ปรัชญาสหกิจศึกษา - คณะผลิตกรรมการเกษตร

Download Report

Transcript ปรัชญาสหกิจศึกษา - คณะผลิตกรรมการเกษตร

1
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพงษ์ พวงงามชื่น
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
1. ปณิธานและภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา
 1.1
ปณิธาน
การสอน
ปณิธาน
ความเป็ นเลิศ
(Excellence)
ทางวิชาการ
(Academic)
ทุกภารกิจ
(Tasks)
การวิจัย
การบริการวิชาการ
การทะนุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม
การปรับแปลงถ่ายถอดและ
พัฒนาเทคโนโลยี
2
1. ปณิธานและภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา
1.2 ภารกิจด้านการสอน
ภารกิจด้ านการสอนเป็ นภารกิจหลักของอุดมศึกษาทุกแห่ง
ตามมาตรฐานวิชาการ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ
ตามความต้ องการของตลาดแรงงาน
การพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต
เป็ นส่วนหนึ่งของความเป็ นเลิศ
3
2. สหกิจศึกษา : ทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพ
บัณฑิต
2.1 แนวคิดหลักที่ทาให้ เกิดสหกิจศึกษา
แนวคิดหลักที่ทาให้ เกิด
สหกิจศึกษา
ความสาคัญของการเตรียมความ
พร้ อมด้ านการประกอบอาชีพ
(Career)และการทางาน
(Employability)
การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตตาม
ความต้ องการของตลาดแรงงาน
4
2. สหกิจศึกษา
2.2 การบูรณาการการเรียนกับการทางาน (Work Integrated Learning:
WIL)ในรูปแบบสหกิจศึกษา (Cooperative Education)
จัดให้ นักศึกษามีประสบการณ์ตรงโดยการปฏิบัติงานจริง
ในสถานประกอบการ
1
โดย
2
3
เป็ นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
เป็ นความรับผิดชอบร่วมของสถานศึกษาและสถาน
ประกอบการตามมาตรฐานสหกิจศึกษา
5
2. สหกิจศึกษา
2.3 ความหมาย
สหกิจศึกษา (Cooperative Education)
หมายถึง ระบบการศึกษาที่จัดให้ มีการเรียนการสอน
ในสถานศึกษาสลับกับการไปหาประสบการณ์ตรง
จากการปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการอย่างมี
ระบบ ด้ วยความร่วมมือจากสถานประกอบการและ
ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง เป็ นระบบการศึกษาที่ผสมผสาน
การเรียนกับการทางาน (Work Integrated
Learning : WIL)
6
สหกิจศึกษา
บูรณาการการเรียนกับการทางาน
พัฒนาอาชีพและสร้ างความพร้ อมในการทางาน
สถานศึกษา
สหกิจศึกษา
สถานประกอบการ
พัฒนาคุณภาพบัณฑิต
ตามมาตรฐานวิชาการ มาตรฐานวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
7
2. สหกิจศึกษา
2.4 ความสาคัญและประโยชน์ของสหกิจศึกษา
สหกิจศึกษาทวีความสาคัญมากขึ้น มีสถาบันอุดมศึกษาในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ใช้ สหกิจศึกษาเป็ นแนวการจัดการศึกษาระดับปริญญากว้ างขวางขึ้นในเกือบจะทุก
สาขาวิชา โดยมีเป้ าประสงค์ตรงกันคือ การเสริมคุณภาพบัณฑิต
ผ่านประสบการณ์ทางานในสถานประกอบการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
ตามมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งตรงกับความต้ องการของตลาดแรงงาน
ถือเป็ นส่วนสาคัญของการเตรียมบัณฑิตให้ พร้ อมที่จะเลือกอาชีพและเข้ าสู่ระบบ
การทางานทันทีท่จี บการศึกษาทาให้ บัณฑิตสหกิจศึกษามี วิชาชีวิต ที่ช่วยให้
“รู้จักตน รู้จักคน และรู้จักงาน”
8
3. วัตถุประสงค์ ของสหกิจศึกษา
เตรียมความพร้อมของนักศึกษาด้านการพัฒนาอาชีพ (Career Development)
และเสริมทักษะและประสบการณ์ให้พร้อมเข้าสู่ระบบการทางาน (Employability)
เพิม่ เติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการวิชาชีพและการพัฒนาตนเองแก่นกั ศึกษาในรูปแบบ
ที่มีคุณค่าเหนือกว่าการฝึ กงาน
เปิ ดโอกาสให้สถานประกอบการทั้งภาคเอกชนและภาครัฐบาลได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา
คุณภาพบัณฑิต
ให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทนั สมัยได้มาตรฐานและตรงกับความ
ต้องการของตลาดแรงงานมากยิง่ ขึ้ น
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษาผ่านนักศึกษาสหกิจ
ศึกษาและคณาจารย์นิเทศอันจะนาไปสู่ความร่วมมือที่กว้างขวางยิง่ ขึ้ น
9
4. ผลสัมฤทธิ์ของสหกิจศึกษา
ผลประเมินของสถาบันอุดมศึกษาและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
พบว่า
 บัณฑิตสหกิจศึกษาได้ งานเร็วกว่าและมากกว่ า
บัณฑิตที่ไม่ได้ ร่วมสหกิจศึกษา
 ผู้ประกอบการพอใจคุณภาพ บัณฑิตสหกิจศึกษา
สูงกว่าบัณฑิตที่ไม่ได้ ร่วมสหกิจศึกษา
 สถาบันอุดมศึกษาเห็นว่า ผูท
้ ี่ผ่านสหกิจศึกษามี
วุฒิภาวะ ความรับผิดชอบและมีวินัยสูงขึ้น
10
5. ปั จจัยแห่ งความสาเร็จในการจัดสหกิจศึกษา
1. ปัจจัยแห่งความสาเร็จหลัก คือ สถานศึกษากับสถานประกอบการ ถือเป็ น
ความรับผิดชอบร่วมกัน ในลักษณะ หุ้นส่วนสหกิจศึกษา (COOP Partnership)
เป็ นพันธกิจและภารกิจร่วมที่มีนโยบายและ แผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง
2. จัดเป็ นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาโดยถือเป็ นองค์ประกอบสาคัญของ
หลักสูตรดาเนินการเป็ นระบบครบกระบวนการตามมาตรฐานสหกิจศึกษาและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
11
5. ปั จจัยแห่ งความสาเร็จในการจัดสหกิจศึกษา (ต่ อ)
3. มีการกาหนดส่วนงานและบุคลากรผู้รับผิดชอบ
การบริหารและการจัดการสหกิจศึกษา ทั้งใน
สถานศึกษาและสถานประกอบการ
4. สร้ างความพร้ อมในองค์กรที่จะจัดสหกิจศึกษาให้
มีความพร้ อมทุกด้ านก่อนที่จะจัดสหกิจศึกษา
5. มีการติดตามประเมินผลการจัดสหกิจศึกษา
คู่ขนานกับการจัดเพื่อนาผลมาใช้ ในการแก้ ปัญหา
และพัฒนาการจัดสหกิจศึกษาให้ ดีย่งิ ขึ้น
12
6.แนวโน้ วการจัดสหกิจศึกษาที่ตอบสนองความต้ องการ
ของตลาดแรงงานในอนาคต
1.ตลาดแรงงาน
จะเป็ นตลาดแรงงานเสรี ท่ มี ีความเป็ นสากลมากขึน้
มีความเคลี่อนไหวของแรงงาน ความรู้ กว้ างขวางขึน้
มีมาตรฐานเป็ นสากลมากขึน้
2. การจัดสหกิจศึกษาที่
ตอบสนองความต้ อง
การของตลาดแรงงาน
ในอนาคต
ความรู้
ทักษะ
ภาษาและวัฒนธรรมการทางาน
จัดสหกิจศึกษานานาชาติ
โดย
พัฒนาหลักสูตร
ให้ ประสบการณ์ ทางานในประเทศเป้าหมาย
ร่ วมทาสหกิจศึกษาในสถานประกอบการที่มี
หน่ วยงานในประเทศต่ างๆ
13
จัดให้ มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและคณาจารย์
สหกิจศึกษากับประเทศเป้าหมาย