Introduction to SPSS - Frequencies - Descriptive - Compute variable - Chi-square http://www.thaiall.com/spss https://www.facebook.com/groups/thaiebook/ http://www.ayhosp.go.th/ay-hosp/images/HA/R2R-HA/3r2r-analysis-and-interpretation.pdf http://www.kit2010.com/UserFiles/File/MarketingResearch/IntroductionSPSS.pdf http://www.slideshare.net/najeebahbt/spss-8609631 http://www.watpon.com/spss/ + http://www.docstoc.com/docs/25717230/ http://202.28.25.163/mis/download/publication/459_file.pdf http://joomlas.ru.ac.th/km/uthai/images/knowledge_sharing/KM_SPSS.pdf July 14, 2014

Download Report

Transcript Introduction to SPSS - Frequencies - Descriptive - Compute variable - Chi-square http://www.thaiall.com/spss https://www.facebook.com/groups/thaiebook/ http://www.ayhosp.go.th/ay-hosp/images/HA/R2R-HA/3r2r-analysis-and-interpretation.pdf http://www.kit2010.com/UserFiles/File/MarketingResearch/IntroductionSPSS.pdf http://www.slideshare.net/najeebahbt/spss-8609631 http://www.watpon.com/spss/ + http://www.docstoc.com/docs/25717230/ http://202.28.25.163/mis/download/publication/459_file.pdf http://joomlas.ru.ac.th/km/uthai/images/knowledge_sharing/KM_SPSS.pdf July 14, 2014

Introduction to
SPSS
- Frequencies
- Descriptive
- Compute variable
- Chi-square
http://www.thaiall.com/spss
https://www.facebook.com/groups/thaiebook/
http://www.ayhosp.go.th/ay-hosp/images/HA/R2R-HA/3r2r-analysis-and-interpretation.pdf
http://www.kit2010.com/UserFiles/File/MarketingResearch/IntroductionSPSS.pdf
http://www.slideshare.net/najeebahbt/spss-8609631
http://www.watpon.com/spss/ + http://www.docstoc.com/docs/25717230/
http://202.28.25.163/mis/download/publication/459_file.pdf
http://joomlas.ru.ac.th/km/uthai/images/knowledge_sharing/KM_SPSS.pdf
July 14, 2014
1
สิ่ งทีค
่ วรเขาใจเกี
ย
่ วกับสถิต ิ และ
้
การวิจย
ั
• การวิจย
ั คือ การคนคว
า้ ทดลอง หาคาตอบ
้
อยางมี
กระบวนการ แลวสรุ
ปผล
่
้
• ดร.วิยดา เหลมตระกู
ล บอกวาการวิ
จย
ั ตองเริ
ม
่ ตน
่
่
้
้
จากมีความเชือ
่
เช่น
เชือ
่ วา่ marketing mix และเพศ
มีความสั มพันธต
ดสิ นใจซือ
้
่
์ อการตั
ผลิตภัณฑ ์
2
กอนก
าหนด
่
ประเด็น
เชือ
่ วา่ อบรมแลวทุ
้ ก
ตคนจะพอใจ
องมี
ความเชือ
่
้
จึงใช้แบบสอบถาม
ประเมินฯ
แลวหาค
าเฉลี
ย
่
้
่
mean
หาค
S.D.
เชื
อ
่ วา่ า่ การสอบรู
ปแบบ
หา % แลวตี
ความ
้
ใหม
่
เป็ นระดั
จะท
าให้ บpost-test สูง
กวา่ pre-test
แลวน
้ าผลการเรียบเทียบ
มาอภิปรายวา่
แบบใหมดี
า่
่ กวาแบบเก
่
3
Data types
ระดับที่ 1 มาตราการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale)
เป็ นระดับทีใ่ ช้จาแนกความแตกตางของสิ
่ งทีต
่ องการวั
ดออกเป็ นกลุม
่
้
่
เช่น การศึ กษา จังหวัด อาชีพ สถานะสมรส
เช่น ตัวแปรเพศ แบงออกเป็
นกลุมเพศชายและกลุ
มเพศหญิ
ง
่
่
่
ระดับที่ 2 มาตราการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales)
เป็ นระดับทีใ่ ช้สาหรับจัดอันดับทีห
่ รือตาแหน่งของสิ่ งทีต
่ องการวั
ด
้
ตัวเลขในมาตราการวัดระดับนี้เป็ นตัวเลขทีบ
่ อกความหมายในลักษณะมาก-น้อย สูง-ตา่
เกง-อ
กวากั
่ อน
่
่ น
เช่น อันดับทีห
่ นึ่ง หรือทีส
่ อง หรือทีส
่ าม
ระดับที่ 3 มาตราการวัดระดับช่วง (Interval Scale)
เป็ นระดับทีส
่ ามารถกาหนดคาตั
างตั
วเลขเทา่ ๆ กัน
่ วเลขโดยมีช่วงหางระหว
่
่
สามารถนาตัวเลขมาเปรียบเทียบกันไดว
้ าว
่ ามี
่ ปริมาณมากน้อยเทาใด
่
แตไม
ว
นและกัน
่ สามารถบอกได
่
้ าเป็
่ นกีเ่ ทาของกั
่
เพราะมาตราการวัดระดับนี้ไมมี
่ 0 (ศูนย)์ แท้ มีแต่ 0 (ศูนย)์ สมมติ
เช่น การวัดความพึงพอใจมักแบงเป็
่ น 5 ระดับ (5 4 3 2 1)
ระดับที่ 4 มาตราการวัดระดับอัตราส่วน (Ratio Scale)
เป็ นระดับทีส
่ ามารถกาหนดคาตั
่ องการวั
ด มี 0 (ศูนย)์ แท้
่ วเลขให้กับสิ่ งทีต
้
เชน น้าหนัก ความสูง อายุ เป็ นตน
4
สถิตเิ ชิงพรรณา (Descriptive
Statistics)
• สถิตเิ ชิงพรรณนา งายกว
าสถิ
ตเิ ชิงอนุ มาน
่
่
เพราะตรงไปตรงมา
• ในบรรดาคาสถิ
ตแ
ิ ลว
ตเิ ชิงพรรณนา
่
้ คาสถิ
่
น่าจะเป็ นคาพื
้ ฐาน
่ น
ทีเ่ ขาใจได
ง้ าย
แยกไว้ 4 กลุม
้
่
่ คือ
1) การแจกแจงความถี่ (Frequencies
Distribution)
2) การวัดคากลางของข
อมู
่
้ ล (Measures of
Central Tendency)
5
คาเบ
่ ้ และ ความโดง่
• Skewness ใช้วัดคาความเบ
่
้
ถาค
าเบ
้ าบวกแสดงว
่
่ ซ
้ ้าย
ถาค
าเบ
้ าลบแสดงว
่
่ ขวา
้
• Kurtosis ใช้วัดคาความโด
ง่
่
ถาค
าสู
้ าบวกแสดงว
่
่ งกวาปกติ
่
ถาค
าต
้ าลบแสดงว
่
่ า่ กวาปกติ
่
6
สถิตอ
ิ างอิ
ง หรือ สถิตเิ ชิงอนุ มาน
้
(Inferential Statistics)
• เป็ นการใช้ศาสตรที
และวิธก
ี ารทาง
่ วยทฤษฎี
้
์ ว่ าด
สถิต ิ ในการวิเคราะหข
่ ตอบคาถาม
้ ล เพือ
์ อมู
หรือปัญหาทีส
่ นใจ โดยอาศั ยขอมู
้ ลเพียงส่วน
หนึ่งทีม
่ อ
ี ยู่ เพือ
่ อธิบายขอมู
่ มบูรณหรื
้ ลชุดทีส
์ อ
ประชากร
• ความแตกตางจากสถิ
ตเิ ชิงพรรณนา คือ สถิต ิ
่
เชิงพรรณนาทาการสรุปสาระสาคัญในขอมู
้ ล
ชุดทีม
่ อ
ี ยูในมื
อหรืออธิบายลักษณะของข้อมูล
่
ชุดนี้เทานั
งถึงขอมู
่
่ ้น ไมมี
่ การอางอิ
้
้ ลชุดอืน
7
Open Program เตรี ยมกรอกข้อมูลเพื่อประมวลผล
เปิ ดโปรแกรมมาต้ องเลือก
ว่ าจะโหลดข้ อมูลเดิม หรื อ
กรอกข้ อมูลใหม่
8
Data 2 fields
กรอกข้ อมูลที่น่ ี
หรื อคัดลอกข้ อมูล
จาก excel มา
paste ก็ได้
http://www.thaiall.com/office/score_sample.xlsx
9
Column name or Field name
กาหนด Label ให้ กับค่ า
ของตัวแปร
เวลาประมวลผลจะแสดง
Label จะได้ อ่านรู้ เรื่ อง
10
Save data file เก็บไว้อย่าให้หาย ไม่ง้ นั ต้องพิมพ์ใหม่
เมื่อ save ข้ อมูล
แฟ้มข้ อมูลจะมีสกุลเป็ น
.sav
11
Save output
แฟ้มผลลัพธ์ มีสกุลเป็ น .spv จะเปิ ด
ขึน้ มาภายหลังได้
ไม่ ผูกติดกันระหว่ าง .spv และ .sav
เลือก export เป็ น .doc ได้
12
Menu, Analyze, Descriptive Statistics,
Frequencies
เมื่อเข้ าไปแล้ ว กาหนดค่ า
statistic ให้ ออกเพิ่มได้
เช่ น mean, s.d.,
mode, sum, range
13
Frequencies : Statistics
ต้ องการค่ าใดก็เลือกได้
มีเยอะจนใช้ กันไม่ หมด
14
Frequencies output
ผลลัพธ์ จะออกมา
ในหน้ าต่ างใหม่
และเพิ่มต่ อท้ ายรายงานเดิม
ไม่ ทับรายงานเดิม
15
Export Output to word
ออกเป็ น .doc ก็ได้
โดยเลือก Export
16
Output in word
หน้ าตาผลลัพธ์ ท่ พ
ี บใน
Microsoft word
17
Menu, Analyze, Descriptive
Statistics, Descriptives (ไมใช
่ ่
Frequencies)
รายงานจะไม่ มีค่าความถี่
มีเฉพาะค่ าสถิตทิ ่ ีเลือกให้
แสดงเท่ านัน้
18
Descriptives output
ผลลัพธ์ ของการใช้
descriptives
สาหรั บผลลัพธ์ 2 ตัวแปร
19
Open data file with new output file
เปิ ดแฟ้มข้ อมูลเดิม
จะมีรายงานแจ้ งทันที
ในหน้ า output
เป็ นแฟ้มใหม่
20
ต.ย. ตาราง Frequency ของ
อุบล จินดาธรรม p.26
ตารางนีใ้ ช้ frequency
อย่ างเดียว
เมื่อได้ ตารางแล้ ว
ก็เขียนบรรยายสรุ ปผล
ท้ ายตาราง
21
ต.ย. การแปลผลทายตาราง
ของ
้
ชวิกา จันทรตาฝั
้น
์
• เรือ
่ ง การศึ กษาพฤติกรรมการเลือกซือ
้ ครีมบารุง
ผิวของกลุมสตรี
วย
ั ทางาน
่
ในเขตอาเภอเมือง
จังหวัดลาปาง
จากตารางที่ xxx พบวา่ ปัจจัยส่วนประสม
ทางการตลาดดานราคา
ทีม
่ ผ
ี ลตอการเลื
อกซือ
้
้
่
ครีมบารุงผิวของกลุมสตรี
วย
ั ทางาน ในภาพรวม
่
อยูในระดั
บมากทีส
่ ุด มีคาเฉลี
ย
่ 4.35
่
่
เมือ
่ พิจารณาเป็ นรายขอ
้ พบวา่ ราคา
เหมาะสมกับปริมาณสิ นคา้ เป็ นอันดับ 1 มีคา่
22
Group of Data
3 column นีเ้ ป็ นกลุ่ม
เดียวกัน ถ้ าต้ องนาไป
เปรี ยบเทียบกับ sex ก็
ต้ องรวมค่ าเป็ นตัวแปรใหม่
23
Compute variable
สร้ างชื่อตัวแปร
และเขียน
expression
ตามต้ องการ
24
ตองเลื
อก
้
สถิตพ
ิ าราเมตริก กับ สถิตน
ิ อน
พาราเมตริ
ก
เงือ
่ นไขของสถิตพ
ิ าราเมตริก มีมาก
หากผิดเงือ
่ นไขก็ไปใช้สถิตน
ิ อนพาราเมตริก
โดยเงือ
่ นไข หรือขอตกลงเบื
อ
้ งตนของสถิ
ตพ
ิ ารา
้
้
เมตริก มีดงั นี้
1. มาจากประชากรทีม
่ ก
ี ารแจกแจงปกติ (Normal
distribution)
ไ่ ดมาโดยการสุ
2. เป็ นกลุมตั
่ ถือไดว
้
่
่ วอยางที
่ ม ทีเ่ ชือ
้ า่
ผลจะกระจาย
3. ข้อมูลตองอยู
ในมาตราอั
นตรภาค (Interval Scale)
้
่
25
สถิตพ
ิ าราเมตริก คืออะไร
(1/2)
สถิตพ
ิ าราเมตริก หรือพารามิตริก
(Parametric statistic) เป็ นสถิตท
ิ ท
ี่ ดสอบ
เกีย
่ วกับการแจกแจงของประชากรขนาด
ใหญ่ และเป็ นโค้งปกติ มักใช้กับข้อมูล
แบบอันตรภาคชัน
้ (interval scale) หรือ
อัตราส่วน (ratio scale) และเป็ นการ
ทดสอบคาเฉลี
ย
่ ไมใช
่
่
่ ่ คาความถี
่
คาสถิ
ตท
ิ ใี่ ช้มักเป็ น T-test, F-test, Z-test,26
่
สถิตน
ิ อนพาราเมตริก คืออะไร
(2/2)
สถิตน
ิ อนพาราเมตริก หรือนอนพารามิตริก
(Nonparametric statistic) เป็ นสถิตท
ิ ไี่ ม่
สนใจการแจกแจงของประชากร มักใช้
กับข้อมูลแบบนามบัญญัต ิ (Norminal
scale) หรือแบบเรียงลาดับ (Ordinal
scale) เป็ นการทดสอบคาความถี
ไ่ มใช
่
่ ่
คาเฉลี
ย
่
่
คาสถิ
ตท
ิ ใี่ ช้มักเป็ น Chi-square
่
27
แผนภาพแสดงการเลือกใช้
คาสถิ
ติ
่
http://hsmi.psu.ac.th/upload/forum/t-test_Thai_version-Dec_11_new_version.pdf
28
Chi-Square เหมาะกับขอมู
้ ล
แบบใด
คาสถิ
ตท
ิ ต
ี่ วั แปรจะตองอยู
ในระดั
บการวัด
่
้
่
Nominal Scale ใช้ทดสอบตอไปนี
้
่
1. กรณีกลุมเดี
่ ยว
- ทดสอบความแตกตางของ
ความแปรปรวนระหวาง
่
่
กลุมตั
กับ ประชากร
่ วอยาง
่
- ทดสอบความแตกตางของ
ความถีท
่ ค
ี่ าดหวัง กับ
่
ความถีท
่ ส
ี่ ั งเกตได้
- ทดสอบความขอมู
้ ลวามี
่ การแจกแจงเป็ น โค้งปกติ
หรือไม่ (Goodness of fit)
2. ใช้ทดสอบความสั มพันธระหว
างตั
วแปร 2
์
่
29
ต.ย. สมมติฐาน [6 ธานินทร]์
• ตัวแปรตาม แบบนามบัญญัติ เช่น รายการเพลง ช่วงเวลา ประเภท
• ตัวแปรอิสระ แบบนามบัญญัติ เช่น เพศ อายุ ภูมิลาเนา อาชีพ
• สมมติฐาน
1.
2.
3.
4.
5.
การเลือกประเภทเพลงที่ชอบขึ ้นอยูก่ บั สถานภาพด้ านเพศ
รายการเพลงที่ชอบแตกต่างกันไปตามอายุ
ช่วงเวลาที่ฟังเพลงกับอาชีพมีความสัมพันธ์กนั
การเลือกรายการเพลงที่สอดคล้ องกับ อายุ อาชีพ เพศ และภูมิลาเนา
การเลือกห้ างสรรพสินค้ ามีความสัมพันธ์กบั อายุ อาชีพ เพศ และภูมิลาเนา
30
Chi-Square Test ทดสอบการแจกแจงทีละตัวแปร
ท่านว่าตัวใดปกติ ถ้า Asymp. Sig. <0.05 แสดงว่าแจกแจงไม่ปกติ
การวัดการกระจาย
หรื อการแจกแจงทีละตัว
พบว่ ามีสองตัวที่
แจกแจงไม่ ปกติ
31
Nonparametic
Tests
Use chi-square
เพื่อทดสอบการกระจาย
หรื อการแจกแจง
ถ้ าทดสอบ
ท่ านว่ าตัวใดมีการแจกแจง
ปกติ และไม่ ปกติ
32
Chi-Square : Asymp. Sig. <0.05 แสดงว่าแจกแจงไม่ปกติ
Asymp. Sig. >=0.05 แสดงว่าแจกแจงปกติ
a คือ faculty และ b คือ score
ค่าองศาอิสระ ( degree of freedom : df )
จากค่ า sig ที่ได้
สรุ ปได้ ว่าอะไร
Ob. คือ จานวน
Ex. คือ จานวนคาดหวัง
Re. คือ ผลต่ างกับที่หวัง
33
Chi-square with 2 variables
ถ้ าใช้
Chi.
แทน
One.
Sig <0.05
แสดงว่ าแจกแจงไม่ ปกติ
34
ต.ย.การใช้ Chi-square ของ ชวิกา
่น p.37
จันทรตาฟั
์
• สมมติฐานการวิจย
ั
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ
มีผลต่อพฤติกรรมด้านสถานทีใ่ นการเลือกซือ
้
ครีมบารุงผิวของกลุ่มสตรีวย
ั ทางาน
• สมมติฐานทางสถิต ิ
H0 : สถานทีใ่ นการเลือกซือ
้ ครีมบารุงผิว [ไม]่
แตกตางกั
นตามอายุ
่
H1 : สถานทีใ่ นการเลือกซือ
้ ครีมบารุงผิว
แตกตาง
่
กันตามอายุ
• ใช้ Chi-square ทดสอบการแจกแจงปกติ
ถา Asymp. Sig. >= 0.05 หมายถึง แจกแจงปกติ35
ต.ย.การใช้ Chi-square ของ ชวิกา
จันทรตาฟั
่น p.37
์
36
ต.ย.การใช้ Chi-square ของ วรุณ
กาญจน์ สุรย
ิ ะ p.45
• สมมติฐานการวิจย
ั
เพศของผู้ออกกาลังกาย
มีความสั มพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสิ นใจซือ
้ ผลิตภัณฑ์
เครือ
่ งดืม
่ เพือ
่ สุขภาพ
ด้านประเภทของผลิตภัณฑ์เพือ
่ สุขภาพ
ด้านสถานทีห
่ รือแหล่งซือ
้ ผลิตภัณฑ์เพือ
่ สุขภาพ
ด้านระยะเวลาในการใช้ผลิตภัณฑ์เพือ
่ สุขภาพ และ
ด้านเหตุผลทีเ่ ลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เครือ
่ งดืม
่ เพือ่ สุขภาพเวย์
โปรตีน
• สมมติฐานทางสถิต ิ
H0 : เพศกับการตัดสิ นใจเลือกซือ
้ ตามประเภทของผลิตภัณฑ ์
[ไม]่ มีความสั มพันธกั
์ น
H1 : เพศกับการตัดสิ นใจเลือกซือ
้ ตามประเภทของผลิตภัณฑ ์
มีความสั มพันธกั
์ น
37
ต.ย.การใช้ Chi-square ของ วรุณ
กาญจน์ สุรย
ิ ะ p.45
38
ดร.ลภัสรดา จางแก
ว
่
้ แนะนากรอบ
แนวคิด น.ศ. MBA (1/3)
• ถ้ า 4Ps หรื อ 7Ps เป็ นตัวแปรอิสระ จะกาหนดพฤติกรรมเป็ น
ตัวแปรตามก็ได้ แต่ต้องมีพฤติกรรมไม่น้อยว่า 2 แบบเปรี ยบเทียบกัน
คือ การรับรู้ แล้ ว การปฏิบตั ิ
• ตัวอย่ างคาถาม
การรับรู้
ไปใช้ บริการ
มีสินค้าใหม่เข้าร้านทุกวันที่ 15
12345
12345
ราคาลด 50% ทุกวันที่ 1
12345
12345
บริ การ delivery เมื่อสัง่ ก่อนห้าโมง 1 2 3 4 5
12345
• โดยใช้ Crosstab + Chi-square เป็ นค่าสถิติในทดสอบพิสูจน์สมมติฐานได้
39
ตัวอย่างข้อมูลเทียบการรับรู้ กับการปฏิบตั ิ (2/2)
• ตัวอย่างข้ อมูลชุดนี ้มี 3 กลุม่ คาถาม
- คาตอบที่แนวโน้ มรับรู้แล้ วปฏิบตั ิบ้าง
- คาตอบที่แนวโน้ มรับรู้แล้ วไม่ชอบ
- คาตอบที่แนวโน้ มรับรู้แล้ วปฏิบตั ิ
• ผลจะแสดงในรูปตาราง crosstab
• แล้ วมีคา่ sig แสดงความสัมพันธ์
http://www.thaiall.com/spss/chisquare_crosstab.xlsx
40
ผลในรู ป Crosstab เปรี ยบเทียบพฤติกรรม (3/3)
• ตารางนี ้ทาให้ ทราบว่าคาถามข้ อใด
ที่แสดงความสัมพันธ์ของการรับรู้
และการปฏิบตั ิได้ อย่างชัดเจน
• มีหลายสถานการณ์จากคาตอบนี ้
- รู้แล้ ว และไปปฎิบตั ิ
- ไม่ร้ ู จึงไม่ไปปฏิบตั ิ
- รู้แล้ ว แต่ไม่ไปปฏิบตั ิ
- ไม่ร้ ู และไม่คดิ ไปปฏิบตั ิ
41