนหน่วยกิตรวม
 ความประพฤติเรียบร้อยไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษทางวินัย : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องมีคุณสมบัติที่จะสาเร็จการศึกษาและไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษทางวินัย
 ผ่านรายวิชาบังคับพื้นฐานของสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องผ่านเงื่อนไขรายวิชาตามที่สถานศึกษากาหนด
 ผ่านกระบวนการเตรียมความพร้อม : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
17
การเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 กระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 เป็นรายวิชาหรือกิจกรรมเตรียมความพร้อม
 จานวนชั่วโมงการเตรียมความพร้อม รวมไม่น้อยการ ๓๐ ชั่วโมง ไม่นับรวมการ
ปฐมนิเทศ
 มาตรฐานขั้นต่า : มีรายวิชาเตรียมความพร้อมหรือกระบวนการเตรียมความพร้อม
นักศึกษา ไม่น้อยกว่า ๓๐ ชม.
 มาตรฐานขั้นต่า : เนื้อหาในการอบรมจาเป็นต่อการพัฒนาทักษะอาชีพ
18
การเตรียมความพร้อมนักศึกษา

เนื้อหาสาหรับเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 การเลือกอาชีพ สถานประกอบการ และการสมัครงาน
 การเขียนจดหมายและการสัมภาษณ์งาน
 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 การบริหารงานคุณภาพ
 เทคนิคการเขียนรายงานและการนาเสนอ
 ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
 การพัฒนาบุคลิกภาพ
 วัฒนธรรมองค์กร
 การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ
 ทักษะความคิดเชิงวิเคราะห์
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม
 ทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการตัดสินใจ
 ทักษะการวางแผน
19
กระบวนการรับสมัครงาน
 ติดประกาศงานที่ผ่านการรับรองงานคุณภาพให้นักศึกษาทราบ ตามแบบฟอร์มเสนอ
งาน : มาตรฐานส่งเสริม
 ควรมีข้อมูลลักษณะงานเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการของนักศึกษา
 ให้นักศึกษาเลือกสมัครงานตามความสมใจของตนเอง : มาตรฐานขั้นต่า
 เปิดโอกาสให้นักศึกษาเลือกสถานประกอบการ
 ควรกาหนดระยะเวลาที่สถานประกอบการตอบกลับ
 เมื่อสถานประกอบการตอบรับแล้ว ไม่อนุญาตให้เปลี่ยนสถานที่ปฏิบัติงาน
20
กระบวนการรับสมัครงาน
 ให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา ตามวิธีการที่สถานประกอบการกาหนด : มาตรฐานขั้นต่า
 เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา
 เอกสารประกอบการสมัครงาน
 จดหมายสมัครงาน ใบสมัครงานสหกิจศึกษา ใบแสดงผลการเรียน เอกสารอื่น
 มีการให้คาแนะนาแก่นักศึกษาที่ไม่ได้รับการคัดเลือก โดยให้สถานศึกษาเป็นผู้ประสานงาน :
มาตรฐานส่งเสริม
21
ก่อนส่งตัวนักศึกษาไปปฏิบัติงาน
 การปฐมนิเทศนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า ต้องมีการปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา
 การเตรียมตัวก่อนไปปฏิบัติงาน
 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นสถานประกอบการ
 ข้อมูลการเดินทาง ที่พัก
 ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้น ระหว่างการปฏิบัตงิ าน
 การปฏิบัติตนขณะที่ปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 ทบทวนกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน
การจัดทาเอกสารส่งตัวนักศึกษาเข้าปฏิบัติงาน
22
ก่อนส่งตัวนักศึกษาไปปฏิบัติงาน
การจัดทาเอกสารส่งตัวนักศึกษาเข้าปฏิบัติงาน
 การเตรียมเอกสารสาหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 เตรียมเอกสารสาหรับส่งข้อมูลกลับมายังมหาวิทยาลัย ระหว่างการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 เอกสารต่างๆ ควรสามารถดึงข้อมูล เพิ่มเติมได้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 มีการประชุมระหว่างผู้นิเทศงาน คณาจารย์นิเทศและนักศึกษา : มาตรฐานส่งเสริม
 ควรมีการพบปะกันระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ และผู้นิเทศงาน ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
23
การประเมินผลกระบวนการก่อนปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 กระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษา
 นักศึกษาต้องเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
 ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากาหนด
 มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม
 กระบวนการจัดหางาน
 มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสถานประกอบการ
 กระบวนการคัดเลือกและจับคู่ระหว่างนักศึกษากับสถานประกอบการ
 มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและสถานประกอบการต่อกระบวนการ
24
กระบวนการและมาตรฐาน
ระหว่างการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา
25
กระบวนการและมาตรฐาน
ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 ช่วงต้นของการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 ข้อมูลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ
 ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
26
ช่วงต้นของการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 สถานประกอบการทาการปฐมนิเทศนักศึกษา : มาตรฐานของสถานประกอบการ
 ต้องมีการปฐมนิเทศ สอนงาน และจัดให้นักศึกษาได้เห็นภาพรวมการดาเนินงานของสถาน
ประกอบการ ตลอดจนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
 ส่งตัวนักศึกษาไปยังแผนกที่ปฏิบัติงาน
 การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน : มาตรฐานขั้นต่า
 นักศึกษาได้รับการปฏิบัติเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานประกอบการ
 มีการกาหนดภาระงาน หรือหัวข้อโครงงาน ที่ตรงกับวิชาชีพและประสบการณ์การ
ทางาน
27
นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน : มาตรฐานส่งเสริม
 มีการอบรมเสริมทักษะเฉพาะที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
 ควรจัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสเผชิญปัญหาทีท่ ้าทาย ได้ไตร่ตรอง ได้สร้างความรู้
ใหม่ และประยุกต์ใช้ในสภาพการปฏิบัติงานจริงได้
28
นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 สถานประกอบการมอบหมายผู้นิเทศงานในส่วนของสถานประกอบการ มาตรฐานขั้นต่า
 มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพเดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมี
ความชานาญในสาขาวิชาชีพเดียวกับนักศึกษา
 มีการให้คาปรึกษา ติดตาม แนะนาการปฏิบัติงาน และประสานงานกับหน่วยงานภายใน
สถานประกอบการ
 ตรวจสาระรายงานและให้ข้อเสนอแนะในการเขียนรายงานสหกิจศึกษา
 ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา และรวบรวมข้อมูลเพื่อนาเสนอต่อสถานศึกษาและ
องค์กรของตน
29
ข้อมูลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 ข้อมูลพื้นฐานสถานประกอบการ
 ข้อมูลผู้นิเทศงาน
 หัวข้องาน / หัวข้อโครงงาน ที่ปฏิบัติ
 แผนการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 คณาจารย์นิเทศต้องได้รับเอกสารสาหรับการนิเทศ ก่อนการออกนิเทศอย่างน้อย ๗
วัน : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องบันทึกรายงานการปฏิบัติงานประจาวันหรือประจาสัปดาห์ : มาตรฐานขั้นต่า
30
การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ
 ต้องจัดให้มีการนิเทศของคณาจารย์นิเทศ : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องจัดให้คณาจารย์นิเทศเข้าไปนิเทศงานนักศึกษา ณ สถานประกอบการอย่างน้อย
๑ ครั้ง : มาตรฐานขั้นต่า
 เตรียมเอกสารประกอบการนิเทศงาน
 ต้องมีการนัดหมายสถานประกอบการเพื่อให้คณาจารย์นิเทศเข้ามานิเทศงานนักศึกษา
: มาตรฐานขั้นต่า
 คณาจารย์นิเทศ ต้องมีแผนการนิเทศนักศึกษา : มาตฐานขั้นต่า
31
การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ
 เข้าไปนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ : มาตรฐานขั้นต่า
 ประชุม ๒ ฝ่าย ระหว่าง คณาจารย์นิเทศกับนักศึกษาสหกิจศึกษา และระหว่างคณาจารย์นิเทศ
กับผู้นิเทศงาน
 ประชุม ๓ ฝ่าย ระหว่าง คณาจารย์นิเทศ นักศึกษาสหกิจศึกษา และผู้นิเทศงาน
 ใช้ระยะเวลาในการนิเทศงานอย่างน้อย ๑ ชั่วโมง : มาตรฐานขั้นต่า
32
ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 ต้องติดตามความก้าวหน้าของนักศึกษา ประเมินผลและให้ข้อเสนอแนะนักศึกษา ตาม
ความจาเป็นของแต่ละสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องส่งรายงานความก้าวหน้าต่อ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานไม่ช้ากว่าสัปดาห์ที่
๑๐ ของการปฏิบัติงาน : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานก่อนสิ้นสุดการ
ปฏิบัติงานและต้องแก้ไขตามข้อแนะนา : มาตรฐานขั้นต่า
 นักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ : มาตรฐานขั้นต่า
33
ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 ในช่วงเวลากึ่งกลางของการปฏิบัติงาน คณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนาเสนอความก้าวหน้า
ในการปฏิบัติงานของนักศึกษา ร่วมกับผู้นิเทศงาน : มาตราฐานส่งเสริม
 ในช่วงสัปดาห์สุดท้าย คณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนาเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ร่วมกับผู้นิเทศงาน และผู้บริหารองค์กร พร้อมทั้งประเมินผลงาน : มาตรฐานส่งเสริม
 นักศึกษาควรได้มีการนาเสนอผลการปฏิบัติงานและประสบการณ์ที่ได้รับ ต่อสถานประกอบการ
: มาตรฐานส่งเสริม
34
ก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
 ต้องจัดทารายงาน โดยรายงานต้องมีมาตรฐานเดียวกับรายงานทางวิชาการทั่วไป : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงานและต้อง
แก้ไขตามข้อแนะนา : มาตรฐานขั้นต่า
 นักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ : มาตรฐานขั้นต่า
35
การประเมินผลกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน
 กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : นักศึกษา
 ความรู้ ความสามารถทางวิชาการและการประยุกต์ใช้
 การปรับตัว และปฏิบัติตามกฎ ระเบียบในสถานประกอบการ
 ความก้าวหน้าของงานเป็นไปตามแผน
 การสื่อสารและการนาเสนอผลงาน
 ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการทางานด้วยตนเอง
 การนิเทศต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
36
การประเมินผลกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน
 กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : การดาเนินงาน
 ระยะเวลาที่คณาจารย์ได้รับเอกสารประกอบการนิเทศ
 มีการติดตามการนิเทศ
 ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อการนิเทศงาน กระบวนการติดต่อและ
การประสานงานการนิเทศ
 กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : คุณภาพการนิเทศงาน
 เวลาที่คณาจารย์ใช้ เพียงพอต่อความต้องการของนักศึกษา
 การนิเทศงานมีประโยชน์ต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ
37
กระบวนการและมาตรฐาน
หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
38
กระบวนการและมาตรฐาน
หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 การนาเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 รวบรวมเอกสารสาหรับการประเมินผล
 การประเมินและวัดผลการปฏิบัติงาน
 การสรุปผลการดาเนินงาน
 กิจกรรมเพื่อพัฒนาการดาเนินงานสหกิจศึกษา
39
การนาเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 ต้องจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศและ
คณาจารย์ประจาสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่า
 ผู้เข้าร่วมรับฟัง
 นักศึกษาที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 นักศึกษาในสาขาวิชา
 อาจารย์นิเทศ
 อาจารย์ประจาสาขาวิชา
การประเมินผลการจัดสัมมนา ดูจากร้อยละของคณาจารย์ที่เข้าร่วมการ
สัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
40
การนาเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 การประเมินพิจารณาจาก คุณภาพของการนาเสนอผลงาน ความรู้ทางวิชาการ ทักษะการ
นาเสนอ การถามตอบ : มาตรฐานขั้นต่า
 เชิญ ผู้นิเทศงานของสถานประกอบการเข้าร่วมสัมมนา : มาตรฐานส่งเสริม
 ควรจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์ประจา
สาขาวิชา และผู้นิเทศงาน
 คณาจารย์นิเทศควรตรวจรูปแบบการนาเสนอผลงาน และให้ข้อเสนอแนะแก่นักศึกษา :
มาตรฐานส่งเสริม
 ควรมีการสัมภาษณ์นักศึกษาสหกิจศึกษาโดยคณาจารย์นิเทศและคณาจารย์ประจาสาขาวิชา :
มาตรฐานส่งเสริม
41
ข้อมูลสาหรับการประเมินผลการปฏิบัติงาน
 ผลการประเมินของสถานประกอบการ ต่อการปฏิบัติงานของนักศึกษาตลอดการปฏิบัติงาน :
มาตรฐานขั้นต่า
 ประเมินจากความสามารถในการทางาน โดยสถานศึกษาต้องชี้แจงรายละเอียดให้นักศึกษาทราบ
 ผลการนิเทศงานของคณาจารย์นิเทศ : มาตรฐานขั้นต่า
 การนิเทศต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 ผลการนาเสนอผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่า
 การสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผล
 รายงานการปฏิบัติงาน / แบบบันทึกการปฏิบัติงาน
42
การประเมินและวัดผลการปฏิบัติงาน
 สัดส่วนการให้คะแนนของสถานประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 : มาตรฐานขั้นต่า
 ต้องมีสัดส่วนการประเมินผลจากสถานประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
 มาตรฐานไม่ได้กาหนดการให้ค่าระดับคะแนนว่าเป็น S/U หรือ A-F
 ควรแจ้งผลการประเมินจากผู้นิเทศงานให้กับนักศึกษาทราบ
 ผู้นิเทศงานควรให้ความคิดเห็นต่อจุดเด่น และข้อควรปรับปรุงของนักศึกษา
 คณาจารย์ต้องแจ้งข้อมูลการวัดและประเมินผลให้นักศึกษาทราบ
43
การสรุปผลการดาเนินงาน
 เก็บข้อมูลสถิติพื้นฐาน เช่น จานวนนักศึกษา จานวนสถานประกอบการ
 รวบรวมความพึงพอใจของสถานประกอบการ
 ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมแนวทางการแก้ไขปัญหา จัดทาเป็นคลังข้อมูลเพื่อ
ใช้ในการแก้ไขปัญหาในอนาคต
 แจ้งข้อมูลย้อนกลับไปยังสถานประกอบการ
 ควรจัดทาและปรับปรุงฐานข้อมูลสถานประกอบการ : มาตรฐานส่งเสริม
 เก็บข้อมูลผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงาน
44
กิจกรรมเพื่อพัฒนาการดาเนินงานสหกิจศึกษา
 การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา
 การพัฒนาหลักสูตร ด้านสหกิจศึกษา
 สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างยั่งยืน
 ปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินงานสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย
45
การประเมินผลกระบวนการหลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 นักศึกษาควรมีการประเมินพัฒนาการของตนเอง แต่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการวัดและ
ประเมินผล
 เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องประเมินความพร้อมของสถานประกอบการ
 สถานประกอบการประเมินการประสานงานของสถานศึกษาในภาพรวม
46
ขอบคุณครับ
สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไทย-เยอรมัน (TGDE)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
47