โปรแกรมการอบรมการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

Download Report

Transcript โปรแกรมการอบรมการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

โปรแกรมการอบรมการส่ งเสริมสุ ขภาพแนว
ใหม่ และการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุ ขภาพ
ผศ.ดร.รุ จริ า ดวงสงค์
แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ
แนวความคิด
 สิง่ กาหนดสุขภาพประกอบด้วย ลักษณะส่วนบุคคล
สิง่ แวดล้อม และ
การบริการสาธารณสุข
 การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
 องค์ประกอบการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย การสุขศึกษา การ
ป้องกันโรค และการอนามัยสิง่ แวดล้อม
สุ ขภาพ หมายถึง สภาวะร่ างกายและจิตใจ สมบูรณ์
แข็งแรง ไม่ เพียงแต่ ปราศจากโรคภัยเท่ านั้น รวมทั้งการ
ดารงชีวติ อยู่ในสั งคมอย่ างเป็ นสุ ข
รูปแบบของสุขภาพ (Health Model)
Health
Physical
Negative
ill health
Positive
Mental
True
Well being
Social
Fitness
Ill ness
Disease
Disability
etc.
สิง่ กาหนดสุขภาพ (Health Determinant)
สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ
สิง่ แวดล้อมทางสังคม
ภูมิศาสตร์ อากาศ ที่อยู่อาศัย นา้ ฯลฯ
การศึกษา อาชีพ รายได้ ความสัมพันธ์ ความเป็ นเขตเมือง ฯลฯ
ลักษณะส่วนบุคคล
อายุ เพศ ภูมิคมุ ้ กัน กรรมพันธุ์ พฤติกรรม
ฯลฯ
สุขภาพ
กาย ใจ อารมณ์ วิญญาณ
และ สังคม
การบริการสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา การฟื้ นฟูสภาพ ฯลฯ
1. ปั จจัยของบุคคล (Person)
1.1 อายุ
1.2 เพศ
1.3 พันธุกรรม
1.4 พฤติกรรม
2. สิง่ แวดล้อม (Environment)
2.1 สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment)
•ลักษณะทางภูมศิ าสตร์
•อากาศ
•ทีอ่ ยูอ่ าศัย
•น้า
•อาหาร
• เสียง
2. สิง่ แวดล้อม (Environment)
2.2 สิง่ แวดล้อมทางสังคม (Social Environment)
•วัฒนธรรม
• การเมือง
•การศึกษา
•สภาวะเศรษฐกิจ
3. การบริการสาธารณสุข (Health Service)
การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การรักษา
การฟื้ นฟูสภาพ ฯลฯ
3. การบริการสาธารณสุข (Health Service)
1.
2.
3.
4.
5.
ครอบคลุม ( Accessibility)
คุณภาพ (Quality)
เป็ นธรรม ( Equity)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ตรวจสอบได้ ( Accountability)
สิ่ งกาหนดสุ ขภาพ (HEALTH DETERMINANT)
บุคคล
สิ่ งแวดล้ อม
Health
(Well –being)
การบริการ
สาธารณสุ ข
รูปแบบการส่ งเสริมสุ ขภาพ
Health
education
Health
protection
Disease
prevention
ความหมาย
หมายถึง กระบวนการส่ งเสริมให้ ประชาชนเพิ่มสมรรถนะในการ
ควบคุมดูแลและพัฒนาสุ ขภาพตนเองเพื่อให้ สุขภาพของพวกเขา
ดีขึน้ นาไปสู่ การบรรลุการมีสภาวะสมบูรณ์ ทั้งร่ างกายและจิต
และอยู่ในสั งคมอย่ างเป็ นสุ ข บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลต้ องรู้ จักระบุ
สิ่ งทีต่ ้ องการทีเ่ หมาะสม และสามารถทาให้ บรรลุสิ่งที่ตนคาดหวัง
ไว้ รวมทั้งการจัดสิ่ งแวดล้ อมให้ เอือ้ ต่ อการมีสุขภาพดี ดังนั้นการ
ส่ งเสริมสุ ขภาพจึงเป็ นแนวคิดที่เน้ นการส่ งเสริมสุ ขภาพในระดับ
สั งคมและระดับบุคคล อย่ างไรก็ดีในการดารงชี วิตประจาวันไม่
เพียงแต่ มีชีวิตอยู่เท่ านั้ น การส่ งเสริ มสุ ขภาพจึงไม่ ใช่ การดู แล
รั กษาด้ า นสุ ข ภาพอย่ างเดีย ว แต่ ยัง เลยไปถึง การดารงชี วิตที่มี
สุ ขภาพดี นาสู่ การอยู่ดี กินดีของประชาชน (Ottawa Charter,
อ้างใน WHO, 1996)
แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ
 กลวิธีการดาเนินงานการส่ งเสริ มสุ ขภาพตามแนวทางของกฎบัตร
ออตตาวา
1 การสร้ างนโยบายสาธารณะเพือ่ ส่ งเสริมสุ ขภาพ (Building Healthy
Public Policy)
2 สร้ างสรรค์ สิ่งแวดล้ อมให้ เอือ้ ต่ อการมีสุขภาพดี (Creative Supportive
Environment)
3 เสริมสร้ างความเข้ มแข็งให้ แก่ ชุมชน (Strengthen Community
Action)
4 พัฒนาทักษะส่ วนบุคคล (Developed Personal Skill)
5 การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุ ข (Reorient Health Service)
มิตขิ องการส่ งเสริมสุ ขภาพ
6. SPORT &
CULTURE
5.CITIES
4. COMMUNITIES
3. WORKPLACES
2. SCHOOLS
1. FAMILIES
ENHANCEMENT
STRATEGIES
1.HEALTH EDUCATION /
PUBLIC INFORMATION
2. SOCIAL MARKETING
ADVOCACY3.
3.COALITION
BUILDING
4. COMMUNITY
DEVELOPMENT
5. PREVENTIVE HEALTH
SERVICE
6. LEGISLATION/
REGULATION
7. FISCAL POLICY
1. TOBACCO USE
2. ALCOHOL USE
3. DIETARY HABIT
4. PHYSICAL
ACTIVITY
5. SAFETY BEHAVIOR
6. SCREENING EARY
DETECTION
HEART HEALTH
MENTAL HEALTH
DENTAL HEALTH
SEXUAL HEALTH
CHILDREN
ADOLESCENTS
MEN
WOMEN
DISABILITY
ELDERY
พฤติกรรมสุขภาพ
หมายถึง การกระทาที่
ต่อเนือ่ งหรือการปฏิบตั ิเป็ นประจาจนเป็ น
นิสยั
พฤติกรรม
องค์ประกอบพฤติกรรม
พฤติกรรมด้ านพุทธพิสัย (Cognitive Domain)
พฤติกรรมด้ านเจตพิสัย (Affective Domain)
ความรู้ สึก ความทัศนคติ อารมณ์ ความศรัทธา
ความเชื่อ ค่ านิยม ฯลฯ
ประเภทพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมป้ องกันโรค (Prevention behavior)
พฤติกรรมเกีย
่ วกับการเจ็บป่ วย (Illness behavior)
การปฏิบัตต
ิ ัวเมื่อมีการเจ็บป่ วย
(Sick role – behavior)
สิง่ กาหนดพฤติกรรมสุขภาพ
1. บุคคลกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
2. ครอบครั วกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
3. สถานภาพทางสั งคมกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
5. กลุ่มบุคคลต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ
6. ศาสนากับพฤติกรรมสุ ขภาพ
7.เศรษฐกิจกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
8. การเมืองกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
การวิเคราะห์ปัจจัยเสีย่ งต่อการเกิดโรค
ปั จจัยนา
คือปั จจัยภายในตัวบุคคล
ปั จจัยเอื้อ คือปั จจัยสิง่ แวดล้อมที่เอื้อต่อการมีความเสีย่ ง
ปั จจัยเสริม คือปั จจัยทางสังคมหรือกลุ่มบุคคลที่มีผลต่อความ
เสีย่ งต่อการเกิดโรค
การศึกษาและวินจิ ฉัยพฤติกรรมเสีย่ ง
การสร้ างแบบสอบถามเพือ
่ ศึกษาพฤติกรรมเสี่ ยงต่ อ
โรคต่ างๆ
วิธีการสั มภาษณ์ เจาะลึก (In-depth interview )
การสนทนากลุ่ม
ทฤษฎีทางพฤติกรรม
 ทฤษฎีที่ใช้ วน
ิ ิจฉัยพฤติกรรม คือ PRECEDE framework
 ทฤษฎีทางพฤติกรรมทีน
่ ามาประใช้ ปรับพฤติกรรม ได้ แก่

PRECEDE PROCEED Model
 Theory of
Reason Action
 Health Belief Model (HBM)
 Social Support
 Social learning Theory (SLT)
 Empowerment Education Model
 Trans theoretical Model (Stage of change)
 Self – help group
หลักการปรับพฤติกรรม
ข้อควรคานึง
ปั จจัยที่ทาให้เกิดพฤติกรรม
หลักการพัฒนาพฤติกรรม
ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
กลวิธี การปรับพฤติกรรมของบุคคล
กาหนดเป้าหมายต้องการ
่น
ตัง้ เป้าพฤติกรรมที่ตอ้ งการปรับเปลีย
จัดให้มีการควบคุมตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
่
การสร้างคามัน
สัญญา หรือความมุ่งมัน่
การวางแผนในการปรับพฤติกรรม
รู ปแบบการวางแผน Model for Health Education
Planning (MHPE) แบ่งเป็ น 6 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 (Phase 1 Initiate) เป็ นระยะเริ่มแรกของการวางแผน
 1.เข้ าใจปัญหาของกลุ่มเป้าหมายและเกีย
่ วกับระบบบางอย่ าง
 2. ทาสั ญญาข้ อตกลง
 3. สร้ างความตระหนักต่ อประชาชนเกีย
่ วกับปัญหานั้น
การวางแผนในการปรับพฤติกรรม
ระยะที่ 2 (Phase 2 Need Assessment) การหาปัญหาหรือ
กาหนดปัญหา เป็ นระยะทีผ่ ู้วางแผนต้ องพิจารณาปัญหาที่ผ่านมา
เป็ นอย่ างไร โดยการพิจารณาวิเคราะห์ ปัญหาจากข้ อมูลทีไ่ ด้
รวบรวมไว้
 ระยะที่ 3 (Phase 3 Goal Setting) การกาหนดเป้าประสงค์ ของ
แผนบนพืน้ ฐานของปัญหาและการต้ องการแก้ไข ผู้วางแผนต้ อง
พิจารณากาหนดกลวิธีในการดาเนินกิจกรรมต่ างๆเพือ่ บรรลุ
เป้าประสงค์

การวางแผนในการปรับพฤติกรรม
ระยะที่ 4 (Phase 4 Planning and Programming) เป็ นการ
กาหนดกิจกรรม ออกแบบเครื่องมือ ในการบริหารจัดการกาหนด
กิจกรรม

ระยะที่ 5 (Phase 5 Implementations) เป็ นการดาเนิน
กิจกรรมตามแผนทีว่ างไว้

ระยะที่ 6 (Phase 6 Evaluation) เป็ นระยะประเมินผล
