เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

Download Report

Transcript เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

เกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ PMQA
เพือ่ นงานบริหารทั่วไป สานักชลประทานที่ 13
ถึงเพื่อนงานบริ หารทัว่ ไป สานักชลประทานที่ 13 ที่ตอ้ งการทราบเกี่ยวกับเกณฑ์คุณภาพ
การบริ หารจัดการภาครัฐ (PMQA)ว่ามีองค์ประกอบอะไรบ้าง มีความสาคัญอย่างไรและทาไม
หน่วยงานจะต้องดาเนินการ
เกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) แบ่ งเป็ น 7 หมวด ดังนี้
1.การนาองค์กร
2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
3.การให้ความสาคัญกับผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
4.การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
5.การม่งเน้นทรัพยากรบุคคล
6.การจัดการกระบวนการ
7.ผลลัพธ์การตาเนินการ
ขั้นตอนและการดาเนินการในแต่ละหมวด
1. การนาองค์ กร องค์ประกอบในการดาเนินการมี ดังนี้
- วิสัยทัศน์ เป้ าประสงค์ ระยะสั้น กลาง ยาว และความคาดหวังในผลการดาเนินงาน
- การให้ความสาคัญกับผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย
- การกระจายอานาจการตัดสิ นใจ
- การสร้างนวตกรรมและเรี ยนรู ้ในส่ วนราชการ
- ส่ วนราชการมีการกากับดูแลตนเองที่ดีและรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมอย่างไร
ขั้นตอนในการดาเนินการ การนาองค์ กร
LD 1 1.1 กาหนดทิศทางองค์กร 1. 2 การถ่ายทอด 1.3 ใครบ้างที่เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยและใครบ้าง
เป็ นผูร้ ับบริ การ (ลูกค้า)
LD 2 ผูบ้ ริ หารเพิ่มอานาจการตัดสิ นใจ (Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ
(การมอบอานาจ)
LD 3 3.1 กระบวนการการเรี ยนรู้และการมีส่วนร่ วม 3.2 การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากร
LD 4 4.1 กาหนดตัวชี้วดั 4.2 กาหนดระบบการติดตามผลการปฏิบตั ิงาน 4.3 ทบทวนผลการ
ปฏิบตั ิงานและจัดลาดับความสาคัญ เพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุ งการดาเนิ นงาน
ในด้ านธรรมมาภิบาลและรับผิดชอบต่ อสั งคม
LD 5 ผูบ้ ริ หารมีการกาหนดนโยบายกากับดูแลองค์กรที่ดี ( 4 ด้าน)
LD 6 จัดระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ ยง
LD 7 วิธีการหรื อมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบ
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์
องค์ประกอบในการดาเนินการมี ดังนี้ 1. กาหนดประเด็นยุทธ์ 2. เป้ าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และ
กลยุทธ์ 3. แผนปฏิบตั ิราชการ 4. การถ่ายทอดเป้ าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์หลัก
5.นาแผนไปปฏิบตั ิและวัดผลความก้าวหน้า
ขั้นตอนในการดาเนินการ การวางแผนยุทธศาสตร์
SP1 กาหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบระยะเวลาที่เหมาะสม มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบอย่าง
ชัดเจนในการจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี และแผน 4 ปี
SP2 มีการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก สภาพแวดล้อม วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ความต้องการ
ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยและผูร้ ับบริ การ และ ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา
SP3 วางแผนกลยุทธ์ดาเนินการบริ หารงานบุคคล ให้สอดคล้องกับแผน 4 ปี และแผนประจาปี
การสื่ อสารและถ่ ายทอดยุทธศาสตร์ เพือ่ นาไปปฏิบัติ
SP4 ถ่ายทอดแผนเพื่อนาไปสู่ การปฏิบตั ิ
SP5 ถ่ายทอดตัวชี้วดั และค่าเป้ าหมายตามคารับรอง ให้สานัก และ กอง ถ่ายทอดลง
สู่ ตวั บุคคล อย่างเป็ นระบบ
SP6 รายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดาเนินงาน
SP7 มีการวิเคราะห์และจัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงตามมาตรฐาน COSO เพือ่
เตรี ยมการรับการเปลี่ยนแปลง
หมวด 3 การให้ ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ เสี ย
องค์ประกอบในการดาเนิ นการมี ดังนี้
- อะไรคือความต้องการและความคาดหวังของผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย
- สร้างความสัมพันธ์กบั ผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย
- กาหนดปั จจัยที่สาคัญที่จะทาให้ผรู ้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย พึงพอใจ
ขั้นตอนในการดาเนินการ ความรู้ เกีย่ วกับผู้รับบริการและผู้มสี ่ วนได้ เสี ย
Cs1 กาหนดกลุ่มผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย
Cs2 ช่องทางการสื่ อสาร เพื่อรับฟังและเรี ยนรู ้ความต้องการของ ผูร้ ับบริ การและ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
การสร้ างความสั มพันธ์ กบั ผู้รับบริการและผู้มสี ่ วนได้ เสี ย
Cs3 กาหนดขั้นตอนและระบบที่ชดั เจน ในการจัดการข้อร้องเรี ยน
Cs4 สร้างเครื อข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ กับ ผูร้ ับบริ การและผูม้ ี ส่ วนได้
ส่ วนเสี ย
Cs5 เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารราชการ ผ่านกระบวนการหรื อ
กิจกรรมต่างๆ
Cs6 วัดความพึงพอใจ ของผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้เสี ย เพื่อนาผลไปปรับปรุ งการบริ หารงาน
Cs7 กาหนดมาตรฐานการให้บริ การ ที่มีการกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็ จ แผนภูมิและคู่มือการ
ติดต่อราชการ
หมวด 4 การจัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
องค์ประกอบในการดาเนินการมี ดังนี้ 1. เลือกระบบวิเคราะห์ 2. จัดการและปรับปรุ งข้อมูล
สารสนเทศ 3. การจัดการความรู้
ขั้นตอนในการดาเนินการ การจัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุ งผลการดาเนินงาน
IT 1 ระบบฐานข้อมูล
IT 2 ทบทวนฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า
กระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล ถ้ามีมากกว่า 4 กระบวนการให้ทา 4 กระบวนการ
IT 3 ทบทวนฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของกระบวนการสนับสนุน
กระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล ถ้ามีมากกว่า 2 กระบวนการให้ทา 2 กระบวนการ
การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้
IT 4 ต้องมีระบบสารสนเทศ
IT 5 ระบบติดตาม เฝ้ าระวัง และเตือนภัย เช่น Operation Room, War Roomc และ
GIS
IT 6 ระบบบริ หารความเสี่ ยง ของฐานข้อมูลและสารสนเทศ เช่นมาตรการการ
ป้ องกันความเสี ยหาย การสารองข้อมูลและการกูข้ อ้ มูลกลับ
IT 7 จัดทาแผนการจัดการความรู ้และนาแผนไปปฏิบตั ิเ ช่น ระบบการรักษาความ
ปลอดภัย ระบบสารองไฟ ระบบการกาหนดสิ ทธิ ผใู ้ ช้ และระบบ Anti Virus
หมวด 5 การมุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล
องค์ประกอบในการดาเนินการมี ดังนี้
- ระบบงานและระบบการเรี ยนรู้ของบุคลากร การสร้างแรงจูงใจที่ช่วยให้บุคลากรพฒนาตนเอง
และใช้ศกั ยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งไปในแนวทางเดียวกัน กับเป้ าประสงค์และแผนปฏิบตั ิ
การ โดยรวมของส่ วนราชการ
- การสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมในการทางาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบตั ิงานของ
บุคลากร ซึ่งจะนาไปสู่ ผลการดาเนินการ ที่เป็ นเลิศและความเจริ ญก้าวหน้าของบุคลากรและ
ส่ วนราชการ
ขั้นตอนในการดาเนินการ การสร้ างบรรยากาศการทางาน
HR1 กาหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุ กและความพึงพอใจของบุคลากร และมีการวิเคราะห์
ปรับปรุ งปัจจัยดังกล่าวให้เหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงานและให้ความ
ผูกพันต่อองค์กร
HR2 มีระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน รวมถึงแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อ
นาไปปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานให้ดีข้ ึน
การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นา
HR3 ดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ การบริ หารทรัพยกรบุคคล ที่กาหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบตั ิ
เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม บรรลุเป้ าหมายและเป้ าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
HR4 ระบบประกันคุณภาพการฝึ กอบรม ประเมินผลและความคุม้ ค่าของการพัฒนาการฝึ กอบรม
HR5 สร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อขวัญและกาลังใจในการปฏบัติงาน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
-
-
องค์ประกอบในการดาเนินการมี ดังนี้
การจัดการกระบวน การให้บริ การและกระบวนการอื่น ๆ ที่สาคัญที่ช่วยสร้างคุณค่าให้แก่
ผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
ครอบคลุมกระบวนการที่สาคัญของหน่วยงาน
เป็ นกระบวนการที่ตอบสนองต่อกลุ่มผูร้ ับบริ การโดยตรง
เป็ นกระบวนการที่ทาให้ผรู้ ับบริ การพึงพอใจ มากกว่าที่จะได้รับจากหน่วยงานโดยตรง
ไม่มีกระบวนการนี้อาจจะทาให้ ผูร้ ับบริ การไม่พึงพอใจหรื อเปลี่ยนไปใช้บริ การ จาก
หน่วยงานอื่นแทน
ขั้นตอนในการดาเนินการ การออกแบบกระบวนการ
PM1 กาหนดกระบวนการสร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจและความต้องการของผูม้ ีส่วนได้
ส่ วนเสี ย
PM2 กาหนดข้อกาหนดที่สาคัญ ของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผูร้ ับบริ การ
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย กฎหมายและข้อกาหนด
PM3 ออกแบบกระบวนการตามข้อกาหนดที่สาคัญ ใน PM2 และนาปั จจัยที่เกี่ยวข้องมาออกแบบ
กระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพในการปฏิบตั ิงานและปรับปรุ งกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิ นต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นที่มีผลกระทบต่อการจัดกระบวนการเพื่อให้
องค์กรสามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
PM5 กาหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน
PM6 มีการปรับปรุ งกระบวนงานที่สร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุน เพื่อให้การดาเนินการ
ดีข้ ึนและไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดการทางานซ้ าและการสู ญเสี ยจากผลการดาเนินการ
หมวด 7 ผลลัพธ์ การดาเนินงาน
ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักความสาเร็จของผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายการกากับองค์การที่ดี
ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักความสาเร็จของผลสัมฤทธิ์ตามของเป้ าหมาย
ร้อยละความสาเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินการ
1. ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พรบ 2540
ระดับความสาเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ
2.ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักความสาเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินการจัดการความรู้
RM5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของ
บุคลากรหรื อแผนพัฒนาบุคลากร
RM6 จานวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุ งให้ผลดาเนินการดีข้ ึน
RM 1
RM2
RM3
RM4