คีตกวีสากล - kruanusit

Download Report

Transcript คีตกวีสากล - kruanusit

Felix Mendehlssohn Bartholdy
(1809-1847)
Mendehlssohn เกิดที่เมืองฮัมบูรก์ ในครอบครัวชาวยิวที่
อพยพมาอยู่เบอร์ลนิ ตัง้ แต่ปี 1811 ท่านเริ่มมีช่ือเสียงเป็ นที่รูจ้ กั ในฐานะ
เด็กอัจฉริยะทางดนตรี ออกแสดงคอนเสิรท์ ครัง้ แรกตัง้ แต่ิอายุเพียง 9
ขวบเท่านั้น มีผลงานด้านการประพันธ์เพลงเมื่ออายุเพียง 11 ขวบ
ผลงานชิ้นเยี่ยมที่เป็ นที่รูจ้ กั กันดีคอื Octet สาหรับวงเครื่องสาย และ
Overture ที่เขียนขึ้นในขณะที่ท่านยังอยูใ่ นวัยหนุ่ ม
นอกจากนั้นชื่อ เสียงของท่านยังเป็ นที่รูจ้ กั กันดีในฐานะนักเปี ยโนและ
วาทยากรอีกด้วย โดยเฉพาะในเยอรมันและอังกฤษ แต่หลังจากที่ Fanny
Hensel Mendelssohn น้องสาวของท่านเสียชีวติ ได้ไม่นาน สุขภาพของ
ท่านก็เริ่มทรุดหนักลงตามลาดับ หลังจากนั้นเพียง 2-3 เดือนท่านก็ได้
เสียชีวติ ลงที่เมืองไลพ์ซิก นอกเหนื อจากงานด้านการประพันธ์แล้วท่านยัง
เป็ นครูสอนดนตรีอกี ด้วย นับเป็ นศิลปิ นที่สร้างสรรค์ผลงานออกมาเป็ น
จานวนมากท่านหนึ่ ง ท่านได้ประพันธ์ซิมโฟนี ไว้ 5 บทด้วยกัน บทที่มี
ชื่อเสียงที่สดุ คือ Italian Symphony (1833) และ Scottish Symphony
(1843) นอกจากนั้นยังได้ประพันธ์คอนแชร์โตที่มีช่ือเสียงคือ Violin
Concerto ในบันไดเสียง E minor
George Frideric Handel
(1685-1759)
เขาเป็ นชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1685 เกิดที่เมือง ฮันเล่อะ
(Halle) ประเทศเยอรมัน แฮนเดิ้ล เกิดในตระกูลผูม้ ีอนั จะกิน พ่อเป็ นหมอและเป็ น
ช่างตัดผมชื่อ Handel สมัยนั้นใครเป็ นอะไรก็มาผ่าตัดที่รา้ นตัดผมได้เลย แม่ของเขา
เป็ นแม่บา้ นที่เพียบพร้อม น่ ารักและอ่อนหวาน ต่อมาฮันเดลมามีช่ือเสียงและมีชีวติ ใน
ประเทศอังกฤษ ภายหลังจึงแปลงสัญชาติเป็ นอังกฤษ
ในสมัยเด็กพ่อหวังให้แฮนเดิ้ล เรียนกฎหมายแต่แฮนเดิ้ลไม่ชอบ แฮนเดิ้ล
สนใจดนตรีตง้ั แต่อายุ 3 ขวบ เขาชอบเสียงระฆังที่ดงั แว่วมาจากโบสถ์ประจาหมู่บา้ น
อย่างฝังจิตฝังใจ และชอบเล่นเครื่องดนตรีของเล่นที่ป้าซื้อให้ ครัง้ หนึ่ งเขาชวนเพือ่ น
มาเล่นเครื่องดนตรีของเล่นกันคนละชิ้น แล้วแฮนเดื้ลก็พดู ขึ้นด้วยความตื่นเต้นว่า
“บัดนี้ พวกเรามีวงออร์เคสต้าของพวกเราเองแล้ว"
ทันที ที่แฮนเดิ้ลให้สญั ญาณ เครื่องดนตรีทกุ ชิ้นก็บรรเลงขึ้นพร้อมกัน
ด้วยเสียงที่ฟงั ไม่เป็ นเพลง เด็กๆพอใจและมีความสุขกันมาก แต่คนที่ไม่พอใจ
ก็คอื พ่อของเขาซึ่งกลับมาบ้านพอดี เขาไล่พวกเด็กๆออกจากบ้านไป แล้วเก็บ
เครื่องดนตรีของเล่นเหล่านั้นใส่ตูล้ อ็ คกุญแจไว้ แต่แฮนเดิ้ลก็ไม่ยอมแพ้ เด็ก
น้อยรบเร้าให้แม่ช่วยย้าย ฮาร์พซีคอร์ดซึ่งเพือ่ นคนหนึ่ งของครอบครัวยกให้
ไปไว้บนห้องใต้หลังคา ในยามคา่ คืนเขาก็ย่องขึ้นไปเล่นฮาร์พซีคอร์ดนั้น แต่
แม้ว่าเขาจะเล่นให้เสียงเบาอย่างไร ผูค้ นก็จะได้ยนิ เสียงเสมอ จนกระทัง่ คืนวัน
หนึ่ งขณะที่เขาแอบขึ้นไปเล่นเหมือนเช่นเคย พ่อก็ทนราคาญไม่ไหวจึงขึ้นไปดุ
และลากเอาตัวเขาลงมานอน ทาให้แฮนเดิ้ลกลัวและหยุดเล่นไปพักหนึ่ ง พอ
หายกลัวเขาก็กลับมีความตัง้ ใจที่จะเล่นดนตรีให้ได้
เมื่อแฮนเดิ้ล อายุได้ 9 ขวบ วันหนึ่ งพ่อนัง่ รถม้าเข้าไปธุระในเมือง แฮนเดิ้ล
ก็ว่งิ ล้มลุกคลุกคลานตามหลังรถม้าไป พ่อทาเป็ นไม่เห็นเพราะคิดว่าสักพักเขาจะเลิก
วิ่งตามไป แต่เขาก็ไม่เลิก จนพ่อทนไม่ไหว ตะโกนถามว่า
"วิ่งตามมาทาไม?" แฮนเดิ้ลตอบด้วยความเหน็ ดเหนื่ อยว่า
"ผมขอไปด้วย"
ในสมัยนั้นแม่น้ าเทมส์เป็ นแม่น้ าเส้นทางแห่งการค้าขาย และเป็ นที่ท่ี
ราชวงศ์องั กฤษนิ ยมจัดงานชุมนุ มขึ้นที่รมิ แม่น้ า ในการประพาสครัง้ นั้นนอกจากเรือ
พระที่นงั ่ ของพระมาหากษัตริยแ์ ละพระราชินี แล้ว ก็ยงั มีเรือตามเสด็จในขบวนอีก
ราว 1000 ลา นับว่าเป็ นการเดินทางที่โอ่อา่ ครึกครื้นยิ่ง ในครัง้ นี้ แฮนเดิ้ลได้แต่ง
เพลง Water Music ถวาย จึงทาให้พระเจ้ายอร์ชทรงพอพระราชหฤทัยมาก
นอกจากเขาจะได้รบั รายได้เพิม่ ขึ้นเป็ นเท่าตัวแล้ว เขายังได้รบั รายได้จากคนอืน่ ๆด้วย
แฮนเดิ้ลได้เขียนอุปรากรออกแสดง ทัง้ ในอังกฤษและยุโรปรวม 45 เรื่อง
แต่ในการจัดแสดงอุปรากรนั้น แฮนเดิ้ลมักจะประสบกับความยุ่งยากใจเสมอ เช่น
คราวหนึ่ งเขาตกลงใจให้ ฟรานเซสก้า ดัชโชนี ให้มาแสดงที่อติ าลี นางยื่นเงือ่ นไข
ในการซ้อมอุปรากร เรื่อง Ottone ว่าถ้าแฮนเดิ้ลไม่ยอมให้นางร้องโน้ตเสียงสูง
เพิม่ เติมเข้าไปนอกเหนื อจากที่ แฮนเดิ้ลแต่งแล้ว นางจะไม่ยอมแสดงเด็ดขาด ทัง้
สองจึงโต้เถียงกัน แฮนเดิ้ลถึงกับยกนางดัชโชนี ชูไปที่หน้าต่าง ทาท่าจะโยนเธอ
ออกไป หลังจากนั้นเธอจึงยอมโดยดี แต่หลังจากประสบความสาเร็จได้ช่วงหนึ่ ง
ผูค้ นก็เริ่มเสือ่ มความนิ ยมในอุปรากรแบบอิตาเลียน หันมานิ ยมอุปรากรที่รอ้ งเป็ น
ภาษาอังกฤษ บริษทั ของแฮนเดิ้ลถึงกับล้มละลาย แม้ว่า แฮนเดิ้ลจะทุ่มทุนลงไป
อีก 10,000 ปอนด์กไ็ ม่ประสบความสาเร็จ
เมื่ออุปรากรแบบอิตาลีเสือ่ มความนิ ยมลง แฮนเดิ้ลจึงหันไปแต่งเพลง
แบบ Oratorio ซึ่งเป็ นเพลงศาสนาออกมาแทนอุปรากรแบบอิตาลี โดยเขียน
ขึ้นมาประมาณ 20 เพลง
เพลง Oratorio Messiah เป็ นเพลงที่ข้ ึนชื่อของเขา เขียนขึ้นในปี
ค.ศ.1741 และได้นาออกแสดงเป็ นครัง้ แรกเมื่อ 13 เมษายน ค.ศ.1742 ที่เมือง
ดับลิน นิ ตยสารรายเดือนชื่อ ฟอล์คเน่ อร์ เจอร์นอล ได้กล่าวถึงการแสดงเพลงนี้
ว่า
"ผู ้ มาฟังที่ช่ืนชมต่างคอยจะกล่าวแสดงความยินดีอย่างยิ่งแก่
ผูป้ ระพันธ์ ความงดงาม ความผ่าเผย และความนุ่ มนวลของเพลงนี้ ก่อให้เกิด
ความยินดีแก่ผูฟ้ งั ด้วยความประทับใจอย่างสูง"
เพลง Messiah ทาให้คนอังกฤษเกิดความนิ ยมต่อแฮนเดิ้ลอีก และช่วย
ให้เขารอดพ้นจากการล้มละลาย ทัง้ ๆที่เป็ นงานเขียนที่ใช้เวลาเพียง 24 วันเท่านั้น
เมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงได้ฟงั ก็ทรงเต็มตื้นไปด้วยความ รูส้ กึ ประทับใจใน
ท่อน Hallelujah Chorus จนถึงกับลุกขึ้นยืน แล้วนับตัง้ แต่น้นั มาก็เป็ นธรรมเนี ยม
ที่ผูฟ้ งั จะลุกขึ้นยืนเมื่อถึงตอนนี้
Johann Sebastian Bach
(1685-1750)
Bach เกิดวันที่ 21 มีนาคม 1685 ที่เมืองไอเซนาค (Eisenach) ประเทศ
เยอรมันเกิดในตระกูลนัก ดนตรีได้รบั การศึกษาเกี่ยวกับดนตรีจากพ่อซึ่งเป็ นนัก
ไวโอลินในราช สานักชื่อโยฮัน อัมโบรซีอสุ บาค(Johann Ambrosius Bach)
และญาติหลังจากพ่อเสียชีวติ ลง บาคได้ไปอาศัยอยู่กบั พีช่ าย โยฮันน์ คริสโตฟ
บาค (Johann Chistoph Bach) และบาคก็ขอให้พช่ี ายช่วยสอนเครื่องดนตรี
ประเภทคียบ์ อร์ดให้ ต่อมาเรียนออร์แกนกับครูออร์แกนชื่อ เอลีอาส เฮอร์เดอร์
(Elias Herder)
บาคเรียนเครื่องดนตรีประเภทคียบ์ อร์ดได้เร็วมากพีช่ ายเห็นบาคก้าวหน้า
ทางดนตรี และเล่นดนตรีเก่ง พอ ๆ กับตนเลยเกิดความอิจฉากลัวน้องจะเกินหน้า
เกินตาจึงเก็บโน้ตดนตรีของตนทัง้ หมดใส่ตูไ้ ม่ให้บาคเอาไปเล่น
เมื่อ อายุได้ 15 ปี เขาก็เริ่มเลี้ยงตัวเองโดยการเป็นนักออร์แกนและหัวหน้าวง
ประสานเสียงตาม โบสถ์หลายแห่งในประเทศเยอรมันปี 1723 บาค ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นผู ้
อานวยเพลงร้องที่โบสถ์ St.Thomas’ Church ในเมือง Leipzig ตาแหน่ งนี้ เป็นตาแหน่ ง
สูงสุดทางดนตรีของโบสถ์ในนิ กาย Luther
บาคเป็ นนักออร์แกนและคลาเวียร์ท่มี ีฝีมือยอดเยี่ยมมากทีเดียว เขาเป็ นผูค้ ดิ วิธีการ
เล่นคลาเวียร์โดยการใช้หวั แม่มือและนิ้ วก้อยเพิม่ เข้า ไปเป็นคนแรก เพราะก่อนหน้านี้ ยังไม่
มีใครเคยทากันมาก่อน ซึ่งนับว่าเป็ นประโยชน์ในการเล่นคลาเวียร์ในสมัยต่อมา
บาคแต่งงานกับ ญาติของเขาเองชื่อ มาเรีย บาร์บารา (Maria Barbara) ในวันที่
17 ตุลาคม ค.ศ. 1707 เมื่อเขาอายุได้ 20 ปี และมีลูก 7 คนก่อนที่เธอจะเสียชีวิตลงในปี
1720 บาคแต่งงานอีกครัง้ กับนักดนตรีสาวชื่อแอนนา แมกดาเลนา วิลเคน (Anna
Magdalena Wilcken)เดือนธันวาคม ค.ศ. 1721 และมีลูกด้วยกันอีก 13 คน ในบรรดาลูก
ทัง้ 20 คนมีเพียงคาร์ล ฟิ ลลิป เอมานู เอล (Carl Philip Emanuel Bach) ลูกคนที่ 2 และ
โยฮัน คริสเตียน บาค (Johann Christian Bach) ลูกคนสุดท้องที่ได้กลายมาเป็ นคีตกวี
สาคัญในสมัยต่อ ๆ มา
บาคถึงแก่ กรรมเมื่อ ปี ค.ศ. 1750 ไม่มีใครเอาใจใส่เก็บรักษาผลงาน
ของเขาไว้เลย ปล่อยให้กระจัดกระจายหายไปมากต่อมาปี ค.ศ. 1829 เกือบร้อยปี
หลังจากที่บาคถึงแก่กรรม เฟลิกซ์ เม็นเดิลโซห์น (Felix Mendelssohn) คีตกวี
ชาวเยอรมันได้นาเพลงเซ็นต์ แม็ทธิว แพ็สชัน่ (St. Matthew Passion) ของบา
คออกแสดงที่กรุงเบอร์ลนิ จึงทาให้ช่ือเสียงของบาคเริ่มเป็ นที่รูจ้ กั ขยายวงกว้าง
ออกไปทาให้คนเห็นคุณ ค่างานของเขา นอกจากนี้ ยังถือว่าการถึงแก่กรรมของใน
ปี ค.ศ. 1750 เป็ นเครื่องหมายของการสิ้นสุดดนตรีสมัยบาโรกด้วย
ผลงานที่มีช่ือเสียงมากของBach คือ เพลง Air on a G String ,
Minuet in G , Jesus, Joy of Man' s Desiring , Ave-Maria , Toccata
and Fugue iin D minor
อันโตนิโอ วิวลั ดี
(Antonio Vivaldi, 1678-1741)
วิวลั ดี ถือเป็ นนักดนตรีเอกในยุคบาโรก คาว่า “Baroque” มาจากคาว่า
“Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ไข่มกุ ที่มีสณ
ั ฐานเบี้ยว” (Irregularly
shaped pearl) Jacob Burckhardt เป็ นคนแรกที่ใช้คานี้ เรียกสไตล์ของงาน
สถาปัตยกรรมและจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษ ที่ 17 ที่เต็มไปด้วยการตกแต่งประดับ
ประดาและให้ความรูส้ กึ อ่อนไหว (ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96)
ใน ด้านดนตรี ได้มีผูน้ าคานี้ มาใช้เรียกสมัยของดนตรีท่เี กิดขึ้นในยุโรป เริ่ม
ตัง้ แต่ตน้ คริสต์ศตวรรษที่ 17 และมาสิ้นสุดลงราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็ น
เวลาร่วม 150 ปี เนื่ องจากสมัยบาโรกเป็ นสมัยที่ยาวนานรูปแบบของเพลงจึงมีการ
เปลี่ยนแปลงไปตาม เวลา อย่างไรก็ตามรูปแบบของเพลงที่สามารถกล่าวได้ว่าเป็ น
ลักษณะเด่นที่สดุ ของดนตรี
บาโรกได้ปรากฏในบทประพันธ์ของ เจ.เอส.บาคและยอร์ช ฟริเดริค เฮนเดล
ซึ่งคีตกวีทง้ั สองนี้ ได้แต่งขึ้นในช่วงเวลาครึ่งแรกของศตวรรษที่ 18 ลักษณะ สาคัญอีก
อย่างหนึ่ งของดนตรีสมัยบาโรกคือ การทาให้เกิด “ความตัดกัน” (Contrasting) เช่น
ในด้าน ความเร็ว – ความช้า ความดัง – ความค่อย การบรรเลงเดี่ยว – การบรรเลง
ร่วมกัน วิธเี หล่านี้ พบในงานประเภท ตริโอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชร์โต กรอซ
โซ (Concerto Grosso) ซิมโฟเนี ย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอด
สมัยนี้ คีตกวีมิได้เขียนบทบรรเลงส่วนใหญ่ของเขาขึ้นอย่างครบบริบูรณ์ ทัง้ นี้ เพราะเขา
ต้องการให้ผูบ้ รรเลงมีโอกาสแสดงความสามารถการเล่นโดยอาศัย คีตปฏิภาณหรือการ
ด้นสด (Improvisation) และการประดิษฐ์เม็ดพราย (Ornamentation) ในแนวของ
ตนเอง
ในสมัยบาโรกนี้ การบันทึกตัวโน้ตได้ รับการพัฒนามาจนเป็ นลักษณะการ
บันทึกตัวโน้ตที่ใช้ในปัจจุบนั คือการใช้บรรทัด 5 เส้น การใช้กญุ แจซอล (G Clef)
กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์ (C Clef) เป็ นต้น
วิวลั ดีเป็ นผู ้ ประพันธ์เพลงและนักไวโอลินชาวอิตาเลียน เกิดปี ค.ศ.
1678 ที่เมืองเวนิ สอันลือชื่อ เป็ นลูกของนักไวโอลินประจาโบสถ์เซ็นต์มาร์ค
(St.Mark’s) ในเมืองเวนิ ส วิวลั ดีได้รบั การฝึ กฝนเบื้องต้นทางด้านดนตรีจากพ่อ
จากนั้นได้เรียนกับจีโอวานนี เลเกร็นซี (Giovanni Legrenzi) อาจารย์ดนตรีผูม้ ี
ชื่อเสียง วิวลั ดีเป็ นพระซึ่งรับผิดชอบการสอนดนตรีให้สถานเลี้ยงเด็กหญิงกาพร้า
แห่งกรุงเวนิ ช
จากกิรยิ าท่าทางความใจบุญสุนทานและผมสีแดงตลอดจนการแต่งเนื้ อ
แต่งตัวสีสนั ก็กระเดียดไปทางพระของเขานัน่ เองทาให้คนทัว่ ไปเรียกเขาว่า
“II prete rosso” (the red priest) หรือเป็ นภาษาไทยเรียกว่า “พระแดง”
เพลงที่ววิ ลั ดีแต่งโดยมากมักเป็ นเพลงสาหรับ ร้องและเล่นด้วย
เครื่องดนตรีประเภทสตริง (String) ซึ่งมีผูช้ อบฟังมาก และมีนักแต่งเพลง
ในศตวรรษที่ 20 ของอิตาลีคนหนึ่ ง ชื่อ คาเซลลา (Casella) ได้เขียนยก
ย่องงานของวิวลั ดีไว้ว่า “เป็ นผูส้ ร้างงานขึ้นมาด้วยความประณี ตบรรจงอย่าง
ยิ่ง สามารถทาให้ผูฟ้ งั ปล่อยอารมณ์เคลิบเคลิ้มตามเนื้ อและทานองเพลงได้
โดยไม่รู ้ ตัว” งานของวิวลั ดีมีมากมายไม่แพ้คตี กวีคนอืน่ ๆ ปัจจุบนั นี้ งาน
ของเขายังมีตน้ ฉบับเก็บรักษาไว้ท่หี อ้ งสมุดเมืองเดรสเดน (Dresden
Library) อย่างสมบูรณ์
วิวลั ดีถงึ แก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1741 ที่เมืองเวียนนา
ออสเตรีย อายุได้ 66 ปี โดยไม่มีตาราหรือเอกสารใด ๆ กล่าวถึงการสมรสจึงเชื่อ
ว่าวีวลั ดีไม่มีภรรยาไม่มีบตุ ร อยู่ตวั คนเดียวในวัยชราและจากโลกนี้ ไปในประเทศ
ที่ไม่ใช่บา้ นเกิดของตนเอง
ผลงานที่มีช่ือเสียงมากที่สดุ ของวิวลั ดี ได้แก่ คอนแชร์โต กรอซโซ
ชุด “The Four Seasons”, Concerto in E minor for Cello & Orchestra,
Concerto for violin in A minor,Concerto for Two Trumpet and
Strings
Gustav Mahler
(1860-1911)
Mahler เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 1860 ที่เมือง Kalischt แคว้น
Bohemia ประเทศเช็คโกสโลวาเกีย ต่อมาท่านได้ยา้ ยไปอยู่ท่อี อสเตรียในภายหลัง
ท่านเกิดในครอบครัวชาวยิวที่ครอบครัวแตกแยก บิดาของท่านมีนิสยั เลือดร้อน
และอารมณ์หยาบกร้าน ส่วนมารดาเป็ นคนเงียบๆ และบอบบาง ท่านมีพน่ี อ้ งถึง
11 คนโดยที่ท่านเป็ นพีช่ ายคนโต ท่านเริ่มหัดเล่นแอคคอร์เดี้ยนเป็ นครัง้ แรกเมื่อ
อายุเพียง 4 ขวบ อีก 2 ปี ต่อมาท่านบังเอิญไปพบเปี ยโนเก่าๆ อยู่บนห้องใต้หลังคา
ของปู่ ซึ่งท่านพยายามที่จะหัดเล่นด้วยตนเอง บิดาของท่านจึงพยายามสนับสนุ น
ให้เล่นดนตรี โดยจัดหาครูมาสอนให้เพราะเล็งเห็นถึงโอกาสที่ครอบครัวจะมีฐานะ
ดีข้ ึนจาก อาชีพนักดนตรี
พออายุได้ 10 ขวบ ท่านเริ่มมีการแสดงดนตรีของตนเองโดยการวิ่งเต้นของ
ผูเ้ ป็ นพ่อ หนังสือพิมพ์ทอ้ งถิ่นกล่าวขวัญถึงการแสดงของท่านอย่างน่ าภาคภูมิใจ
หลังจากนั้นอีก 5 ปี พ่อของท่านได้สง่ ท่านไปเรียนที่สถาบันการดนตรีแห่งเวียนนา
โดยมีอาจารย์ Julius Epstein เป็ นทัง้ ครูผูส้ อนและผูอ้ ปุ ถัมภ์ตลอดมา ท่านเรียนทัง้
การบรรเลงเปี ยโน การประสานเสียง และการประพันธ์ ท่านจบการศึกษาจากสถาบัน
แห่งนี้ ด้วยคะแนนเกียรตินิยม
ในปี 1889 ซึ่งท่านมีอายุได้ 29 ปี บิดามารดาของท่านได้เสียชีวติ ลง ท่าน
ต้องดูแลน้องๆ ทัง้ หมดด้วยความรูส้ กึ รับผิดชอบอย่างจริงจัง สิง่ ที่พอ่ ของท่านทาไป
ไม่ว่าจะเป็ นด้วยความรักหรือว่าหวังผลประโยชน์จากลูก ก็ตาม แต่พอ่ ของท่านก็ได้
ทาทุกอย่างเพือ่ ให้ลูกชายคนนี้ เท่าที่ชายจนๆ คนหนึ่ งจะพึงกระทาได้
แม้ว่าท่านจะขัดสนเรื่องเงินทองก็ตาม แต่ท่านเป็ นคนที่มีจติ ใจกว้างขวางยินดีท่จี ะ
ช่วยเหลือเพือ่ นฝูงเท่าที่จะ ช่วยได้ ท่านเริ่มเป็ นผูอ้ านวยเพลงครัง้ แรกที่เมืองไลพ์
ซิก ประเทศเยอรมันนี และวงเวียนนาฟิ ลฮาร์โมนิ ค หลังจากนั้นในปี 1907 ท่านได้
ย้ายไปพานักที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเป็ นผูอ้ านวยเพลงให้กบั การแสดงโอเปรา
2 เรื่อง ณ โรงละครเมโทรโพลิแทน โอเปรา มหานครนิ วยอร์ค และแสดง
คอนเสิรต์ กับวงนิ วยอร์ค ซิมโฟนี ออเคสตร้าอีก 3 รายการ ในช่วงนี้ ท่านเริ่มมี
อาการของโรคหัวใจ หลังจากที่ท่านกลับมาใช้ชีวติ ในเวียนนาได้ไม่นานท่านก็ถงึ แก่
กรรมเมื่อวัน ที่ 18 พฤษภาคม 1911 รวมอายุได้ 51 ปี
ทันทีท่รี ูข้ ่าวมรณกรรมของ เขา Richard Strauss กล่าวแก่เพือ่ นๆ เขา
ว่า “การตายของ Mahler ทาให้ผมตกใจมาก ทีน้ ี ล่ะคุณจะรูว้ ่าแม้แต่ชาวเวียนนาก็
จะตระหนักว่าเขาเป็ นบุคคลที่ย่งิ ใหญ่ คนหนึ่ ง” แล้วก็เป็ นเช่นนั้นจริงๆ ขบวนแห่
ศพของเขาผ่านไปตามถนนเรียงรายไปด้วยผูไ้ ว้อาลัยเหมือนเช่นที่ผูค้ น เคยไว้ทกุ
ให้กบั ไฮเดิ้นและเบโธเฟ่ นมาแล้ว
ผลงานการประพันธ์ดนตรีของ Mahler ที่สาคัญ คือ บทเพลงขับร้อง
ขนาดยาวที่เรียกว่า Lieder หลายบท และ Symphony อีก 10 บท ซึ่งบท
สุดท้ายแต่งไม่จบเพราะท่านถึงแก่กรรมเสียก่อน ต่อมาเดริก คุก ได้ประพันธ์บท
นี้ ต่อจนจบ ผลงานของ Mahler เป็ นดนตรีโรแมนติคที่มีความยิ่งใหญ่
แสดงออกถึงความรูส้ กึ คละเคล้าทัง้ ความเศร้ารันทดและความรุนแรงชนิ ดที่ชวน
หวัน่ ใจอย่างประหลาด หลังจากท่านถึงแก่กรรมแล้วแต่ผลงานของท่านกลับ
ไม่ได้รบั ความนิ ยมมากนัก จวบจนช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 ผลงานของท่านเริ่มมี
ผูใ้ ห้ความสนใจตราบจนทุกวันนี้
จิ อะโคโม ปุกชินี
(Giacomo Puccini, 1858-1924)
ผูป้ ระพันธ์เพลงชาวอิตาเลียน เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1858 ที่
ลุคคา (Lucca) บิดาชื่อมิเชล ปุชชินี (Michele Puccini) ซึ่งเป็ น นักออร์แกน
และอัลบินา ปุกชินี (Albina Puccini) มีพส่ี าว 4 คน และน้องสาว 1 คน พ่อถึง
แก่กรรมเมื่อปุกชินีอายุเพียง 6 ขวบ แม่กเ็ ป็ นผูเ้ ลี้ยงดูเพียงลาพังด้วยพลังจิตอัน
แข็งแกร่ง แม่มกั อบรมลูก ๆ อยู่ เสมอว่า “คนขี้ขลาดจะอยู่ในโลกด้วยความ
ลาบาก” และจากคติของชาวอิตาเลียนที่ถอื ว่า “ลูกแมวก็ย่อมจะจับหนู ได้”
(The children of cats catch mice) จึงทาให้ทางราชการเมืองลุคคา ได้ย่นื มือ
ให้ความช่วยเหลือครอบครัวของเขาโดยหวังว่าสักวันหนึ่ งปุกชินี ต้องสามารถเป็ น
นักออร์แกนแทนพ่อของเขาได้
จนเมื่อปุกชินีอายุได้ 14 ปี เขาก็สามารถเล่นออร์แกนตามโบสถ์ต่าง ๆ
หลายแห่งได้ตลอดจนเล่นเปี ยโนตามสถานที่เต้นราได้บา้ ง พออายุได้ 19 ปี ก็
สามารถแต่งเพลงโมเต็ต (Motet)ได้ นอกจากนี้ ยังได้ทางานเป็ นนักออร์แกน
ประจาอยู่ San Martino ในระหว่างที่เรียนไปด้วย
ปุกชีนีเป็ นคีตกวีท่มี ีความสามารถในด้านการประพันธ์อปุ รากร
โดยเฉพาะเรื่อง ลา โบแฮม (La Boheme) เป็ นเรื่องที่กระทบกระเทือนอารมณ์
อย่างแรงเพราะปุกชินีคดิ เปรียบเทียบตัวเขา เองว่าคล้ายกับโรดอลโฟ (Rodolfo)
พระเอกในเรื่อง พอเรื่องดาเนิ นถึงบทของมิมี (Mimi) นางเอกของเรื่องกาลังจะ
ตายปุกชินีจะนัง่ น้ าตาไหลเพราะมีอารมณ์คล้อยตาม เรื่องไปด้วย
ปุกชินีได้ตง้ั ปณิ ธานไว้ว่าจะต้องแต่งอุปรากรที่ทาความสัน่ สะเทือน
อารมณ์และ ความรูส้ กึ ของคนทัว่ ทัง้ โลกให้ได้เขาจึงศึกษาและอ่านหนังสือต่าง ๆ
นับเป็ นพัน ๆ เรื่อง แล้วเขาจึงแต่งมหาอุปรากรเรื่องทอสกา (Tosca) ขึ้น ทอสกา
เป็ นมหาอุปรากรสาคัญเรื่องหนึ่ งของโลกได้นาออกแสดงครัง้ แรกที่โรงละคร เทีย
โตร กอสตันซี (Teatro Costanzi) ในกรุงโรม อิตาลี เมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ.
1900 และในปี เดียวกันก็นาไปแสดงที่นครลอนดอน ประเทศอังกฤษ และใน
นครนิ วยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา นับเป็ นความสาเร็จอย่างน่ าพอใจที่สดุ
สาหรับปุกชินี
ในบัน้ ปลายชีวติ ของปุกชีนีได้ใช้เวลาหาความสุขสาราญและพักผ่อนหย่อน
ใจอย่าง เต็มที่และสนุ กสนานอยู่กบั การเล่นเรือยอร์ชการขับรถยนต์คนั ใหม่ ๆ ใช้
เสื้อผ้าราคาแพง ๆ แต่เขาก็สนุ กเพลิดเพลินอยู่กบั สิง่ เหล่านี้ ได้ไม่นานนักก็เบื่อ สิง่
หนึ่ งที่ทาให้ใจเขาไม่สบายคือเรื่องผมหงอกของเขาและเขาก็พยายามย้อมให้ ดาอยู่
เสมอ(อ่ะเหอๆ )ขณะ อายุ 66 ปี หมอได้ตรวจพบว่าเขาเป็ นมะเร็งในหลอดลมจึงเข้า
รับการผ่าตัด เมื่อการผ่าตัดเสร็จเรียบร้อยแล้วโรคหัวใจก็ตามมาอีก ปุกชีนี ถึงแก่
กรรมในวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1924 ที่กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม
ผลงานที่สาคัญของปุกชีนี ประกอบด้วย Manon Lescaut, La Boheme,
Tosca, Madama Butterfly และ Turandot เสร็จสมบูรณ์โดย Franco Alfano
หลังปุกชินีถงึ แก่กรรม นอกจากนี้ โอเปร่าชวนหัวองค์เดียวจบ เรื่อง Gianni
Schicchi เป็ นอีกเรื่องหนึ่ งที่นิยมแสดงเสมอ ปุกชินีเป็ นผูห้ นึ่ งที่เน้นการประพันธ์
โอเปร่าในแนวชีวติ จริงด้วยการเน้น สถานการณ์และความรูส้ กึ พื้นฐานของมนุ ษย์
เป็ นหลักของการดาเนิ นเรื่องราว
จิอเุ ชปเป แวร์ดี
(Giuseppe Verdi,1813-1901)
ผูป้ ระพันธ์อปุ รากร ชาวอิตาเลียน เกิดที่หมู่บา้ นเล็ก ๆ ในเมืองรอน
โคล (Le Roncole) ซึ่งอยู่ใกล้กบั เมืองบุสเซโต (Busseto) เมื่อวันที่ 10
ตุลาคม ค.ศ. 1813 เป็ นลูกชายของคาร์โล แวร์ดี (Carlo Verdi) และลุยเจีย
(Luigia) เป็ นผูท้ ่ยี ่งุ เกี่ยวกับวงการเมืองของอิตาลีมาตลอดนอกเหนื อจากเป็ น
นักดนตรี
เมื่ออายุ 10 ขวบ พ่อได้สง่ เขาไปเรียนหนังสือที่เมืองบุสเซโต ซึ่งอยู่ห่างจาก
รอนโคลประมาณ 3 ไมล์ พ่อได้นาเขาไปฝากไว้กบั เพือ่ นที่สนิ ทคนหนึ่ งมีอาชีพเป็ น
ช่างซ่อมรองเท้าอยู่ ในเมืองนั้นเมื่อมีเวลาว่างแวร์ดีมกั จะไปขลุกอยู่กบั แอนโตนิ โอ
บาเรสซี่ (Antonio Barezzi) เจ้าของร้านขายของชาผูม้ งั ่ คัง่ และที่สาคัญที่สดุ ก็คอื ที่
นัน่ มีแกรนด์ เปี ยโนอย่างดีทามาจากกรุงเวียนนา แวร์ดีมกั จะมาขอเขาเล่นเสมอ ๆ
เมื่อบาเรสซี่เห็นหน่ วยก้านเด็กคนนี้ ว่าต่อไปอาจจะเป็ นนักดนตรีผูอ้ จั ฉริยะ จึงรับมา
ช่วยงานเล็ก ๆ น้อย ๆที่รา้ นขายของชาของเขาในตอนเย็นหลังจากเลิกโรงเรียนแล้ว
จากนั้นไม่นานนัก เขาก็ตดั สินใจรับเด็กน้อยแวร์ดีมาอยู่ท่รี า้ นและอยู่ในความอุปการะ
ของเขา ที่น่ี เองเด็กชายวัย 14 ขวบ ก็ได้เล่นเปี ยโนดูเอทคู่กบั มาร์เกริตา
(Margherita) เด็กหญิงวัย 13 ขวบ ซึ่งเป็ นลูกสาวของบาเรสซี่นนั ่ เอง ซึ่งต่อมาทัง้ คู่ก็
ได้แต่งงานกันในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1836
บาเรสซี่มกั จะใช้เวลาส่วนมากมาคอยดูแลและนัง่ ฟังเด็กน้อยทัง้ สองเล่น
เปี ยโน ด้วยความพอใจอย่างยิ่งเขาให้ความรักและสนิ ทสนมกับเด็กน้อยแวร์ดีอย่าง
ลูกชาย ของเขาทีเดียว ผลงานส่วนใหญ่ของแวร์ดี คืออุปรากรหรือโอเปร่า (Opera)
เพราะสมัยของแวร์ดีน้นั ชาวอิตาเลียนชอบชมอุปรากรมากแวร์ดีเป็ นคนที่มีความ
เสียสละมาตลอดชีวติ เมื่อ ภรรยาและตัวเขาเองตายไปแล้วทรัพย์สมบัตทิ ง้ั หมดก็ถกู
นาไปใช้สร้างอาคาร สงเคราะห์ให้เป็ นที่พกั อาศัยของนักดนตรีท่ยี ากจนนอกนั้นก็
นาไปใช้สร้างโรงแสดงดนตรีแวร์ดี (Verdi Concert Hall) และพิพธิ ภัณฑ์แวร์ดี
(Verdi Museum) ในเมืองมิลาน เป็ นอนุ สาวรียเ์ ตือนชาวโลกให้ราลึกถึงเขาใน
ฐานะคีตกวีผูย้ ่งิ ใหญ่ของ อิตาลี และของโลก การมรณกรรมของเขาจึงมิใช่เป็ นการ
สูญเสียผูป้ ระพันธ์โอเปร่าที่ย่งิ ใหญ่เท่านั้น
ผลงานโอเปร่าที่เด่นประกอบด้วย Nabucco : Chorus 1842, Macbeth :
Aria from Act III 1847,La traviata 1853, Aida : Triumphal Scene 1871
จิอะซิโน รอสชินี
(Gioacchino Rossini,1792-1868)
ผูป้ ระพันธ์เพลงชาวอิตาเลียน เกิดเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1792
ที่เมืองเปซาโร (Pesaro) เรียนดนตรีครัง้ แรกกับพ่อและแม่ซ่งึ พ่อเป็ นผูเ้ ล่น
ฮอร์น และทรัมเปต ส่วนแม่เป็ นนักร้องที่มีเสียงใสต่อมาจึงได้เรียนการประพันธ์
ดนตรีแบบ เคาน์เตอร์พอยท์ อย่างจริงจังกับTesei และ Mattei ที่เมืองโบโลญา
(Bolongna) รอสชินีมีช่ือเสียงจากการประพันธ์โอเปร่า และโอเปร่าชวนหัวมี
แนวการแต่งเพลงแบบค่อย ๆ พัฒนาความสาคัญของเนื้ อหาดนตรีทลี ะน้อยไป
จนถึงจุดสุดยอดในที่สดุ
ผลงานโอเปร่าของรอสชินีได้แก่ La Scala di Seta, La Gazza
Ladra, La Cenerentola, Semiramide, The Baber of Seville และ
William Tell
ริชาร์ด วากเนอร์
(Richard Wagner, 1813-1883)
ผูป้ ระพันธ์เพลงชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองไลพ์ซิก (Leipzig) เมื่อวันที่
22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 มีช่ือเดิมว่า วิลเฮล์ม ริชาร์ด วากเนอร์ (Wilhelm
Richard Wagner) ต่อมาเมื่ออายุ 20 ปี จึงตัด คาว่า Wilhelm ออกคงเหลือแต่
Richard Wagner เป็ นลูกคนที่ 9 ของครอบครัวพ่อชื่อ ฟริดริช วิลเฮ็ลม์ วาก
เนอร์ (Friedrich Wilhelm Wagner) มีอาชีพเป็ นเสมียนอยู่ศาลโปลิศของ
ท้องถิ่นแม่ช่ือ โจฮันนา โรซีน (Johanne Rosine Wagner) หลังจากวากเนอร์
เกิดได้ 6 เดือน พ่อของเขาก็ถงึ แก่กรรมลงด้วยโรคระบาดจากนั้นแม่กไ็ ด้แต่งงาน
ใหม่กบั ลุดวิก เกเยอร์ (Ludwig Gayer) ซึ่งเป็ นนักแสดงละครอาชีพและจิตรกร
วากเนอร์เริ่มเรียนเปี ยโนเมื่ออายุ 11 ขวบ กับ Humann แต่ตวั เขาเองมีความสนใจ
เกี่ยวกับอุปรากร (Opera) มากเพราะหลังจากที่เขาได้มีโอกาสเข้าชมอุปรากรของเว
เบอร์ (Weber) เรื่อง De Freishutz แล้วก็รูส้ กึ ประทับใจมาก ประกอบกับคลารา
(Clara) และโรซาลี (Rosalie) พีส่ าวของเขาเป็ นนักร้องอุปรากรในคณะนั้นด้วย ปี
ค.ศ. 1829 ขณะอายุ 16 ปี ก็เรียนไวโอลินและทฤษฎีดนตรี อายุ 17 ปี ได้ฟงั เพลง
ของเบโธเฟนอีกครัง้ หนึ่ งที่เมืองไลพ์ซิกมีเพลงFidelio อันมีช่ือเสียงของเบโธเฟน
จึงมีแรงบันดาลใจให้เขาเขียนเพลงโอเวอร์เจอร์ ในบันไดเสียงบีแฟลตเมเจอร์
(Overture in B – Flat Major) และได้นาออกแสดงในปี เดียวกัน การแสดงครัง้
นั้นไม่ได้รบั ความสนใจมากนักต่อจากนั้นวากเนอร์พยายามศึกษาหา ความรู ้
เพิม่ เติมทัง้ ทางด้านการเรียบเรียงเสียงประสาน เคาน์เตอร์พอยท์ เป็ นต้น จนเขา
สามารถประพันธ์เพลงไว้มากมายและยังเป็ นผูท้ ่ปี ฏิวตั ริ ูปแบบของโอเปร่า การเรียบ
เรียงเสียงประสานสาหรับวงออร์เคสตรา รวมทัง้ แนวความคิดเกี่ยวกับด้านศิลปะ
และปรัชญาซึ่งมีอทิ ธิพลมากในสมัยที่เขา ยังมีชีวติ
วากเนอร์เป็ นคนที่ไม่ค่อยยอมลงกับใครหรือยกเว้นให้แก่ใครได้งา่ ย ๆ
แม้ว่าผูน้ ้นั จะเป็ นพ่อ แม่ เพือ่ นร่วมงาน หรือแม้กระทัง่ กษัตริยก์ ต็ าม
เพราะฉะนั้นเพลงแต่ละเพลง อุปรากรแต่ละเรื่องของเขาในศตวรรษที่ 19 จึงฟังดู
พิลกึ ๆ ชอบกล
ชีวติ ในบัน้ ปลายของวากเนอร์เป็ นไปในทานองต้นร้ายปลายดี เพราะเขา
ได้ใช้ชีวติ อยู่อย่างสุขสาราญกับโคสิมาภรรยาสาวซึ่งเป็ นลูกสาวของ เพือ่ นนัก
ดนตรีรุ่นพี่ คือ ฟรานซ์ ลิสซต์ จนกระทัง่ เธอตายในวันเกิดครบรอบ 59 ปี ของ
วากเนอร์นนั ่ เอง ชาวเยอรมันได้วางศิลาฤกษ์ โรงละคร Festival Theater ขึ้นใน
เมือง Bayreuth และบ้าน Wahnfried ซึ่งสร้างขึ้นเพือ่ เป็ นเกียรติแก่วากเนอร์
และให้เป็ นที่อยู่ของเขา เพราะชาวโลกได้ยอมรับแล้วว่า วากเนอร์เป็ นนักดนตรีผู ้
ยิ่งใหญ่ของโลก
ผลงานที่มีช่ือเสียง
ผลงานที่เด่นประกอบด้วย The Mastersingers of Nuremberg :
Prelude 1868Lohengrin : Bridal March 1850, Siegfried Idy II 1870,
The Valkyries : Ride of the Valkyries 1870
จอร์จ บิเซต์
(George Bizet, 1838-1875)
ผูป้ ระพันธ์เพลงชาวฝรัง่ เศส เกิดที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม
ค.ศ. 1838 พ่อเป็ นครูสอนร้องเพลงและแม่เป็ นนักเปี ยโนบิเซต์เรียนดนตรี
โดยแม่เป็ น ผูส้ อนให้โดยการสอน เอ บี ซี ไปพร้อมกับสอน โด เร มี ฯลฯ บิ
เซต์ชอบดนตรีมาก เขาสามารถร้องเพลงที่ยากมากได้โดยไม่ตอ้ งใช้เครื่อง
ดนตรีช่วยในช่วงเด็ก สร้างความภาคภูมิใจและความประหลาดใจให้แก่ทง้ั
ครอบครัวเป็ นอย่างยิ่งจากความ เก่งเกินกว่าเด็กอืน่ ๆ ในขณะอายุเพียง 9
ขวบ พ่อแม่จงึ ส่งไปทดสอบเพือ่ เรียนในสถาบันการดนตรี (Conservatory)
จนสามารถผ่านการทดสอบ ซึ่งนับว่าเป็ นกรณี พเิ ศษอย่างยิ่งที่สถาบันแห่งนี้ รับ
นักศึกษาอายุ 9 ขวบ
บิเซต์เป็ นที่ช่ืนชมยินดีของครูท่สี อนเนื่ องจากเขาเป็ นคนที่สขุ ภาพดี
หน้าตา ดี อ่อนโยนด้วยมิตรภาพ ไม่อวดเก่งและอุปนิ สยั ดีซ่งึ เป็ นคุณสมบัตทิ ่ี
นักดนตรีในรุ่นหลัง ๆ น่ าจะให้เป็ นตัวอย่างเป็ นอย่างยิ่งอายุ 18 ปี เขาก็ได้รบั
รางวัลปรีซ ์ เดอ โรม (Prix de Rome) ซึ่งเป็ นรางวัลสาหรับนักประพันธ์ ดนตรี
วัยรุ่นให้ได้เข้าไปอยู่ใน French Academy ในโรม อิตาลีเป็ นการเจือจุนให้ได้
ใช้เวลาอย่างเต็มที่ในการประพันธ์ดนตรีอย่าง เดียว รางวัลนี้ เป็ นความฝันของ
นักศึกษาวิชาดนตรีในฝรัง่ เศสทุกคน
บิเซต์เป็ นนักเปี ยโนฝี มือดีแม้จะไม่ได้ออกแสดงต่อสาธารณะชน เขา
สามารถหาเลี้ยงชีพได้ไม่ยากนักด้วยการรับสอนแต่บเิ ซต์มีความทะเยอทะยาน ที่
จะมีช่ือเสียงในฐานะทัง้ นักเปี ยโนและ นักประพันธ์ดนตรี บิเซต์ลองทาทุกอย่าง
เท่าที่มีโอกาสแม้แต่การเขียนคอลัมน์ดนตรี บทความชิ้นหนึ่ งของเขาพูดถึงแฟชัน่
และตัวการที่มีผลต่อวงการดนตรี เขาเขียนด้วยความรูส้ กึ อันดีประจาตัวเขามี
ใจความว่า “โลกเรามีดนตรีฝรัง่ เศส เยอรมัน อิตาเลียน ฮังการี โปแลนด์ และอีก
มากมาย…..เรามีดนตรีอนาคต ดนตรีปจั จุบนั และดนตรีในอดีต แล้วก็ยงั มีดนตรี
ปรัชญา ดนตรีการเมือง และดนตรีท่พี บใหม่ลา่ สุด…..แต่สาหรับข้าพเจ้าดนตรีมี
อยู่ 2 ชนิ ดเท่านั้น คือ ดนตรีดี กับดนตรีเลว”
ผลงานที่มีช่ือเสียง
ในชีวติ อันสัน้ ของบิเซต์ ผลงานชิ้นเอกคือดนตรีสาหรับอุปรากร
สาหรับเรื่องที่ย่งิ ใหญ่ท่สี ดุ ของเขาคือ “คาร์เม็น” (Carmen) แต่เป็ นที่น่า
เสียดายที่เขาถึงแก่กรรมก่อนที่จะได้เห็นความสาเร็จอันยิ่ง ใหญ่ท่สี ดุ ของคาร์
เม็น นอกจากนี้ ก็มี The Girl from Arles (L' Arlesienne), The Pearl
Fishers, The Fair Maid of perth
บิเซต์ถงึ แก่กรรมเมื่อ วันที่ 3 มิถนุ ายน ค.ศ. 1875 ที่กรุงปารีส เมื่อ
อายุเพียง 37 ปี
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิ น
( Ludwig van Beethoven )
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิ นเกิดที่เมืองบอนน์ (ประเทศเยอรมนี ) เมื่อวันที่
16 ธันวาคม ค.ศ. 1770และได้เข้าพิธีศีลจุม่ ในวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1770
เป็ นลูกชายคนรองของโยฮันน์ ฟาน เบโทเฟิ น (Johann van Beethoven)
กับ มาเรีย แม็กเดเลนา เคเวริช (Maria Magdelena Keverich) ขณะที่เกิด
บิดามีอายุ 30 ปี และมาดามีอายุ 26 ปี
เป็ นคีตกวีและนักเปี ยโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมัน
เบโทเฟิ นเป็ นตัวอย่างของศิลปิ นยุคโรแมนติกผูโ้ ดดเดี่ยว และไม่เป็ นที่เข้าใจของ
บุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้ เขาได้กลายเป็ นคีตกวี ที่ มีคนชื่นชมยกย่อง
และฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สดุ คนหนึ่ ง ตลอดชีวติ ของเขามี
อุปสรรคนานัปการที่ตอ้ งฝ่ าฟัน ทาให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพ
ต่างๆ ที่เป็ นรูปเบโธเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่
ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆในชีวติ ของเขาได้
ตานานที่คงอยู่นิรนั ดร์เนื่ องจากได้รบั การยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทัง้ หลาย เบโท
เฟิ นได้กลายเป็ นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็ นอัจฉริยะที่ไม่ มีใคร
เทียมทาน ซิมโฟนี ของเขาเป็ นผลงานที่ได้รบั ความนิ ยมมากที่สดุ แต่กม็ ิได้รวมเอา
ความเป็ นอัจฉริยะทัง้ หมดของคีตกวีไว้ในนั้น
ผลงานของเบโทเฟน ได้แก่
1.ซิมโฟนี้ 9 บท บทที่ได้รบั การยกย่องว่าไพเราะมากๆ ได้แก่ Symphony
No.5 in c minor (Fate) Symphony No.3 in E flat major
(Eroica) Symphony No.6 in F minor (pastoral)
และที่ไพเราะมากที่สดุ Symphony No.9 in D minor (Choral)ซึ่งท่อนที่ 4
จะใช้เสียงร้องประกอบในท่อนสุดท้าย (Presto) เพราะมากๆ
2.บทเพลงโอเวอร์เจอร์ เช่น Egmont Overture
3.บทเพลงคอนแชร์โต เช่น Piano Concerto No.5 in E flat
4.บทเพลงสาหรับวงแชมเบอร์ เช่น Rasumovsky Quartet เป็ นเพลงที่มอบ
ให้แก่ Count Rasumovsky
5.บทเพลงสาหรับเครื่องดนตรีเดี่ยว เช่น Piano sonata , cello sonata ซึ่ง
เป็ นตัวอย่างที่ไพเราะของดนตรียคุ หลังๆ
6.อุปรากร 1 เรื่อง คือ Fidelio
7.บทเพลงแมสส์ 2 บท
8.บทเพลงร้องประมาณ 200 บท ไพเราะทุกเพลง