2.แนวทาง.. - ระบบอินทราเน็ต-สท.

Download Report

Transcript 2.แนวทาง.. - ระบบอินทราเน็ต-สท.

แนวทางการดาเนินงานของศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ
และส่ งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
(ศพอส.)
Page
31 1
ทีม่ าศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ และส่ งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
ตามทีน่ โยบายนายกรัฐมนตรี มีนโยบายเรื่อง
“การเตรียมความพร้ อม สู่ สังคมผู้สูงอายุอย่ างมีคุณภาพ”
- การพัฒนารู ปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ครบวงจร
- การจัดให้ มศี ูนย์ เบ็ดเสร็จในการดูและและส่ งเสริมอาชีพให้ แก่
ผู้สูงอายุ
- มอบหมายให้ กระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมัน่ คงของมนุษย์
กระทรวงมหาดไทย และสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่ งประเทศไทยฯ ร่ วมกัน
กาหนดรู ปแบบการดาเนินงานเรื่องศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวิตและส่ งเสริม
อาชีพผู้สูงอายุ
Page 2
แนวคิดในการจัดตั้ง ศพอส.
“ ร่ วมแรง ร่ วมใจ ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน”
วัตถุประสงค์การจัดตัง้ ศพอส.
1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมสาหรับผูส
้ งู อายุ
2. เพื่อให้ผส
้ ู งู อายุได้มีสถานที่
ในการจัดกิจกรรมและบริการ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผส
้ ู งู อายุได้รบั การพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม
4. เพื่อเป็ นศูนย์ส่งเสริมอาชี พ และการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผูส
้ งู อายุในชุมชน
5. เพื่อเป็ นศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครดูแลผูส
้ งู อายุ
6. เป็ นศูนย์ข้อมูลผูส
้ งู อายุในพืน้ ที่
Page 3
กลุ่มเป้ าหมาย
แบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่
 1. กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้ แก่ ผู้สูงอายุทอี่ าศัยอยู่ในชุ มชนและพืน
้ ที่
ให้ บริการศูนย์ ฯ รวมไปถึงสมาชิกครอบครัวของผู้สูงอายุและผู้ดูแล
 2. กลุ่มเป้าหมายรอง ได้ แก่ สมาชิ กทุกวัยในชุ มชน และสมาชิ ก
กลุ่มองค์ กรต่ างๆ
Page 4
ประโยชน์จากการจัดตั้ง ศพอส.
 สาหรับผู้สูงอายุ
1. ทาให้ คลายเหงา เกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ ใช้ เวลาอย่ างเกิดประโยชน์
2. ได้ รับการเสริมสร้ างภาวะทางร่ างกาย จิตใจ สั งคม และสติปัญญา
3. เกิดความตระหนักต่ อคุณค่ าและศักยภาพของตนเอง
4. ได้ ถ่ายทอดความรู้ และภูมิปัญญาให้ สืบทอดต่ อไปในชุ มชน
5. ได้ ฝึกฝนเรียนรู้ ทกั ษะทางด้ านอาชีพ
6. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
Page 5
ประโยชน์จากการจัดตั้ง ศพอส.
 สาหรับ อปท.
1. เป็ นการยกระดับและพัฒนารู ปแบบการจัดบริการและสวัสดิการสั งคม
เพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผู้สูงอายุ
2. ส่ งเสริมให้ เกิดการระดมทรัพยากร และความร่ วมมือจากหน่ วยงาน
ทั้งภายในและภายนอกให้ มีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมและบริการ
สาหรับผู้สูงอายุและเชื่อมโยงคนทุกวัยให้ ได้ รับประโยชน์ จากการ
ดาเนินงานศูนย์ ฯ
Page 6
ข้ อกาหนดของศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ
และส่ งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
(ศพอส.)
Page 7
1. ด้านอาคารสถานที่จดั ตั้ง ศพอส.
1.1 ควรพิจารณาปรับปรุงอาคารสถานทีท่ มี่ ิได้ ใช้ ประโยชน์ ทมี่ ีอยู่ในชุ มชน
เช่ น พืน้ ทีใ่ นองค์ การบริหารส่ วนตาบล เทศบาล อาคาร โรงเรียน หรือ
ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กทีไ่ ม่ ได้ มีการใช้ งานแล้ ว
1.2 หากจะมีการก่ อสร้ างทีท่ าการศูนย์ ฯ ขึน้ ใหม่ ควรคานึงถึงระยะทาง
การเดินทางไป - มาสะดวก ไม่ ห่างจากชุ มชน
1.3 มีการจัดสภาพแวดล้ อมให้ เหมาะสมและปลอดภัยสาหรับผู้สูงอายุ
ภายในศูนย์ ฯ เช่ น ติดตั้งราวจับในห้ องนา้ ทางลาดบริเวณ ทางเข้ าอาคาร
เป็ นต้ น
Page 8
2. การบริหารจัดการ ศพอส.
(ร่ าง) คณะกรรมการขับเคลือ่ น ศพอส. (ระดับจังหวัด)
- พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จงั หวัด
- ประธานสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุประจาจังหวัด
- นายอาเภอหรือผู้แทน
- ผู้อานวยการสานักส่ งเสริมและสนับสนุนวิชาการ
- ท้ องถิน่ จังหวัด
- ผู้อานวยการศูนย์ พฒ
ั นาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ (ถ้ ามี)
- ผู้อานวยการศูนย์ พฒ
ั นาสังคม
- ผู้แทนแรงงานจังหวัด
- ผู้แทนสาธารณสุ ขจังหวัด
- ผู้แทนสานักงานส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัด
- ผู้แทนองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ที่เข้ าร่ วมโครงการ
ศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ และส่ งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
- หัวหน้ าฝ่ ายสานักงาน พมจ. ที่ได้ รับมอบหมาย
- เจ้ าหน้ าที่สานักงาน พมจ. ที่ได้ รับมอบหมาย
ประธาน
รองประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและ
ผู้ช่วยเลขานุการ
Page 9
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการขับเคลือ่ น ศพอส.ระดับจังหวัด
- ส่ งเสริ ม สนับสนุนการดาเนินงาน ศพอส. อย่างต่อเนื่อง
- ให้คาปรึ กษาแนะนาการดาเนินงาน ศพอส.ให้เป็ นไปตามแผนการ
ดาเนินงาน
- ติดตามผลการดาเนินงาน และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริ หาร
โครงการศูนย์พฒั นาคุณภาพชีวติ และส่ งเสริ มอาชีพผูส้ ู งอายุ
(ส่ วนกลาง)
- ดาเนินการอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร เพื่อให้การดาเนินงาน ศพอส.
บรรลุวตั ถุประสงค์
Page 10
2. การบริหารจัดการ ศพอส.
(ร่ าง) คณะกรรมการบริหาร ศพอส. (ระดับพืน้ ที่)
- นายกองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น เป็ นที่ปรึกษา
- ประธานศูนย์ ฯ คัดเลือกจากประธานชมรมผู้สูงอายุ
- รองประธานคัดเลือกจากผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ
- ผู้แทนผู้สูงอายุ และผู้แทน อาสาสมัครเป็ นคณะกรรมการฯ
- ผู้แทนหน่ วยงานในพืน้ ที่ตามความเหมาะสม
- กรรมการและเลขานุการ คัดเลือกจากผู้แทนองค์ กรปกครอง
ส่ วน ท้ องถิ่นหรือผู้สูงอายุ
Page 11
อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร ศพอส. (ระดับพืน้ ที่)
- กาหนดแนวทางการดาเนินงาน
- จัดทาแผนปฏิบัติงาน โครงการ กิจกรรม
- จัดทาระบบข้ อมูลผู้สูงอายุในพืน้ ที่
- แสวงหาความร่ วมมือจากภาคี องค์ กร เครือข่ ายในชุ มชน
- ส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกิดการดาเนินงาน ศพอส. อย่างต่ อเนื่อง
- ดาเนินการอืน่ ๆ ตามทีเ่ ห็นสมควร เพือ่ ให้ การดาเนินงาน ศพอส.
บรรลุวตั ถุประสงค์
Page 12
งบประมาณของ ศพอส.
 งบประมาณในการขับเคลือ่ นการดาเนินงาน ศพอส. ได้ แก่
1. การก่อสร้างหรื อปรับปรุ งอาคาร
2. การสนับสนุนกิจกรรม
3. การจัดจ้างบุคลากร
Page 13
เป้ าหมายการดาเนินงาน ปี 2557 - 2559
ปี พ.ศ.
2556
2557
2558
2559
รวม
จำนวนเป้ำหมำย
99 แห่ง (นำร่อง)
878 (อำเภอ)
3,049 แห่ง
3,926 แห่ง
7,853 แห่ง
Page 14
กลไกการดาเนินงาน
Page 15
หน่วยงานที่ร่วมดาเนินการ
 1 องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
 2 ชมรมผู้สูงอายุ
 3 ความร่ วมมือของหน่ วยงานในจังหวัดและพืน
้ ที่
สนับสนุนกิจกรรมผูส้ ูงอายุ ได้แก่
(1) หน่วยงานด้านสังคม
(2) หน่วยงานด้านสาธารณสุ ข
(3) หน่วยงานด้านวัฒนธรรม
(4) หน่วยงานด้านอาชีพและการมีงานทา
(5) หน่วยงานด้านการศึกษา
(6) สาขาสภาผูส้ ูงอายุประจาจังหวัด
(7) องค์กรทางศาสนา องค์กรชุมชน หรื ออาสาสมัครทางานด้านสังคม
Page 16
กลไกการดาเนินงาน
ส่วนกลาง
ส่วนภูมภ
ิ าค
สานักงานปลัดกระทรวง พม.
สานักงานพัฒนาสั งคม
และความมัน
่ คงของมนุ ษย ์
จังหวัด
สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและ
พิทก
ั ษเด็
์ ก เยาวชน
ผูด
และผูสู
้ อยโอกาส
้
้ งอายุ
ศูนย์พฒั นาคุณภาพชีวติ
และส่ งเสริ มอาชีพผูส้ ู งอายุ
ศูนยพั
์ ฒนาการจัดสวัสดิการ
สั งคมผูสู
้ งอายุ
กองทุนผู้สูงอายุ
คณะกรรมการกากับในส่วนกลาง
องคกรปกครองส
์
่ วน
ทองถิ
น
่
้
ศูนยพั
์ ฒนาสั งคม
ระดับพืน
้ ที่
ชมรมผูสู
้ งอายุ
กลุม
่ / องคกร
์ /
อาสาสมัคร
คณะกรรมการระดับจังหวัด
คณะกรรมการ
ระดับพืน
้ ที่
Page 17
ขั้นตอนการดาเนินงาน ศพอส.
1. จัดประชุมชี้แจงในระดับชุมชน เพือ่ ร่ วมกันจัดตั้งศูนย์ ฯ โดยเป็ นไปตามความต้ องการของผู้สูงอายุ
2. จัดหาสมาชิกจากชมรมผู้สูงอายุในพืน้ ที่
3. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์ ฯ
4. จัดหาสถานที่ต้งั ศูนย์ ฯ (จัดหาอาคารใหม่ หรือปรับปรุงอาคารเดิมที่มีอยู่แล้ ว)
5. จัดตั้งศูนย์ ฯ และดาเนินกิจกรรม
6. ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน
Page 18
การจัดกิจกรรมและบริ การ
1. ศูนย์ ฯ ควรกาหนดระเบียบ ข้ อปฏิบตั ทิ เี่ กิดจากข้ อตกลงร่ วมกัน
จากการประชุ มคณะกรรมการบริหาร ศพอส.
2. จัดทาแผนการดาเนินกิจกรรมประจาสั ปดาห์ เดือน ปี อย่ างต่ อเนื่อง
สม่าเสมอ โดยให้ บริการ ทั้งในและนอก ศพอส. เพือ่ เปิ ดโอกาส
ให้ ผู้สูงอายุทุกกลุ่ม และสมาชิกทุกวัยในชุ มชนได้ เข้ าร่ วมกิจกรรม
3. กาหนดเวลาเปิ ด-ปิ ด ทาการ
Page 19
ประเภทกิจกรรม
 กิจกรรมภายใน ศพอส.
1. กิจกรรมการประชุ มคณะกรรมการบริหาร ศพอส.
2. กิจกรรมด้ านสั งคม การเรียนรู้ และนันทนาการ
3. กิจกรรมด้ านอาชีพ (การฝึ กอาชีพ / การจัดงานตลาดนัดภูมปิ ัญญา)
4. กิจกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ อนามัย
5. กิจกรรมถ่ ายทอดวัฒนธรรม / การสั ญจรสอนภูมปิ ัญญา
Page 20
ประเภทกิจกรรม
 กิจกรรมภายใน ศพอส.
6. กิจกรรมการจัดให้ มีระบบข้ อมูลของผู้สูงอายุในพืน้ ที่ /
การจัดเก็บข้ อมูลผู้สูงอายุในชุ มชน
7. กิจกรรมการให้ คาปรึกษา การช่ วยเหลือ การสงเคราะห์
เกือ้ กูล การประสานส่ งต่ อ เป็ นต้ น
8. กิจกรรมที่ส่งเสริมศักยภาพการดาเนินงานของอาสาสมัคร
ดูแลผู้สูงอายุ (เป็ นศูนย์ ประสานงานอาสาสมัคร)
9. กิจกรรมที่ตอบสนองตามความต้ องการอืน่ ๆ ของผู้สูงอายุ
Page 21
ประเภทกิจกรรม
 กิจกรรมภายนอก ศพอส.
1. กิจกรรมทางศาสนาและประเพณี
2. กิจกรรมการเยีย่ มบ้ านผู้สูงอายุ
3. กิจกรรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
4. กิจกรรมทีต่ อบสนองตามความต้ องการ
อืน่ ๆ ของผู้สูงอายุ
Page 22
การติดตามและรายงานผล
 สานักงานพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์ จงั หวัด
ติดตามและรายงายผลการดาเนินงานให้ ส่วนกลาง
รายเดือน และรายงานตามหลักเกณฑ์ กองทุนผู้สูงอายุ
Page 23
กระทรวง พม.สนับสนุน
1) งบประมาณเริ่มต้ น
ตัวแบบ (Model) ศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ และส่ งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
2) งานวิชาการ
ชมรมผู้สูงอายุ
หน่ วยงานภาครัฐทีส่ นับสนุน
3) บุคลากรเป็ นพีเ่ ลีย้ งกากับดูแลงาน
กลุ่มองค์ กรอืน่ ๆ
องค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
กิจกรรมในศูนย์
1. ส่ งเสริมสุ ขภาพอนามัย : จัดให้ มีมุมออกกาลังกาย และการให้
ความรู้ เรื่องการดูแลรักษาสุ ขภาพ
2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้ สาหรับผู้สูงอายุ : จัดให้ มี
มุมบริการข่ าวสาร ความรู้ ด้ านสุ ขภาพ ด้ านกฎหมาย ด้ าน
การศึกษา ฯลฯ และให้ มีมุมแลกเปลีย่ นประสบการณ์ ระหว่าง
ผู้สูงอายุ
3. ส่ งเสริมให้ มีกจิ กรรมด้ านอาชีพ : จัดให้ มีการฝึ กอาชีพ
สาหรับผู้สูงอายุ และมุมจาหน่ ายผลิตภัณฑ์
4. ส่ งเสริมการผลิต การจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ และการรับงานไปทา
ทีบ่ ้ าน
5. การถ่ ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
6. กิจกรรมนันทนาการ ศาสนา ประเพณี
7. จัดให้ มีระบบฐานข้ อมูลของผู้สูงอายุในพืน้ ที่
ศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพชี วติ และ
ส่ งเสริมอาชี พผู้สูงอายุ
คณะกรรมการศูนย์
ชมรมผู้สูงอายุ
สมาชิกและอาสาสมัคร
กิจกรรมนอกศูนย์
1. การเยีย่ มบ้ านผู้สูงอายุ
2. การเยีย่ มผู้สูงอายุทเี่ จ็บป่ วย
3. ให้ ความช่ วยเหลือผู้สูงอายุ
ทีถ่ ูกทอดทิง้ เดือดร้ อน
4. การถ่ ายทอดภูมปิ ัญญา
5. จิตอาสา
6. สร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างวัย
Page 24
- สานักงาน พมจ. เป็ นหน่ วยงานรับผิดชอบหลักระดับจังหวัด
ในการขับเคลือ่ นการดาเนินงาน ศพอส. ให้ เกิดผลสาเร็จ
- โดยการบูรณาการความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงานของกระทรวง พม.
ในระดับจังหวัด
- และใช้ กลไกคณะกรรมการขับเคลือ่ น ศพอส. ระดับจังหวัด และ
คณะกรรมการบริหาร ศพอส. ระดับพืน้ ที่ เชื่อมโยงการทางานกับ
หน่ วยงานอืน่ เพือ่ ส่ งเสริมให้ การดาเนินงาน ศพอส. เกิดความ
ต่ อเนื่องและยั่งยืน
Page 25
หน่ วยงานที่ร่วมขับเคลือ่ นการดาเนินงาน (ภายใน พม.)
1. สป.พม.
ส่ วนกลาง
2. กรมพัฒนาสั งคม
และสวัสดิการ
3. สท.
3.1 สานักส่ งเสริมและพิทกั ษ์ ผ้ สู ู งอายุ (สทส.) ให้ การสนับสนุน
ทางวิชาการ/ องค์ ความรู้ / ติดตามและประเมินผล
3.2 กองทุนผู้สูงอายุ สนับสนุบงบประมาณจัดกิจกรรม ศพอส.
3.3 กองส่ งเสริมและพัฒนาเครือข่ าย (กพข.) สนับสนุนการพัฒนา
ศักยภาพเครือข่ าย / เสริมความเข้ มแข็งของคณะกรรมการศูนย์ ฯ
ระดับพืน้ ที่
Page 26
จบการนาเสนอ
Page 27