สมเกียรติ รัตนวิฑ ูรย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพท.น่าน เขต 1 นวัตกรรมทีค่ รู เป็ นผู้ใช้ เช่น แผนการสอน คู่มือครู เอกสาร ประกอบการสอน หนังสื ออ้างอิง เครื่ องมือวัดผล ชุดการสอน ฯลฯ.

Download Report

Transcript สมเกียรติ รัตนวิฑ ูรย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพท.น่าน เขต 1 นวัตกรรมทีค่ รู เป็ นผู้ใช้ เช่น แผนการสอน คู่มือครู เอกสาร ประกอบการสอน หนังสื ออ้างอิง เครื่ องมือวัดผล ชุดการสอน ฯลฯ.

สมเกียรติ รัตนวิฑ ูรย์
ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพท.น่าน เขต 1
นวัตกรรมทีค่ รู เป็ นผู้ใช้
เช่น แผนการสอน คู่มือครู เอกสาร
ประกอบการสอน หนังสื ออ้างอิง
เครื่ องมือวัดผล ชุดการสอน ฯลฯ
นวัตกรรมทีน่ ักเรียนเป็ นผู้ใช้
เช่น บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เอกสาร
ประกอบการเรี ยน ชุดฝึ กปฏิบตั ิ ใบงาน
แบบฝึ ก หนังสื อเสริ มประสบการณ์ ชุด
เกม ชุดเพลง การ์ตูน ฯลฯ
นวัตกรรมทีเ่ ป็ นวัสดุ
เช่น เอกสาร แผ่นป้ ายนิเทศ แถบ
บันทึกเสี ยง CD VCD DVD ชุดการ
สอน แบบฝึ ก ฯลฯ
นวัตกรรมทีเ่ ป็ นอุปกรณ์
เช่น เครื่ องฉายข้ามศีรษะ จอฉายภาพ
เครื่ องบันทึกเสี ยง เครื่ องคอมพิวเตอร์
ฯลฯ
นวัตกรรมทีเ่ ป็ นวิธีการ
เช่น กิจกรรมการเรี ยนรู ้ เทคนิคการสอน
การจัดนิทรรศการ เพลง เกม ฯลฯ
ประเภทชุดการสอน
 ชุดการสอนสาหรับครู
 ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
ชุดการสอนแบบรายบุคคล

ชุดการสอนสาหรับครู
1. กล่ อง/กระเป๋ า สาหรับบรรจุชุดการสอน
2. คู่มอื สาหรับครู ซึ่ งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ-คาชี้แจงใน
การใช้ชุดการสอน-ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง-เนื้อหา
สาระ-การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้-สื่ อที่ใช้ประกอบ
การสอน-วิธีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ชุดการสอนแบบศูนย์ การเรียน
1. กล่ อง/กระเป๋ า สาหรับบรรจุชุดการสอน
2. คู่มอื ครู
3. ซองกิจกรรมของแต่ ละศูนย์ ย่อย
4. แบบทดสอบก่ อน-หลัง ทากิจกรรมในศูนย์ ย่อย
5. เฉลยแบบทดสอบก่ อน-หลังทากิจกรรม
ชุดการสอนแบบรายบุคคล
1. กล่ อง/กระเป๋ า/ซองบรรจุชุดการสอน
2. คู่มอื การใช้ ชุดการสอน
3. เนือ้ หาสาระ/กิจกรรม/ประสบการณ์ ซึ่งจัดเตรียมไว้ ในสื่ อ
รู ปแบบต่ าง ๆ เช่ น เอกสาร วีดทิ ศั น์ แถบบันทึกเสี ยง สไลด์
แผ่ นดิสเกทคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
4. แบบทดสอบก่ อน-หลังเรียน
5. เฉลยแบบทดสอบก่ อน-หลังเรียน
ขั้นตอนการสร้ างชุดการสอน
1. กาหนดเนือ้ หาสาระทีจ่ ะให้ ผู้เรียนได้ เรียนรู้
2. วิเคราะห์ เนือ้ หาสาระ
3. กาหนดความคิดรวบยอดของแต่ ละหน่ วยของชุดการสอน
4. กาหนดผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวังเชิงพฤติกรรมของแต่ ละหน่ วย
5. กาหนดประสบการณ์ ของแต่ ละหน่ วย
6. กาหนดกิจกรรมให้ ผู้เรียนปฏิบัติในแต่ ละหน่ วย
ขั้นตอนการสร้ างชุดการสอน(ต่ อ)
7. กาหนดสื่อที่ต้องใช้ ปฏิบัติกจิ กรรมในแต่ ละหน่ วยย่อย
8. ผลิตสื่ อตามที่กาหนดในขั้นที่ 7
9. กาหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้
10. สร้ างเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
11. หาประสิ ทธิภาพของชุ ดการสอน
บทเรียนสาเร็จรู ป/โปรแกรม
บทเรียนโปรแกรม : เป็ นระบบการเสนอบทเรียนอย่ างมี
ระเบียบทีละเล็กทีละน้ อยแก่ผู้เรียน บทเรียนแต่ ละตอนจะมีเรื่องทีจ่ ะให้
ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ และจะมีปัญหาถามเกีย่ วกับ
เรื่องนั้นโดยตรง เพือ่ ให้ ผู้เรียนตอบปัญหานั้น จากนั้นก็จะเฉลยคาตอบที่
ถูกเกีย่ วกับเรื่องนั้นโดยตรง เพือ่ ให้ ผู้เรียนตอบปัญหานั้น จากนั้นก็จะ
เฉลยคาตอบทีถ่ ูกต้ องไว้
ชนิดของบทเรียนสาเร็จรู ป/โปรแกรม
1. บทเรียนโปรแกรมแบบเชิงเส้ นหรือเส้ นตรง (Linear
Progranmme)
กรอบยืน 1 กรอบยืน 2 กรอบยืน 3 กรอบจบ
บทเรียนโปรแกรมแบบแตกสาขา
สาขา
กรอบยืน 1
สาขา
สาขา
กรอบยืน 2
สาขา
สาขา
กรอบยืน 3
สาขา
กรอบจบ
การแตกสาขาลักษณะ Remedial Loops
กรอบยืน 1 กรอบยืน 2 กรอบยืน 3 กรอบจบ
สาขา
สาขา
สาขา
สาขา
การแตกสาขาลักษณะSecondary Tracks
กรอบยืน 1 กรอบยืน 2 กรอบยืน 3 กรอบจบ
สาขา
สาขา
สาขา
สาขา
สาขา
สาขา
การแตกสาขาลักษณะ Gate Frame
กรอบเริ่มต้ น
เดินหน้ า
กรอบยืน 1 กรอบยืน 2 กรอบยืน 3 กรอบจบ
ถอยหลัง
ข้ อควรคานึงในการสร้ างบทเรียนสาเร็จรูป
1. เนือ้ หาสาระของวิชานั้นไม่เปลีย่ นแปลงบ่ อย ๆ
2. หลีกเลีย่ งการเพิม่ เติมเนือ้ หาสาระ
3. เป็ นแบบเรียนสาเร็จรู ปทีส่ ามารถลดภาระการสอนของครู ได้
4. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และปฏิบัตกิ จิ กรรมในแบบเรียนสาเร็จรู ปได้ ด้วยตนเอง
5. ใช้ สอนซ่ อมเสริมได้
6. ผลทีไ่ ด้ จากการประเมินความรู้ ทไี่ ด้ จากการเรียนรู้ จากแบบเรียนสาเร็จรู ป วัด
ได้ ตรงกับผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวังอย่ างแท้ จริง
ข้ อควรคานึงในการสร้ างบทเรียนสาเร็จรูป(ต่ อ)
7. สร้ างแบบเรียนสาเร็จรูป สาหรับเนือ้ หาทีผ่ ู้สร้ างถนัด
8. ควรเลือกเนือ้ หาสาระทีผ่ ู้เรียนส่ วนใหญ่ มีผลการเรียนไม่ ค่อยดี
9. ใช้ ภาษาในแบบเรียนสาเร็จรูป ให้ เหมาะกับประสบการณ์ และวัยของ
ผู้เรียน
10.ให้ มีการทดสอบก่อน และหลังเรียน
11. ให้ มีการตรวจคาตอบทุกครั้งทีม่ คี าถาม เพือ่ เป็ นการเสริมแรงแก่
ผู้เรียน
ขั้นตอนการสร้ างบทเรียนสาเร็จรูป
1. กาหนดเนือ้ หา และผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวังปลายทาง ในเรื่องทีจ่ ะสร้ าง
บทเรียนสาเร็จรูป
2. สร้ างข้ อทดสอบเป็ นรายผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง
3. กาหนดโครงสร้ างของบทเรียนสาเร็จรูป เพือ่ กาหนดเวลาเรียนรู้แต่ ละเนือ้ หา
4. กาหนดโครงสร้ างย่ อยของบทเรียนสาเร็จรูป โดยนาผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง
มากาหนดเป็ นผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวังย่ อย(นาทาง) รวมทั้งกาหนดเนือ้ หา
ย่ อย เป็ นลาดับ จากง่ ายไปหายาก
ขั้นตอนการสร้ างบทเรียนสาเร็จรูป
5. ลงมือสร้ างบทเรียนสาเร็จรู ป
6. นาบทเรียนสาเร็จรู ป ไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญตรวจสอบ
7. ทดลองหาประสิ ทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรู ป
จิตวิทยาทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานของบทเรียนสาเร็จรูป
1. ทฤษฎีของธอร์ นไดด์
1.1 กฎแห่ งผล (Law of Effect)
1.2 กฎแห่ งการฝึ กหัด (Law of Exercise)
1.3 กฎแห่ งความพร้ อม
(Law of Readiness)
2. ทฤษฎีของสกินเนอร์
หลักการเสริ มแรงผูเ้ รี ยนจะเกิดกาลังใจต้องการเรี ยนต่อ
เมื่อได้รับการเสริ มแรงในขั้นตอนที่เหมาะสม การ
เสริ มแรงของบทเรี ยนโปรแกรมนั้น ใช้การเฉลย
คาตอบให้ทราบทันทีและพยายามหาวิธีการ เพื่อไม่ให้
เกิดการตอบสนองที่ผดิ พลาดโดยการจัดเสนอความรู ้
ให้ต่อเนื่องทีละขั้นอย่างละเอียด
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI)
การนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ เป็ นเครื่องมือในการเรียนการสอนนั้น จะ
กระทาโดยเนือ้ หาวิชา แบบฝึ กหัดและการทดสอบจะถูกพัฒนาขึน้
ในรู ปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมักเรียกว่ า Course
Ware ผู้เรียนจะเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
คอมพิวเตอร์ จะสามารถเสนอเนือ้ หาวิชาซึ่งอาจเป็ นทั้งในรู ป
ตัวหนังสื อและภาพกราฟิ ค สามารถถามคาถามรับคาตอบจาก
ผู้เรียนตรวจคาตอบและแสดงผลการเรียนในรู ป ข้ อมูลย้ อนกลับ
(Feed Back)
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
1.Drill and Practice
2.Tutorials
3.Instruction
Games
4.Simulations
5.Problem Solving
สื่ อวิดีทัศน์
การผลิตวีดีทศั น์ดว้ ยตนเอง ในกรณี น้ ีถือว่าเป็ นนวัตกรรมการ
เรี ยนการสอนได้แต่ผผู ้ ลิตจะต้องมีอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือ
ต่าง ๆ ค่อนข้างพร้อมสาหรับใช้ประกอบในการผลิตสื่ อ
วีดิทศั น์ เช่น กล้องโทรทัศน์ เครื่ องบันทึกภาพ จอภาพ
เป็ นต้น การผลิตวีดิทศั น์ดว้ ยตนเองอาจแบ่งเป็ น 2
ลักษณะคือ
ลักษณะ
1. เป็ นวีดิทศั น์ ทคี่ รูผู้สอนอัดจากรายการโทรทัศน์ ต่าง ๆ หรือจาก
วีดิทศั น์ สาเร็จรูปทีม่ ีอยู่แล้ว และนามาตัดต่ อเองเพือ่ ให้ สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ เนือ้ หาสาระและเวลาทีจ่ ะใช้ ในการเรียนการสอน
2. เป็ นวีดิทศั น์ ทคี่ รูผู้สอนถ่ ายภาพต่ าง ๆ เองเป็ นส่ วนใหญ่ เขียน
บทโทรทัศน์ หรือสคริปส์ ด้วยตนเองและนามาตัดต่ อ จัดทาวีดิ
ทัศน์ สาหรับใช้ ในการเรียนการสอนเอง
เอกสารประกอบการสอน
ส่ วนประกอบ
ส่ วนต้ น ประกอบด้ วยปกหน้ า-ปกรอง-คานาสารบัญ-คาอธิบายรายวิชา(ลักษณะวิชา, เนือ้ หา
สาระ, กิจกรรมการเรียนรู้ ,สื่ อการจัดการเรียนรู้
, และการวัดผลการเรียนรู้ )
ส่ วนเนือ้ เรื่อง
ได้ แก่ เนือ้ หาของแต่ ละบท/เรื่อง ประกอบด้ วย จุดประสงค์
ปลายทาง-จุดประสงค์ นาทาง-แนวคิด-หัวข้ อเนือ้ หา
สาระ-กิจกรรมการเรียนรู้ ,สื่ อการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมท้ ายบท/เรื่อง-หนังสื ออ่ านประกอบ-หนังสื อ
อ้ างอิง
ส่ วนท้ ายเล่ ม
ประกอบด้ วย ภาคผนวก-บรรณานุกรม-อภิธานศัพท์ ดรรชนี
ขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
1. สั งเกตปัญหาทีพ่ บจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แล้วบันทึกรวบรวม
ปัญหาไว้
2. ศึกษาสาเหตุของปัญหา แล้วพิจารณาเลือกปัญหาสาคัญมาหาแนว
ทางการแก้ไข
3. ศึกษาหลักสู ตรของรายวิชาทีส่ อน และเนือ้ หาทีเ่ ป็ นปัญหากับผู้เรียน
4. วิเคราะห์ และกาหนดจุดประสงค์ , เนือ้ หา, และกิจกรรมการ
เรียนรู้
5. กาหนดโครงร่ าง กระบวนการแก้ปัญหา โดยแยกออกเป็ นเนือ้ หาย่ อย ๆ
หรือเป็ นตอน ๆ
ขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
6. ศึกษารู ปแบบ และหลักการเขียนเอกสารประกอบการ
สอน
7. กาหนดส่ วนประกอบภายในเอกสารประกอบการสอน
8. รวบรวมข้ อมูล เพือ่ นามาเขียนรายละเอียดของเนือ้ หา
9. ลงมือเขียนรายละเอียดของเนือ้ หาของแต่ ละเนือ้ หา/
ตอนย่ อย
ขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
10. ให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ(ครู ทสี่ อนหมวดวิชาเดียวกัน หรือ
บุคคลทีเ่ หมาะสม)ตรวจสอบ ความถูกต้ อง และความ
เหมาะสม
11. นาไปทดลองใช้ ในการเรียนรู้
12. ประเมินผลการนาเอกสารประกอบการสอนไปใช้
13. ปรับปรุงแก้ ไขส่ วนทีบ่ กพร่ อง
แบบฝึ กหัด/แบบฝึ ก
องค์ ประกอบของแบบฝึ กหัด/แบบฝึ ก มีดังนี้
1. คาชี้แจง(การใช้ /ทาแบบฝึ กหัด)
2. ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง
3. เนือ้ หาสาระ/หลักการ ทฤษฎี
4. กิจกรรม/โจทย์ /คาถาม/ประเด็นให้ ฝึก
5. แบบทดสอบ(ตามผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง)
6. เฉลยแบบทดสอบ