การพัฒนาภาพลักษณ์ ของการ เป็ นผู้นาทางวิชาการ โดย.. นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. “ภาพลักษณ์” ภาพลักษณ์ หมายถึง ภาพที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคลตามความรูส้ ึ กนึก คิด ที่มีต่อ องค์กร สถาบัน หรื อตัวบุคคล ภาพลักษณ์ ถือเป็ นเครื่ องมือในการบริ หาร.

Download Report

Transcript การพัฒนาภาพลักษณ์ ของการ เป็ นผู้นาทางวิชาการ โดย.. นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. “ภาพลักษณ์” ภาพลักษณ์ หมายถึง ภาพที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคลตามความรูส้ ึ กนึก คิด ที่มีต่อ องค์กร สถาบัน หรื อตัวบุคคล ภาพลักษณ์ ถือเป็ นเครื่ องมือในการบริ หาร.

การพัฒนาภาพลักษณ์ ของการ
เป็ นผู้นาทางวิชาการ
โดย.. นายประเสริฐ บุญเรือง
เลขาธิการ กศน.
“ภาพลักษณ์”
ภาพลักษณ์ หมายถึง ภาพที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคลตามความรูส้ ึ กนึก
คิด ที่มีต่อ องค์กร สถาบัน หรื อตัวบุคคล
ภาพลักษณ์ ถือเป็ นเครื่ องมือในการบริ หาร ให้หน่วยงาน องค์กร หรื อตัว
บุคคล ให้เกิดความเชื่อถือ ศรัทธา และยอมให้ความร่ วมมือ ภาพลักษณ์
จึงถือเป็ นภาพของสถาบัน องค์กร หรื อบุคคล ที่เกิดจากความรูส้ ึ กใน
จิตใจ ของคนบุคคลอื่น ว่าดี ไม่ดี ชอบ ไม่ชอบ เชื่อถือ ไม่เชื่อถือ เห็น
ด้วย ไม่เห็นด้วย แม้กระทั้งรู ้สึกเฉยๆ

ลักษณะสาคัญของภาพลักษณ์






ทาให้เกิดความประทับใจ
ภาพลักษณ์ เป็ นสิ่ งที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ภาพลักษณ์ เป็ นสิ่ งที่เห็นได้ชดั เจน
ภาพลักษณ์จะต้องง่ายต่อการจดจา เข้าใจง่าย ชัดเจน
ภาพลักษณ์ ต้องมีการสารวจสม่าเสมอ เพื่อการปรับปรุ งพัฒนา
การสร้างภาพลักษณ์ ต้องใช้เวลา เพื่อให้เกิดการยอมรับ
การสร้างภาพลักษณ์





ภาพลักษณ์จะปล่อยให้เกิดขึ้นเองไม่ได้ เพราะจะไม่เป็ นไปตามที่
ต้องการ
ภาพลักษณ์ ต้องสารวจ และพัฒนาอยูเ่ สมอ
ภาพลักษณ์ ต้องประกอบไปด้วยการส่ งเสริ มให้ดีอยูต่ ลอด
ภาพลักษณ์ ต้องมีลกั ษณะป้ องกัน ไม่ให้เกิดการทาลาย หรื อคงไว้ให้
นาน
ภาพลักษณ์ ต้องมีการแก้ไข ปรับปรุ งตลอดเวลา เพื่อพัฒนาไปในทางที่ดี
“องค์ประกอบของภาพลักษณ์”




องค์ประกอบในเชิงการรับรู ้..อากัปกิริยา ท่าทาง บุคลิกภาพต่างๆ ที่สร้าง
ภาพลักษณ์ให้น่าเชื่อถือว่าสามารถเป็ นผูน้ าทางวิชาการได้
องค์ประกอบเชิงตระหนักรับรู ้..ทัศนะ แนวคิด องค์ความรู ้ต่างๆ ที่ทาให้
มีภาพลักษณ์ ของการเป็ นผูน้ าทางวิชาการได้
องค์ประกอบเชิงความรู ้สึก..เป็ นการยอมรับ ที่เกิดจากดุลพินิจ
องค์ประกอบเชิงการกระทา..การนาเป้ าหมายที่เกิดจากผลการเรี ยนรู ้
นาไปสูก้ ารปฏิบตั ิ ให้เกิดผลในการสร้างภาพลักษณ์ต่อไป
กลยุทธ์ในการสร้างภาพลักษณ์ผนู้ าทางวิชาการ




มีการปรับปรุ ง บุคลากร องค์กร แม้กระทั้งขั้นตอน คุณภาพการ
ปฏิบตั ิงาน ให้เกิดความน่าเชื่อถือสาหรับหน่วยงานด้านการศึกษา...
ต้องวางเป้ าหมาย หรื อจุดมุ่งหมาย ว่าต้องการให้สงั คม บุคคลอื่น ได้มอง
ภาพเราเป็ นอย่างไร
แสดงบทบาท หน้าที่ผนู ้ าทางวิชาการ ให้เป็ นที่ยอมรับ อย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
เป็ นการสร้างอิทธิพลต่อความรู ้สึกของบุคคลอื่น..
ดึงดูด ความสนใจโดยการปฏิบตั ิงานให้ผลสัมฤทธิ์เป็ นที่ประจักษ์ ...และ
เป็ นประโยชน์ ต่อสาธารณะชน..
“ผูน้ าทางวิชาการ”
คือ...เป็ นผูม้ ีความเข้าใจทฤษฏี ปรัชญาหลักสูตรต่างๆ ที่ใช้ในสถานศึกษา
ส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การบริ หารงานวิชาการ
ในสถานศึกษาจะมีคุณภาพดีมากน้อยเพียงใดนั้น ประการสาคัญที่สุด
ได้แก่ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาจาเป็ นจะต้องมีภาวะผูน้ าทางวิชาการ เพื่อให้
การจัดการศึกษาได้ตามเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545
การก้าวสู่ความเป็ นผูน้ าทางวิชาการจะต้องมี
องค์ประกอบต่างๆ กล่าวคือ
1. ต้องเป็ นผูบ้ ริ หารมืออาชีพ มีความรอบรู ้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี มี
การประยุกต์ใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างเหมาะสม
มีความรอบรู ้ดา้ นวิชาการ หลักสูตร ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาด้านต่างๆ
มีทกั ษะในการครองตน ครองคน และครองงาน มีภาวะผูน้ า มีความรู ้
ความเข้าใจ และการรู ้จกั ตัดสิ นใจ รู ้จกั วิธีการแก้ไขปัญหาได้...
2. ผูน้ าวิชาการจะต้องมีความสามารถในการบริ หารความเปลี่ยนแปลง คือ
2.1 สร้างความรู ้สึกจาเป็ นเร่ งด่วนในการเปลี่ยนแปลง
2.2 สร้างทีมงาน แนวร่ วมที่มีพลัง โน้มนาการเปลี่ยนแปลง
2.3 สร้างวิสยั ทัศน์ ชี้นา
2.4 สื่ อสาร สร้างความเข้าใจ ยึดมัน่ วิสยั ทัศน์ ผลักดันกลยุทธ์
2.5 เพิ่มอานาจให้ผอู ้ ื่นในการตัดสิ นใจ เพื่อให้วิสยั ทัศน์เป็ นจริ ง
2.6 วางแผนอย่างเป็ นระบบ เพื่อมุ่งสร้างความสาเร็ จระยะสั้น
2.7 รวบรวมผลสาเร็ จจากการปรับปรุ ง เพิม่ การเปลี่ยนแปลงที่ดี..
2.8
แนวคิดพื้นฐานของตัวผูน้ า
1.
2.
3.
4.
5.
ผู้นาสามารถสร้ างได้ ไม่ ได้ เป็ นมาแต่ กาเนิด
การเป็ นผู้นาสามารถเรียนรู้ และพัฒนาได้
มนุษย์ แต่ ละคนมีศักยภาพของการเป็ นผู้นา
การเป็ นผู้นา เป็ นความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
เกณฑ์ เฉลีย่ ของกลุ่มหรือปทัสถาน มีบทบาทต่ อ
ผู้นา
ผ้ ูนา คือบุคคลทีส่ ร้ างสรรค์ เปลีย่ นแปลงสังคม
หน่ วยงาน ผู้นาทีจ่ ะพัฒนาคนและพัฒนางานได้ อย่ าง
น้ อยต้ องมีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ
เก่งงานด้ านการวางแผน “เก่งงาน”
เก่งด้ านการเข้ ากับคน สั งคม เรียกว่ า “เก่งคน”
“เก่งคิด” รู้ จกั คิดพัฒนา
คุณลักษณะที่ผนู้ าควรจะมี
1. ภูมิฐาน หมายถึง ความสง่ าผ่ าเผย ความสะอาดหมด
จด ความเป็ นระเบียบ เรียบร้ อยและความพอเหมาะ
พอดีของรูปร่ าง เครื่องแต่ งกาย ท่ วงทีกริ ิยาวาจา
ความเป็ นผู้มีภูมิฐานนั้น แสดงถึงบุคลิกลักษณะ
แห่ งการเป็ นหัวหน้ าหรือผู้นา ทาให้ คนทั้งหลายมีความ
พึงใจ ยาเกรง และมีความศรัทธา
2. ภูมิวฒ
ุ ิ หมายถึง ความเป็ นผู้มีความรู้เฉพาะวิชาการ
ในหน้ าทีโ่ ดยตรงให้ แตกฉาน และจะต้ องมีความรู้ ใน
วิชาการแขนงอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องกับงานในหน้ าที่ มีความรู้
ทัว่ ไปดี ศึกษาค้ นคว้ าจากตารา และรู้ทนั เหตุการณ์ ของ
โลกที่เปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา
ภูมิวฒ
ุ ิ จะเป็ นตัวนาไปสู่ ความสามารถของผู้นา
เพราะความชานาญเฉพาะบุคคลทีแ่ สดงออกในการทา
กิจกรรมต่ าง ๆ
2.ภูมธิ รรม หมายถึง ผ้ ูนาหรือ
ผู้บังคับบัญชา แม้ จะภูมฐิ าน และมีภูมวิ ุฒิ
ทีด่ เี ลิศสูงส่ งเพียงใด ถ้ าความประพฤติไม่ ดี
ไม่ มีวนิ ัย จิตใจต่า ไร้ ศีลธรรม จรรยา
และวัฒนธรรมเสี ยแล้ ว ความรู้ หรือ
วิชาการที่มีกห็ าประโยชน์ ไม่ ได้
คุณลักษณะของผูน้ าที่มีภูมิธรรม







ความซื่ อสัตย์ ความมัน่ คง
เป็ นผูท้ ี่มีความยุติธรรม
เป็ นผูท้ ี่มีวนิ ยั ในตนเอง
เป็ นผูท้ ี่มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง และต่อผล
ที่เกิดขึ้น
เป็ นผูท้ ี่มีความปรารถนาที่จะทาดี
เป็ นผูท้ ี่มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
เป็ นผูท้ ี่มีความสามารถในการตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะของผูน้ าที่มีภูมิธรรม (ต่อ)








เป็ นผูท้ ี่รับฟังความคิดเห็นของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
เป็ นผูท้ ี่เสี ยสละกาลังกาย กาลังใจและกาลังทรัพย์
เป็ นผูท้ ี่มีพรหมวิหารสี่
ควบคุมอารมณ์ตนเองได้
เป็ นผูท้ ี่มีความหนักแน่น
เป็ นผูท้ ี่มีความเปิ ดเผย ตรงไปตรงมา จริ งใจ
เป็ นผูท้ ี่มีศกั ดิ์ศรี
เป็ นผูท้ ี่ไม่เห็นแก่ตวั
คุณธรรม – จริ ยธรรมของผูน้ า
และความคาดหวังของสังคมไทย



มีคุณธรรมและจริยธรรมต่ อตนเอง (ครองตน)
มีคุณธรรมและจริยธรรมต่ อผู้อนื่ และสั งคม
(ครองคน)
มีคุณธรรมและจริยธรรมต่ อหน้ าทีก่ ารงาน
(ครองงาน)
คุณธรรมและจริ ยธรรมต่อตนเอง (ครองตน)
ดาเนินชีวติ ตามหลักธรรมของศาสนา
โดยอาศัยหลัก พรหมวิหาร 4 ได้ แก่
เมตตา = ความรักใคร่ ปรารถนา ให้ เป็ นสุ ข
กรุณา = มีความสงสารให้ ผ้ ูอนื่ พ้ นทุกข์
มุทติ า = มีความยินดีเมือ่ ผู้มอี นื่ เป็ นสุ ข ไม่ อจิ ฉาริษยาผู้อนื่
อุเบกขา = ความวางใจเป็ นกลาง มีจิตเที่ยงธรรม
นักบริ หารควรมีคุณธรรมของผูบ้ ริ หาร
สั ปปุริสธรรม 7 ประการ
ซึ่งเป็ นธรรมอันเป็ นเครื่องนาไปสู่ ความสาเร็จในชีวติ
รู้ เหตุ
 รู้ ผล  รู้ ตน
 รู้ กาล
รู้ ประมาณ
 รู้ ประชุมชน
 รู้ บุคคล
หลักพระพทุ ธเจ้ า
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้ านเมือง
1. ประสิ ทธิผล
(Effectiveness)
2. ประสิ ทธิภาพ
(Efficiency)
10. การมุ่งเน้ นฉันทามติ
(Consensus Oriented)
9. ความเสมอภาค/เทีย่ งธรรม
(Equity)
เพือ่ ประโยชน์ สุข
ของประชาชน
8. นิติธรรม
(Rule of law)
3. การตอบสนอง
(Responsiveness)
4. ภาระรับผิดชอบ
(Accountability)
5. ความโปร่ งใส
(Transparency)
7. การกระจายอานาจ
(Decentralization)
6. การมีส่วนร่ วม
(Participation)
คุณลักษณะของนักบริ หารยุคใหม่
ว่ ากันว่ า “นักบริหารยุคใหม่ ” ต้ องเป็ น “นักบริหารมือ
อาชีพ” ต้ องพยายามเรียนรู้ หลักการ แนวคิด ทฤษฏี
ทางการบริหารและฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ มีทกั ษะ
เก่ งคิด เก่ งงาน และเก่ งคน ยังต้ องมีคุณลักษณะทีส่ าคัญ
อีก 4 ประการ คือ
คิดกว้ าง
มองไกล
มุ่งสู่ ความสาเร็จ
ใฝ่ สู ง
กลยุทธ์ 7 ประการ ของผูน้ ายุคใหม่







มีวสิ ั ยทัศน์ กว้ างไกล
สร้ างนวัตกรรม
ทางานอย่ างประหยัด
วัดความพอใจลูกค้ า
พัฒนาคนและระบบ
จบทีช่ ุมชน
วนสู่ ความเป็ นเลิศ
นักบริ หารที่ดี ควร
ตัดสิ นใจโดยอ้ างอิง
ยิงให้ ถูกเป้ า
เย้ าให้ ถูกที่
ชี้ให้ ถูกคน
สนการสื่ อสาร
ประสานอย่ าให้ ขลุก
ตัดสิ นใจ
รักษาเป้ าหมาย
มนุษยสั มพันธ์
ใช้ คนเป็ น
สื่ อสารดี
ประสานงานคล่ อง
ลักษณะผูน้ าที่พึงปราถนาในสังคมไทย
หน้ ายิม้
ใจพัฒนา
สนใจทาจริง
ฟังความคิดผู้อนื่
เป็ นผู้นาในองค์ การ
ไม่ ถูกชัก(นา)ด้ วยสอพลอ
มือไหว้
แสวงหาความคิดใหม่
ไม่ วงิ่ หาแต่ อามิส
เริงรื่นกับงานทีท่ า
อาจหาญต่ อปัญหาอุปสรรค
นี่แหละหนอผู้นาไทย
ลักษณะผูน้ าที่ไม่พึงปราถนาในสังคมไทย
หน้ ายิม้
ใจอันธพาล
ริษยาเป็ นประจา
เริงสาราญอยู่แต่ อามิส
ชมชื่นคาสอพลอ
มือไหว้
งานไม่ พฒ
ั นา
คิดแต่ ควา่ องค์ กร
แสวงหาความผิดผู้อนื่
นี่แหละหนอผู้นาไทย(บางคน
พฤติกรรมที่ไม่สมควรดารงอยูใ่ นตัวของผูน้ า คือ
 พึง่ ดวง  หวงอานาจ  ญาติอุปถัมภ์
 ทาคนเดียว  เขีย้ วลากดิน
 กินไก่ วดั
 งัดข้ อ
 จ้ อทั้งวัน  ขยันโง่
 อวดโตวางท่ า  ซ่ าส์ จนหยดสุ ดท้ าย
ความล้มเหลวขององค์กร เกิดจาก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ผู้นาขาดการวางแผน
ผู้นาขาดการจัดองค์ การ
ผู้นาขาดการจัดอัตรากาลัง
ผู้นาขาดการอานวยการ
ผู้นาขาดการประสานงาน
ผู้นาขาดการรายงาน
ผู้นาขาดการงบประมาณทีด่ ี
ปัญหา
ทาให้ นักบริหาร
เวลา
ทาให้ นักบริหาร
สถานการณ์ ทาให้ นักบริหาร
การตัดสิ นใจ ทาให้ นักบริหาร
ความคิด ทาให้ นักบริหาร
เข้ มแข็ง
เชี่ยวชาญ
รู้จักแก้ ปัญหา แก้ไข
รู้ถูกรู้ผดิ
เลิศทางปัญญา
เตือนใจนักบริ หาร
กระจกมีไว้ ส่องหน้ า
 ปัญญามีไว้ ส่องหัว
 ความชั่วมีไว้ ส่องคุณธรรม
 ผู้นามีไว้ ส่ององค์ กร
นักบริหารมีผลงานเป็ นกระจก
ความสาเร็ จต้องอาศัย
การฝ่ าฟัน
การต่ อสู้
ความเชี่ยวชาญ
การฝึ กฝน
ความสามารถ
พรแสวง
มิใช่ ฟลุค
มิใช่ นั่งดู
มิใช่ โชคช่ วย
มิใช่ บุญหล่ นทับ
มิใช่ วาสนา
มิใช่ พรสวรรค์
ข้อคิดในการพูด
อย่ าดีแต่ พูด จงพูดแต่ ดี
อย่ าดีแต่ คดิ
จงคิดแต่ ดี
อย่ าดีแต่ ทาจงทาแต่ ดี
และลงมือทาเดีย๋ วนี้
การพูดและทาทีด่ ี คือ
สิ่ งทีจ่ ะนาไปสู่ ความสาเร็จได้

สรุป ผู้บริหารทุกระดับ จะต้ องครองตน ครองคน
และครองงานให้ ได้ การครองตนนั้น ควรยึดมั่นใน
เบญจศีล และเบญจธรรม นอกนีแ้ ล้ ว จะต้ องมี
สติสัมปชัญญะกากับอยู่เสมอ การครองคน ควรนา
สั งคหวัตถุ ๔ มาเป็ นแนวปฏิบัติงาน การครองงาน
ควรยึดหลัก อิทธิบาท ๔ โดยเฉพาะการมีความรักใน
งานที่ทา มีความเพียรในการทางาน เอาใจใส่ ในงานที่
ทา และหมั่นปรับปรุงงานทีท่ าให้ ดขี นึ้ อยู่เสมอ นี้
แหละจึงจะได้ ชื่อว่ าครองงานได้
คุณลักษณะผ้ ูบริหาร กศน.ยุคใหม่
1. รู้ และเข้ าใจสมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีโลก
อันดับสมรรถนะด้านการศึกษาของไทย พ.ศ. 2545-2549
60
50
40
48
46
48
2547
2548
2549
41
30
21
20
10
0
2545
2546
IMD: อันดับสมรรถนะการศึกษาไทย 48 จาก 61 ปี 2549
สถาบันพัฒนาการศึกษานานาชาติ
วัดคุณภาพนักเรียนจากการอ่ าน (PISA 2000)
คะแนนเฉลีย่ และอันดับของประเทศเอเซีย
ประเทศ
อันดับที่
คะแนน
เฉลีย่
หมายเหตุ :
ไทย อินโดนีเซีย
ฮ่ องกง
เกาหลี
ญีป่ ุ่ น
6
6
9
32
39
525
525
522
431
367
อันดับที่ 1. ฟิ นแลนด์ 2. แคนาดา 3. ออสเตรเลีย
ทักษะการแก้ ปัญหา
(PISA 2003)
อันดับ
Problem solving
1
2
3
4
เกาหลี
จีน-ฮ่ องกง
ฟิ นแลนด์
ญี่ปุ่น
5
นิวซีแลนด์
6
จีน-มาเก๊า
ไทย อันดับ 34 และอยู่ที่ 25%ท้ ายสุ ด
คุณลักษณะผ้ ูบริหาร กศน.ยุคใหม่
2. รู้ และเข้ าใจโอกาสในการจัดการศึกษา ของ กศน.
โอกาสของ กศน. จัดการศึกษาตลอดชีวิต
1. ในอนาคตสั งคมไทยจะเป็ นสั งคมของผู้สูงอายุ ลูกค้ าสู งอายุ
ต้ องจัดให้ ง่าย สะดวก ความรู้ รอบด้ าน และเน้ นคุณภาพชีวติ
2. ยังมีกลุ่มคนไทยในต่ างประเทศที่ต้องการเรียนการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน อ่ านออกเขียนได้ เป็ นภาษาไทย จะนาคนสอนไปจัด
ในต่ างแดน หรือส่ งความรู้ ผ่านอินเตอร์ เน็ตไปให้
3. กลุ่มแรงงานวัยทางาน15 ถึง 59 ปี ยังต้ องการพัฒนาตนเอง เพือ่
ยกระดับทักษะให้ เหมาะกับงาน ขึน้ อยู่ทวี่ ธิ ีจัดการความรู้ให้ คนเหล่านีเ้ ข้ าถึง โดย
ทางานไปเรียนไป ได้ อย่ างไร
คุณลักษณะผ้ ูบริหาร กศน.ยุคใหม่
3. รู้ และเข้ าใจว่ าคนอืน่ เสนอแนะงาน กศน. อย่ างไร
แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เสนอโดยสภาการศึกษา
1. ประชาชนทุกคนมีการเรียนรู้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
2. ประชากรทีพ
่ ลาดโอกาสการศึกษาในระบบ ผู้พกิ าร ด้ อยโอกาส และ
ประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี ) ทุกคนได้ รับบริการทางการศึกษา
อย่ างน้ อยในระดับการศึกษาภาคบังคับและได้ รับการฝึ กอบรมวิชาชีพ
ตามความถนัดและความสนใจ
3. ประชากรวัยสู งอายุต้งั แต่ 60 ปี ขึน้ ไปทุกคนได้ รับการศึกษา ตาม
อัธยาศัยจากการบริการของรัฐ เอกชน และองค์ กรปกครอง ส่ วน
ท้ องถิ่น
มาตรการตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยตามแผน 10 เสนอโดยสภาการศึกษา
1. ส่ งเสริมเครือข่ ายการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของสถานศึกษาและหน่ วยงานของกระทรวง ทบวง กรม ต่ าง
ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
2. เพิม่ ปริมาณและคุณภาพของแหล่ งเรียนรู้ ให้ มีความหลากหลาย
รวมทั้งพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ทมี่ ีอยู่แล้ วให้ มีคุณภาพ ศักยภาพรองรับ
ความต้ องการทางการศึกษาของประชาชนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและ
เพียงพอ
มาตรการตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนพัฒนาการศึกษา ระยะ10
3. ให้ มีมาตรการส่ งเสริ มสนับสนุนให้ มีการผลิตสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อ
เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี
คุณภาพ
4. พัฒนาระบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้
สั งคมไทยเป็ นสั งคมแห่ งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ก้าวทันเทคโนโลยี
สอดคล้องกับบริบท ทั้งทางด้ านเศรษฐกิจ สั งคม การเมือง ฯลฯ
5. เร่ งให้ มก
ี ฎหมายเกีย่ วกับการส่ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศัยให้ เป็ นกลไกและเอือ้ อานวยต่ อการเรียนรู้ตลอดชีวติ
คุณลักษณะผ้ ูบริหาร กศน. ยุคใหม่
4. สิ่ งทีค่ วรเรียนรู้ และปฏิบัติ
1. เรียนรู้ จากกูรูผู้ประสบความสาเร็จ
สูตรมหามงคล :
ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง
=พอประมาณ
+มีเหตุผล
+มีภูมิค้ มุ กันความเสี่ยง
แบบหม่า จ๊ กมก
นายบารั ก โอบาม่ า: ประธานาธิบดีผิวสี
ผ้ สู ร้ างความเปลีย่ นแปลง
ให้ สหรั ฐอเมริ กา
เจ้ าของรางวัลโนเบลสันติภาพ 2552
พลตรีหม่ อมราชวงศ์ คกึ ฤทธิ์ ปราโมช
อดีตนายกรัฐมนตรี บุคคลสาคัญของโลก
ปี 2552 ได้รบั การยกย่อง 4 สาขา ได้แก่ 1.
การศึกษา
2.วัฒนธรรม 3.สังคมศาสตร์ และ 4.
สื่อสารมวลชน
นักปราชญ์ และศิลปิ นแห่ งชาติ
ข้ อคิด
“สูตรความสาเร็ จมิได้ อย่ ทู ใี่ ครเป็ นเจ้ าของสูตร
หรื อใครเขียนได้ พสิ ดารกว่ า
ข้ อสาคัญคือ ท่ านต้ องปรั บสูตรให้ เหมาะกับตนเอง
และลงมือทดลอง ทาไป แก้ไขไปจนสูตรเข้ าที”่
2. ทางานโดยมุ่งเน้ นผลงาน
สร้ างผลงาน สร้ างโอกาสก่อน
จึงชิงชัยเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
“ต้ องทางานให้ เหมาะกับตาแหน่ ง มิใช่ เก่ ง
ทุกอย่ าง ยกเว้ นงานในหน้ าที่
ต้ องร้ ูว่าหน้ าทีข่ องตนเองทาอะไร แล้ วก็
ทางานให้ เป็ นไปตามความคาดหวังของ
ตาแหน่ ง”
ข้ อคิดเพิม่ เติม
“ต้ องศึกษาบทบาทหน้ าที่ของตนเองอย่ างถ่ องแท้ จะทาให้
การทางานเป็ นไปอย่ างมีจุดหมาย มีระบบและประสบ
ผลสาเร็จ”
“การก้ าวสู่ ตาแหน่ งผ้ บู ริ หารสูงสุดขององค์ กรนับว่ ายากมาก
แต่ การรั กษาตาแหน่ งโดยมีผลงานให้ เป็ นที่ยอมรั บ
กลับยากกว่ าสิบเท่ า ”
3. ผู้บริหารจะต้ องมีอารมณ์ ขนั
“ อารมณ์ ขันจะเป็ นเสน่ ห์ ทาไมดาราตลก ที่
อารมณ์ ขันได้ ภรรยาสวยเป็ นนางงาม เบื้องหลัง
มีการวิจัยว่ าคนที่มีอารมณ์ ขัน คือคนที่มีเสน่ ห์
ทาให้ ทุกคนผ่ อนคลาย”
4. ผู้บริหารจะต้ องละอารมณ์ โกรธ
ร่วมงาน/ผูใ้ ต้บ ังค ับบ ัญชา
ิ ชูเกียรติ
รวมทงยกย่
ั้
องเชด
อย่างเหมาะสม
6. ผูบ
้ ริหารจะต้องระดมความร่วมมือ
จากทุกภาคสว่ น
่ เสริม สน ับสนุน
7. ผูบ
้ ริหารจะต้องสง
การทางานเป็นทีม มีแผนในการ
ทางาน เน้นการมีสว่ นร่วมคิด ร่วมทา
อย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
วงจรเดมมิ่ง PDCA
A
P
C
D
วางแผน
ปรับปรุ ง
ลงมือปฏิบัติ
ตรวจสอบ
9.ผู้บริหารจะต้ องทางานโดยยึดหลัก
มนุษยสั มพันธ์
ั ันธ์
10.ผูบ
้ ริหารจะต้องประชาสมพ
การดาเนินงาน
ั ันธ์
โฆษณาประชาสมพ
สร้างสรรค์ภาพล ักษณ์
ั ันธ์คอ
“งานประชาสมพ
ื ด่าน
แรกของการรายงาน
ความสาเร็จของท่านและ
องค์กร
สว่ นผลงานของท่านจะเลว
หรือดี ว ัดทีค
่ นอืน
่ เขาร ับรู ้
อย่างไร ”
“ข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดี
ต้องจ่าย
โจทย์ขอ
้ ใหญ่ของท่านคือ
จะทาอย่างไร จึงจะเป็น
ข่าวหน้าหนึง่ ในทางดี”
ึ ษาธิการและ กศน.
ของ กระทรวงศก
่ เรียนฟรี 15 ปี สถานศก
ึ ษา 3 D
เชน
ห้องสมุด 3 ดี Tutor Channel
่ ารปฏิบ ัติอย่าง
เป็นต้น และนาไปสูก
จริงจ ัง
12. ผู้บริหารต้ องพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
“การพัฒนาตนเองก็คอื
เราต้ องค้ นหาตัวจริ งเสียงจริงทีเ่ ป็ นอย่ ใู นปัจจบุ นั
ของเราให้ เจอ, ค้ นหาตัวตนทีเ่ ราอยากเป็ น,
แล้ วค้ นหาตัวตนของเราทีค
่ นอื่นอยากให้ เรา
เป็ น
ทัง้ 3 อย่ างนี้ถ้าเรายังหาไม่ พบ เราก็จะหลงเวียนวน
โดยไม่ ร้ ูตัวตนทีแ่ ท้ จริงของเรา “
“เหมือนนกน้อยสร้างร ังแต่พอต ัว
หมายความว่า
ถ้าต ัวเราย ังน้อยอยู่ ก็จะต้องสะสม
ประสบการณ์ ทาโครงการตามระด ับ
ความสามารถ
้
แต่เมือ
่ ผ่านไประด ับหนึง่ แล้ว ต้องบินสูงขึน
้ ”
ต้องไต่เพดานสูงขึน
“ เราต้องคิดนอกกรอบ ฝันทงที
ั้ ตอ
้ งฝันใหญ่
และฝึ กทาโครงการอย่างต่อเนือ
่ ง เราก็จะ
สามารถก้าวเป็นเบอร์ 1 ขององค์กรและ
ั
ได้ร ับการยอมร ับจากสงคม”
้ ฐาน
13. สร้างความชอบธรรมบนพืน
คุณธรรมและกฎหมาย
“ อย่าไปทาผิดไปสะดุดขาต ัวเอง
้ ด้วยความ
อย่าไปตายนา้ ตืน
ไม่รก
ู ้ ฎหมายเล็กๆน้อยๆ ทาให้ถก
ู
บน
่ ั ทอนความก้าวหน้า เพราะว่า
กฎหมายเป็นกฎกติกามารยาท
ั
ทางสงคมทุ
กคนต้องใชร้ ว่ มก ัน
แต่ อย่าเถรตรง จนกระทง่ ั
ทุกอย่างไม่สามารถทีจ
่ ะคิด
การยืดหยุน
่ ได้”
14. ฝึ กท ักษะใหม่ จ ัดการความรู ้
จ ัดการความคิด
”สร้างองค์กรแห่งการเรียนรูแ
้ บบโตแล้ว
เรียนล ัด
ขน1
ั้ ให้เริม
่ เขย่าองค์กร
ขน2
ั้ จ ัดการถ่ายทอดแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้
ขน3
ั้ ขยายการเรียนรูท
้ ว่ ั ทงองค์
ั้
กร
ขน4
ั้ แลกเปลีย
่ นเรียนรูน
้ อกองค์กร
ึ ษาความสาเร็จของหน่วยงานอืน
ไปศก
่
้ ับการทางานของเรา”
มาใชก
ิ ธิภาพได้
15. เพิม
่ ประสท
เมือ
่ ใชเ้ ทคโนโลยี
“หน่วยงานของท่านมีอาการป่วย
หรือไม่ มีคนดีคนเก่ง มีเทคโนโลยี
ขนสู
ั้ ง แต่กล ับไม่ใชง้ าน ต้อง
สง่ เสริมให้ทก
ุ คนใชเ้ ทคโนโลยี
้ ฐานได้“
พืน
ผู้บริหารทีด่ ตี ้ องได้ ท้งั คนและงาน
โดยไม่ เสี ยหลักการ
ขอให้ ทุกท่ านโชคดี