สถานการณ์สู่โครงงานวิทยาศาสตร์
Download
Report
Transcript สถานการณ์สู่โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
ทาโครงงานเรื่ องอะไรดี
หัวข้ อโครงงาน
ควรมาจากปั ญหา คาถาม
ความอยากรู้อยากเห็น
ฐานข้ อมูลบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ สสวท.
http://elib.ipst.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=gsf&frm=simsch&db=scp&skin=u&lang=1
คลิป เปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนแสดงความคิดสร้ างสรรค์
http://www.youtube.com/watch?v=B29O_M4x6dc
หัวข้ อโครงงานมาจากไหน
จุดประกาย จากการรับรู้ รับฟั ง ข้ อมูลข่าวสาร
การเยี่ยมชมสถานที่ตา่ งๆ
กิจกรรมการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน
งานอดิเรก
ต่อยอดจากโครงงานเดิมที่ทาไว้ แล้ ว
การสนทนากับบุคคลต่างๆ
การสังเกตปรากฏการณ์ตา่ งๆ รอบตัว
การพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้ อโครงงาน
ความรู้ ทักษะ
วัสดุ อุปกรณ์
แหล่งเรี ยนรู้
เวลา
อาจารย์ที่ปรึกษา
ความปลอดภัย
งบประมาณ
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้ อง
รวมไปถึงการรวบรวมข้ อมูลในรูปแบบอื่น เช่น การขอคาปรึ กษา
การสารวจวัสดุอปุ กรณ์ การสารวจเบื ้องต้ น
รวบรวมข้ อมูลอย่างเป็ นระบบ และจดบันทึกไว้ เป็ นหลักฐาน ควร
จัดแสดงสมุดบันทึกพร้ อมการจัดแสดงโครงงาน
ช่วยในการตัดสินใจเลือกหัวข้ อโครงงาน กาหนดขอบข่ายของ
เรื่ องที่จะศึกษาให้ เฉพาะเจาะจง
ช่วยให้ สามารถออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานได้
อย่างเหมาะสม
ต้ องศึกษาข้ อมูล ก่ อนเริ่ มทาโครงงาน
การเขียนเค้ าโครง - มีความสาคัญอย่างไร
เขียนถ่ายทอดแนวคิดให้ อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาเพื่อให้
ความเห็นชอบ
วางแผนการทางานให้ มีประสิทธิภาพ ทันตามกาหนดเวลา
อยูใ่ นงบประมาณ
หัวข้ อในเค้ าโครง
ชื่อโครงงาน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อที่ปรึกษา
ที่มาและความสาคัญ
จุดมุ่งหมาย
สมมติฐาน
วิธีดาเนินงาน: วัสดุอป
ุ กรณ์ที่ต้องใช้ , แนวการศึกษาค้ นคว้ า
แผนปฏิบตั ิงาน
ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
เอกสารอ้ างอิง
ชื่อโครงงาน
ควรสื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์
มีความเฉพาะเจาะจง กะทัดรัด ดึงดูดความสนใจ
กิจกรรม จับคูก่ นั เลือกโครงงานที่ตงชื
ั ้ ่อได้ ดีที่สดุ ให้ เหตุผลประกอบ
ขมิ ้นกับการเพิ่มคุณภาพยางแผ่น
ความลาดเอียงของพื ้นภาชนะที่เหมาะสม และการหมุนวนของ
น ้าในภาชนะที่ใช้ เลี ้ยงปลา มีผลต่อการขจัดสิ่งปฏิกลู ได้ รวดเร็ว
คลีนิคไก่
ที่มาและความสาคัญ
แสดงถึงความเข้ าใจสถานการณ์ ปั ญหา
แสดงว่าผู้ทาโครงงานได้ ศกึ ษาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง
แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างสถานการณ์กบ
ั คาถามวิจยั
สื่อสารว่าเหตุใดจึงทาโครงงานนี ้ และทาแล้ วจะได้ ผล หรื อได้
ประโยชน์อย่างไร
รู ปแบบการเขียน บทนา เนื ้อหา สรุ ป
ที่มาและความสาคัญ
ปั ญหาที่พบมาก
◦ การคัดลอกข้ อมูล
◦ ข้ อมูลไม่เกี่ยวข้ องกับโครงงาน
อภิปราย เลือกหัวข้ อโครงงาน 1 หัวข้ อ เขียนรายการว่าในส่วน
ที่มาและความสาคัญ ของโครงงานที่เลือก ควรมีข้อมูลใดบ้ าง
◦ น ้ามะขามเปี ยกช่วยในการติดสีของผ้ า
◦ ภูมิประเทศในยุคดึกดาบรรพ์ของท้ องถิ่นอาเภอตาคลีโดยอาศัยซากดึก
ดาบรรพ์และการลาดับชันหิ
้ นเป็ นตัวชี ้วัด
◦ ครี ม IPA ผักบุ้งทะเลต้ านอักเสบและลบล้ างพิษแมงกะพรุน
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้ นคว้ า
ปฏิบตั ิได้ วัดได้
อ่านเข้ าใจง่าย
เชื่อมโยงกับคาถามวิจยั
ถ้ ามีหลายประเด็นควรระบุเป็ นข้ อๆ
ตัวอย่าง
นาวัสดุที่มีอยูใ่ นธรรมชาติมาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์
2. ทดลองหาวัสดุที่จะมาใช้ ทาผงสีที่มีคณ
ุ ภาพที่สดุ
3. ทดลองดูวา่ ผงสีที่ได้ เมื่อเก็บไว้ เป็ นเวลานาน ผงสียงั มีคณ
ุ ภาพดี
หรื อไม่
4. ทดลองดูวา่ เมื่อนาผงสีไปใช้ (นาไปผสมกับน ้าแล้ วระบายสี)
แล้ ว สีที่ระบายไปแล้ วจะยังมีคณ
ุ ภาพดีหรื อไม่
5. ฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
6. เพื่อฝึ กการทางานเป็ นกลุม
่
7. สามารถผลิตผงสีดงั กล่าวไว้ ใช้ เองได้ ด้วยตัวเอง
1.
สมมติฐาน
คาดคะเนคาตอบ
ช่วยในการระบุลกั ษณะข้ อมูลที่ต้องการรวบรวม
กาหนดกรอบแนวทางในการออกแบบการทดลอง
-
ถ้ ากระแสไฟฟ้ามีผลเร่งการงอกของเห็ดนางฟ้า ดังนันถุ
้ งเชื ้อเห็ด
ที่ผา่ นกระแสไฟฟ้าในปริมาณเหมาะสมจะงอกมากกว่า ถุงที่
ไม่ได้ ผ่านกระแสไฟฟ้า
วิธีดาเนินงาน
วัสดุอปุ กรณ์ที่ต้องใช้
◦ เขียนรายการให้ ครบถ้ วนระบุทงรายการ
ั้
และปริมาณที่จะต้ องใช้
แนวการศึกษาค้ นคว้ า
◦ กาหนดขอบเขตโครงงาน - ประชากร กลุม่ ตัวอย่าง ระบุตวั แปรที่ศกึ ษา
◦ เตรี ยมการเกี่ยวกับวิธีการและเครื่ องมือที่จะใช้ เก็บรวบรวมข้ อมูล
◦ เตรี ยมการเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
แผนปฏิบตั ิงาน
ระบุกิจกรรมที่ต้องทาให้ ชดั เจนว่าจะทาอะไรบ้ าง ตามลาดับ
ก่อนหลัง
วางแผนว่าแต่ละกิจกรรมจะใช้ เวลามากน้ อยแค่ไหน
ระบุตวั บุคคลที่รับผิดชอบในแต่ละขันตอน
้
ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
ระบุประโยชน์ที่จะเกิดขึ ้น
พร้ อมระบุวา่ ประโยชน์นนเกิ
ั ้ ดขึ ้นกับใคร
มากน้ อยเพียงใด
เอกสารอ้ างอิง
ระบุเอกสารและแหล่งต่างๆ ที่ใช้ อ้างอิง ตามลาดับอักษร โดยเรี ยง
ภาษาไทยขึ ้นก่อน
หลีกเลี่ยงการอ้ างอิงแบบ ยกมาทังหมด
้
การทาโครงงาน สร้ างทักษะชีวิตที่ยงั่ ยืน
การเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
การประเมินค่า
การตัดสินใจ
การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า ในสถานการณ์ที่มีข้อจากัด
การรับฟั งความคิดเห็นซึง่ กันและกัน
สมาชิกกล่ มุ ที่ 1
นายคุณานนท์
น.ส.สมบัติ
น.ส.นัชชา
ดาวนุไร
คุ่ยต่ วน
สุ ขขี
สมาชิกกล่ มุ ที่ 2
นายอัครพล
ตามลิขติ
นายยุรนันท์
คงอยู่ดี
น.ส.อิชญาพร
พรรณพลีวรรณ
น.ส.ศิริพร
ระภานุสิทธิ์
น.ส.รุ่ งรัตน์
พันธ์ ศรีเพ็ชร
น.ส.ณัฎฐาเนตร เม่ นสุ ข
สมาชิกกล่ มุ ที่ 3
นายสรายุทธ
นายพาทริค
น.ส.เสาวลักษณ์
น.ส.ศศิธร
น.ส.เมธาวี
น.ส.คัทลียา
มั่นประเสริฐ
เครบเบอร์
พูดเพราะ
ปฏิภาณบุญนา
วิริยะปิ ยนันท์
พึง่ ไพฑูรย์
สมาชิกกล่ มุ ที่ 4
นายสมเกียรติ
นายบัญชา
น.ส.สุ ภาวดี
น.ส.ศยามล
น.ส.พรพิมล
หลัน่ ศิริ
ศรีโสภา
มูลมณี
หอมหวน
คงเฉลิม
สมาชิกกล่ มุ ที่ 5
นายวราธร
นายณัฐพล
น.ส.สุ จต
ิ รา
น.ส.วราภรณ์
น.ส.ปภารัตน์
มีศิลป์
แต่ งตั้ง
เอีย่ มสาอางค์
แสงทอง
อ่ อนแย้ ม
สมาชิกกล่ มุ ที่ 6
นายวรวิทย์
นายเกรียงไกร
น.ส.สิ ริกาญจน์
น.ส.ลัดดาวัลย์
น.ส.ณัฐวดี
เหง้ าเกษ
มีชัย
สิ มลี
ชมแผน
คะเชนทร์ เชื้อ