ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

Download Report

Transcript ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

้ ฐาน
03764491 ระเบียบวิธวี จ
ิ ัยพืน
ทางการจ ัดการโลจิสติกส ์
Basic Research Methods in Logistics
Management
กุสม
ุ า พิรย
ิ าพรรณ
ั ์ สุขวิบล
เติมศกดิ
ู ย์
คณะวิทยาการจ ัดการ
5 : 9 ก.พ. 58
การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review)
1
ความหมายการทบทวนวรรณกรรม
2
ความสาค ัญของการทบทวนวรรณกรรม
3
3
ว ัตถุประสงค์และเป้าหมายการทบทวนวรรณกรรม
43
ประเภทการทบทวนวรรณกรรม
53
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
63
กรอบแนวคิดในการวิจ ัยและประโยชน์ของกรอบแนวคิด
2
1. ความหมายการทบทวนวรรณกรรม
ความหมายวรรณกรรมวิจ ัย
ื งานนิพนธ์ทท
้ ทุกชนิด โดยทีม
วรรณกรรม หมายถึง งานหน ังสอ
ี่ าขึน
่ ี
่ ตารา หน ังสอ
ื จุลสาร สงิ่ เขียน
การนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ก ัน เชน
ี ง ภาพถ่าย
สงิ่ พิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คาปราศร ัย สุนทรพจน์ สงิ่ บ ันทึกเสย
และอืน
่ ๆ เป็นต้น
วรรณกรรมในงานวิจ ัย หมายถึง เอกสารต่างๆทีเ่ กีย
่ วข้องก ับ (1)
ั ันธ์ก ับเรือ
้ หาสมพ
แนวคิด/ทฤษฎี และ (2) ผลงานวิจ ัยทีม
่ เี นือ
่ งทีท
่ ากา ร
ึ ษาวิจ ัย
การศก
The University of Sydney (2010) การทบทวนวรรณกรรมเป็น
การจ ัดระบบห ัวข้อทีเ่ กีย
่ วข้องก ับว ัตถุประสงค์ของการวิจ ัย โดยผ่านการ
ั
่ ารพ ัฒนางานวิจ ัยครงต่
สงเคราะห์
เพือ
่ นาไปสูก
ั้ อไป
1. ความหมายการทบทวนวรรณกรรม
Zikmund, Babin, Carr, & Griffin (2010) การทบทวนวรรณกรรม
หมายถึง การค้นหาโดยตรงจากงานทีไ่ ด้ร ับการตีพม
ิ พ์ รวมถึงวารสารที่
ื ทีม
ตีพม
ิ พ์ตามเวลาทีก
่ าหนดและหน ังสอ
่ ก
ี ารกล่าวถึงทฤษฎีและแสดงผล
ึ ษาเชงิ ประจ ักษ์ทเี่ กีย
ึ ษา
การศก
่ วข้องก ับห ัวข้อทีท
่ าการศก
Hart (อ้างถึง Levy & Ellis, 2006) กล่าวว่า การทบทวนวรรณกรรม
้ วามคิดทีป
เป็นการใชค
่ รากฏอยูใ่ นวรรณกรรมนน
ั้ เพือ
่ สน ับสนุนวิธก
ี ารที่
เฉพาะสาหร ับห ัวข้อวิจ ัยการเลือกวิธก
ี ารวิจ ัยและแสดงให้เห็นว่า งานวิจ ัย
้ าเสนอสงิ่ ใหม่ นอกจากนี้ Hart ย ังกล่าวว่า คุณภาพของการทบทวน
นีน
วรรณกรรมหมายถึงความเหมาะสมทงในเช
ั้
งิ กว้างและเชงิ ลึก โดยมีความ
ั
้ าทีก
ั
เข้มข้นและสมา
่ เสมอ มีความชดเจนและใช
ค
่ ระชบและมี
การวิเคราะห์
ั
ิ ธิภาพ
และสงเคราะห์
ทม
ี่ ป
ี ระสท
1.ความหมายการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม (literature review) เป็นการกระบวนการ
ตรวจสอบเอกสารทางวิชาการต่างๆ
ทีเ่ กีย
่ วข้องก ับห ัวข้องานวิจ ัยเพือ
่
ั
นามาวิเคราะห์และสงเคราะห์
องค์ความรูข
้ น
ึ้ อย่างเป็นระบบและสามารถ
ตรวจสอบย้อนกล ับได้ การทบทวนวรรณกรรมควรเป็นกระบวนการสาค ัญ
ของทุกขนตอนการวิ
ั้
จ ัยหล ัก ๆ ได้แก่
ื่ เรือ
ก่อนเริม
่ ทาวิจ ัย-เพือ
่ กาหนดชอ
่ ง ปัญหา ว ัตถุประสงค์ สมมติฐาน กรอบ
แนวคิดการวิจ ัยระเบียบวิธก
ี ารวิจ ัยและวิธด
ี าเนินการวิจ ัย
ระหว่างการทาวิจ ัย-เพือ
่ ตรวจสอบความก้าวหน้าของงานวิจ ัยต่างๆ ทีย
่ ังตรวจ
ไม่พบตอนเสนอโครงร่าง
สรุปผลการวิจ ัย-เพือ
่ จะได้ขอ
้ มูลสน ับสนุนผลการวิจ ัยเพิม
่ เติม
1.ความหมายการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมวิจ ัย
ึ ษาค้นคว้าและเรียบเรียงแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจ ัยทีจ
การศก
่ ะ
ื่ มโยงก ับเรือ
ึ ษาวิจ ัย
เกีย
่ วข้องให้เชอ
่ งทีศ
่ ก
การนาเสนอวรรณกรรม
ึ ษา
เป็นการค ัดเลือกวรรณกรรมทีเ่ กีย
่ วข้องก ับเรือ
่ งทีจ
่ ะทาการศก
วิจ ัยมาวิเคราะห์และรวบรวมกาหนดเป็นแนวคิดรวมแล้วนามาเสนอเพือ
่
สน ับสนุนความเป็นมาและความสาค ัญของปัญหา กรอบแนวคิด ต ัวแปร
การกาหนดสมมติฐานและการอภิปรายผล
2.ความสาค ัญของการทบทวนวรรณกรรม
ั
1. สร้างความชดเจนให้
ก ับห ัวข้อวิจ ัย
่ ยให้ผว
1.1 ชว
ู้ จ
ิ ัยมองปัญหาด้วยความเข้าใจ และอธิบายปัญหาการ
ั
วิจ ัยถูกต้องชดเจน
่ ยให้ความเป็นมา และความสาค ัญของปัญหามีนา้ หน ัก เพราะมี
1.2 ชว
่ ยสน ับสนุนการ
แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้องมาสน ับสนุน ชว
ตงสมมติ
ั้
ฐานและวิธก
ี ารวิจ ัย
ั
่ ยให้ผว
1.3 ชว
ู้ จ
ิ ัยสามารถสงเคราะห์
กรอบแนวคิดการวิจ ัย
(Conceptual framework)
2.ความสาค ัญของการทบทวนวรรณกรรม
้ นของเรือ
ึ ษา
2. ตรวจสอบความซา้ ซอ
่ งทีจ
่ ะศก
่ ยให้ทราบว่าเรือ
ึ ษามีใครเคยทามาก่อน? จะได้เพิม
ชว
่ งทีจ
่ ะศก
่ หรือฉีก
แนวการวิจ ัยให้แตกต่างออกไป
3. สน ับสนุนการอภิปรายผล
่ ยให้ผว
ชว
ู้ จ
ิ ัยมีเหตุผลสน ับสนุนสงิ่ ทีผ
่ ว
ู้ จ
ิ ัยค้นพบว่า จะแตกต่าง/เหมือน
ก ับงานวิจ ัยเดิมอย่างไร
่ หากผลการศก
ึ ษา พบว่า กลุม
่ น
เชน
่ ผูต
้ อบแบบสอบถามทีเ่ ป็น กลุม
่ Gen z ทีเ่ ป็นเพศหญิงสว
ใหญ่ มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภ ัณฑ์เสริมอาหารเพือ
่ ความงาม ซงึ่ สอดคล้องก ับ
ิ รไทย (2551) ทีพ
ื้ ผลิตภ ัณฑ์เส
ผลการวิจ ัยของศูนย์วจ
ิ ัยกสก
่ บว่า เพศหญิงมีแนวโน้มซอ
้ าจเป็นเพราะเพศหญิงมีความร ักสวยร ักงามมากกว่า
รอมอาหารมากกว่าเพศชาย ทงนี
ั้ อ
เพศชาย เป็นต้น
2.ความสาค ัญของการทบทวนวรรณกรรม
4. การขยายความรูท
้ างวิชาการ
่ ยให้ผว
ชว
ู้ จ
ิ ัยได้แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วมา
4.1 ขยายความรูท
้ างวิชาการในเรือ
่ งทีท
่ า
ั ให้มค
ั
่ ยการให้นย
้
4.2 ชว
ิ ามศพท์
ี วามชดเจนขึ
น
่ ยให้เกิดแนวคิดใหม่ในการต่อเติมงานวิจ ัยทีม
4.3 ชว
่ อ
ี ยูใ่ ห้เป็นห ัว
ข้อใหม่ ในการวิจ ัยคราวต่อไป
่
เชน
้ ในใจของคน (Mental picture)
ภาพล ักษณ์ตอ
่ องค์กร หมายถึง ภาพทีเ่ กิดขึน
ื่ ความคิด และ ความ
ภาพล ักษณ์ตอ
่ องค์กร หมายถึง องค์รวมของความเชอ
ประท ับใจ ทีบ
่ ค
ุ คลมีตอ
่ สงิ่ ใดสงิ่ หนึง่
ภาพล ักษณ์ตอ
่ องค์กร หมายถึง การร ับรูข
้ องผูบ
้ ริโภคต่อองค์กรทงหมด
ั้
3.ว ัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
ึ ษารวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการ
ผูว้ จ
ิ ัยทาการค้นคว้าศก
่ ผลงานวิจ ัย บทความเอกสารทางวิชาการและตาราทีเ่ กีย
เชน
่ วข้องก ับ
เรือ
่ งหรือประเด็นทีท
่ าการวิจ ัย ว ัตถุประสงค์ :
เพือ
่ ประเมินประเด็นปัญหา แนวคิด ระเบียบวิธก
ี ารวิจ ัย ข้อสรุป
ข้อเสนอแนะจากผลงานวิจ ัยหรือเอกสารสงิ่ พิมพ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย
่ วข้องก ับ
ห ัวข้อหรือประเด็นของปัญหาของการวิจ ัยก่อนทีจ
่ ะดาเนินการ ทาการวิจ ัย
ของตนเองและในบางครงอาจมี
ั้
การทบทวนเพิม
่ เติมหล ังจากทีไ่ ด้ลงมือทา
ิ ธิร์ ัฐสน
ิ ธุ)์
ไปบ้างแล้ว (สุชาติ ประสท
3.เป้าหมายการทบทวนวรรณกรรม
ึ ษา ทาให้
• จะได้ทราบว่ามีใครเคยทางานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วก ับเรือ
่ งทีเ่ รากาล ังศก
ไม่ทาวิจ ัยซา้ ก ับผูอ
้ น
ื่
• ทาให้ทราบอุปสรรค หรือข้อบกพร่อง ในการทาวิจ ัยในเรือ
่ งนนๆ
ั้
้ ฐานประกอบการพิจารณากาหนดขอบเขตและต ัวแปร
• ใชเ้ ป็นข้อมูลพืน
ในการวิจ ัย
• ใชเ้ ป็นข้อมูลในการกาหนดกรอบแนวคิดการวิจ ัยและกาหนดสมมติฐาน
การวิจ ัย
่ ยในการกาหนดรูปแบบและวิธก
• ชว
ี ารวิจ ัย
่ ยในการเชอ
ื่ มโยงสงิ่ ทีค
้ ับทีพ
• ชว
่ น
้ พบในการวิจ ัยครงนี
ั้ ก
่ บจากการวิจ ัยที่
ผ่านมา
3.เป้าหมายการทบทวนวรรณกรรม
• แสดงให้ผต
ู ้ รวจสอบโครงการรูว้ า
่ ผูเ้ สนอโครงการ
– มีความรูค
้ รบถ้วนแล้วทงทฤษฎี
ั้
ตา่ งๆทีเ่ กีย
่ วข้อง ทีส
่ อดคล้องและที่
ข ัดแย้ง
– รูค
้ รบถ้วนแล้วว่า ใครทาอะไรไว้บา้ ง
– เพือ
่ สรุปให้ได้ในตอนท้ายว่า ด้วยความรูท
้ งปวงที
ั้
ป
่ รากฏอยูน
่ น
ั้ ทา
ื่ ได้วา
ให้เราเชอ
่ เราต้องทาอะไรต่อไป
Remember: The purpose of your literature review is not to
provide a summary of everything that has been written on
your research topic, but to review the most relevant and
significant research on your topic
4.ประเภทวรรณกรรม
1. วรรณกรรมประเภทปฐมภูม ิ (Primary Literature)
 บทความทาง
ทยานิพนธ์ (Thesis)
วิชวิาการ
( Aงานนิ
r tพนธ์
i c(Independent
les)
Study )

รายงานผลการวิจ ัย (Research Report)

่ ภาพ เสย
ี ง
สงิ่ ค้นพบอืน
่ ๆ เชน
4.ประเภทวรรณกรรม
2. วรรณกรรมประเภททุตย
ิ ภูม ิ (Secondary Literature)
 บทความทาง
 าการ
ตารา (Text Book)
วิช
( Aปริrทtัศน์iงานวิ
c lจ ัยe(Research
s)
Review)

สารานุกรม (Encyclopedia)

พจนานุกรม (Dictionary)

คูม
่ อ
ื (Handbooks)

รายงานประจาปี (Yearbooks)
5
4.ประเภทวรรณกรรม
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้อง ประกอบด้วย :
ื่ ถือ และอ้างอิงถูกต้อง
1) ระบุแหล่งทีน
่ า
่ เชอ
2) ความเหมาะสม ท ันสม ัย (ไล่เรียงจากปั จจุบน
ั ย ้อนหลังไป)
3) พอเพียงทีใ่ ชเ้ ป็นแนวคิดการวิจ ัยและกรอบการวิจ ัย
ต ัวอย่าง
พฤติกรรมการเปิ ดร ับและท ัศนคติของกลุม
่ คนว ัยทางานทีม
่ ต
ี อ
่ รายการข่าว
ภาคเทีย
่ งของสถานีโทรท ัศน์ในประเทศไทย
ึ ษา
แนวคิดและงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้องเพือ
่ เป็นกรอบแนวความคิดในการศก
จึงประกอบด้วย
1. แนวคิดและทฤษฎีเกีย
่ วก ับพฤติกรรมการเปิ ดร ับข่าว
2. ทฤษฏีการเลือกและการแสวงหาข่าวสาร
3. แนวคิดและทฤษฏีเกีย
่ วก ับท ัศนคติ
4. งานวิจ ัยต่างๆทีเ่ กีย
่ วข้อง :
ึ ษาของประชาชนใน
ทศ
ั นีย ์ ยาสมาน. 2519. การชมรายการโทรท ศ
ั น์เ พื่อ การศ ก
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบ ัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาล ัย.
เทวี แย้มสรวล. 2528 .การวิเคราะห์องค์ประกอบทีม
่ ผ
ี ลต่อความสนใจรายการโทรท ัศน์
ั้
ึ ษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
สาหร ับเด็กของน ักเรียนชนประถมศ
ก
ครุศาสตรมหาบ ัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาล ัย.
ต ัวอย่าง
่ เพือ
การพ ัฒนารูปแบบการให้บริการขนสง
่ ตอบสนองความ
ต้องการเดินทางด้านสุขภาพในจ ังหว ัดชลบุร ี
การแนวคิด และงานวิจ ย
ั ที่เ กี่ย วข้อ งเพื่อ เป็ นกรอบแนวความคิด ใน
ึ ษา จึงประกอบด้วย
การศก
1. แนวคิด และทฤษฎีเ กี่ย วก บ
ั การตอบสนองความต้อ งการ
เดินทาง (DRT)
่
2. ทฤษฏีปญ
ั หาการขนสง
่ ทางเศรษฐศาสตร์และการเงิน
3. วิเคราะห์ตน
้ ทุนการขนสง
4. ทฤษฎีพฤติกรรมผูบ
้ ริโภค
5. งานวิจ ัยต่างๆทีเ่ กีย
่ วข้อง :
กุสุมา พิรย
ิ าพรรณ. 2556 . การพฒ
ั นารูปแบบการให้บริการขนสง่ เพือ
่ ตอบสนองความ
ต้อ งการเดิน ทางด้า นสุ ข ภาพในจ งั หว ด
ั ชลบุ ร ี. วิท ยานิพ นธ์ว ท
ิ ยาศาสตรมหาบ ณ
ั ฑิต
มหาวิทยาล ัยบูรพา.
5.ขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
The Literature Review Process
5.เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ึ ษาเอกสารทีเ่ กีย
การศก
่ วข้องก ับการวิจ ัยอย่างพินจ
ิ พิเคราะห์
– การอ่านเก็บความจากเอกสารทีเ่ กีย
่ วข้องก ับการวิจ ัย
• การอ่านเก็บความคิดสาค ัญ (Main Ideas)
• การอ่านเก็บรายละเอียด (Details)
• การอ่านวิธก
ี ารจ ัดระเบียบความคิด (Organisation of
Ideas)
• การอ่านระหว่างบรรท ัด (Read Between the Lines)
– จากนนจึ
ั้ งถอดความ (Paraphrase) สรุป (Summarise) และ
ค ัดลอกข้อความ (Quote)
5.เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
้ หาสาระทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม ใน
การจดบ ันทึกเนือ
เรือ
่ ง/ห ัวข้อ ต่อไปนี้
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ปัญหาและว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
เหตุผลทีท
่ าวิจ ัย
สมมติฐาน
ทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิด
ต ัวแปร
เครือ
่ งมือการวิจ ัย
วิธด
ี าเนินการ
ผลการวิจ ัย
ข้อเสนอแนะ
ต ัวอย่าง : การอ่านเก็บความจากเอกสารทีเ่ กีย
่ วข้องก ับการวิจ ัย
การค้นคว้าอิสระเรื่ อง “การศึกษาโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับของสิ นค้าประเภท
ผักสดเพื่อการส่ งออก” นี้ เป็ นการศึกษาวิจยั เชิ งสารวจ(Exploratory research) กึ่ งการวิจยั เชิ งพรรณา
(Descriptive Research)เพื่อหาโครงสร้างข้อมูลขั้นต้นที่เกษตรกรหรื อผูส้ ่ งออกผักสดไฮโดรโปนิ กส์ของ
ไทยจาเป็ นต้องเก็บและบันทึกเพื่อให้สามารถแสดงที่มาของวัตถุดิบที่หรื อสิ นค้าที่ได้รับการส่ งมอบจากคู่คา้ ที่เป็ นซัพพลาย
เออร์ และสามารถแสดงถึงสิ นค้าที่ได้ส่งมอบสิ นค้าให้กบั คู่คา้ ที่เป็ นลูกค้าโดยการใช้หลักในการตรวจสอบย้อนกลับแบบ
“ถอยหลังหนึ่ งขั้น และ ไปข้างหน้าหนึ่ งขั้น (One-Step Forward and One-Step Backward)”
การทาศึกษาวิจยั ในครั้งนี้ ใช้การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากกลุ่มประชากรตัวอย่างเพื่อค้นหาความต้องการขั้นต้นและความพร้อม
ขององค์กรเหล่านั้น ร่ วมกับการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิเพื่อค้นหามาตรฐานที่สามารถใช้เป็ น “ภาษากลาง” หรื อ
“Global Language” ในการดาเนิ นการตรวจสอบย้อนกลับร่ วมกับคู่คา้ ใดๆจากทุกองค์กรในห่ วงโซ่อุปทาน
เดียวกันทัว่ โลก
จากการศึ กษาทาให้ได้ขอ้ สรุ ปถึ ง โครงสร้ า งข้อ มูล ซึ่ ง สามารถน าไปใช้ง านขั้น ต้น ได้โดยสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการพิมพ์ฉลาก โลจิสติกส์ในแบบที่เป็ นบาร์โค้ดและสามารถรองรับการนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้กบั ฉลากชนิ ด
RFID ได้อีกด้วยซึ่ งหากเกษตรกรและผูส้ ่ งออกของไทยสามารถทาการตรวจสอบย้อนกลับได้โดยที่เป็ นไปตาม
มาตรฐานสากลย่อมจะช่วยเพิ่มมูลค่าเพิ่มของสิ นค้าให้กบั เกษตรกรและผูส้ ่งออกผักสดไฮโดรโปนิกส์ของไทยได้เป็ นอย่างดี
อีกทั้งยังสามารถช่วยลดข้อจากัดและการกีดกันทางการค้าเนื่ องจากเป็ นการเพิ่มความสามารถในการปฏิบตั ิตามข้อกาหนด
ความปลอดภัยทางอาหาร (Food Safety Rules and Regulations Compliance
Capability) ซึ่งเป็ นอุปสรรคที่สาคัญในการส่งออกที่สาคัญในปัจจุบนั
การประเมินวรรณกรรม ระด ับความเกีย
่ วข้อง
ื่ เรือ
1. เกีย
่ วข้องก ับชอ
่ งหรือปัญหาในการวิจ ัย เพือ
่ ใชใ้ นการเขียน
ั
ภูมห
ิ ล ัง ความสาค ัญและทีม
่ าของปัญหาได้ชดเจน
2. เกีย
่ วข้องก ับสมมติฐานเพือ
่ จะได้มเี หตุผลว่าทาไมกาหนด
่ เน้นวรรณกรรมทีค
สมมติฐานเชน
่ ัดเลือกมาควรจะเกีย
่ วข้องหรือ
สน ับสนุนสมมติฐาน
3. เกีย
่ วข้องก ับต ัวแปร เพือ
่ จะได้กาหนดต ัวแปรทีใ่ ชใ้ นการวิจ ัย
่ ารสร้างกรอบแนวคิดในการวิจ ัย
นาไปสูก
4. เกีย
่ วข้องก ับการอภิปรายผล เพือ
่ นามาสน ับสนุน/โต้แย้ง
ผลการวิจ ัยทีไ่ ด้ /เปรียบเทียบก ับผลงานวิจ ัยในอดีต
การประเมินวรรณกรรม ระด ับความครอบคลุม
การเลือกวรรณกรรมทีส
่ ามารถนามาอ้างอิง สน ับสนุน/
โต้แย้งครอบคลุมประเด็นต่างๆ ให้มากทีส
่ ด
ุ ตงแต่
ั้
ภม
ู ห
ิ ล ังความ
เป็นมา กรอบแนวคิด สมมติฐาน ขอบเขต ต ัวแปร และการ
อภิปรายผลการวิจ ัย
ถ้าเลือกวรรณกรรมทีค
่ รอบคลุมน้อยจะต้องใชว้ รรณกรรม
ึ ษาวิจ ัย
เป็นจานวนมากเกินไปในการศก
การประเมินวรรณกรรม
ื่ ถือ
ระด ับความน่าเชอ
ื่ ถือของแหล่งทีม
ื ค้นได้ถงึ
1. ความน่าเชอ
่ า จะต้องสามารถสบ
เจ้าของผลงานเดิม
ื่ ถือของประเภทวรรณกรรมปฐมภูมม
2. ความน่าเชอ
ิ ากกว่าทุตย
ิ ภูม ิ
ื่ ถือของเจ้าของวรรณกรรม คุณวุฒ ิ ความถน ัด ความ
3. ความน่าเชอ
ชานาญของเจ้าของวรรณกรรม
ื่ ถือในสาน ักพิมพ์ McGraw-Hill ,Adison
4. ความน่าเชอ
Wesly,. Prentice-Hall, Dryden Press
5. ความท ันสม ัยของวรรณกรรม ปี พ.ศ.
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ั
ตารางสงเคราะห์
การทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ต ัวอย่าง : ตารางแสดงการสรุปต ัวแปรทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม
ตัวแปร
คุณค่าตราสิ นค้า
(Brand Equity)
ตัวชี้ วดั
การตระหนักรู ้ตราสิ นค้า
(Brand Awareness)
การเชื่ อมโยงตราสิ นค้า
(Brand Association)
การรับรู ้คุณภาพ
(Percieve Quality)
ความจงรักภักดีต่อตราสิ นค้า
(Brand Loyalty)
ผูใ้ ห้แนวคิด
Farquhar (1989)
Aaker (1996,1998)
Keller (1998)
เสรี วงษ์มณฑา (2542)
กิตติ สิ ริพลั ลภ (2542)
สุ วิมล แม้นจริ ง (2546)
เสรี วงษ์มณฑา และชุษณะ เตช
คณา (2550)
สรรค์ชยั เตียวประเสริ ฐกุล
(2553)
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ต ัวอย่าง : ตารางแสดงการสรุปต ัวแปรทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม
ตัวแปร
ตัวชี้ วดั
การตระหนักรู้ตราสิ นค้า การรู้จกั ตราสิ นค้า (Brand
(Brand Awareness)
Recognition)
การระลึกและจดจาตราสิ นค้า
(Brand Recall)
ตราสิ นค้าอันดับหนึ่งในใจ
(Top of mind)
ผูใ้ ห้แนวคิด
Aaker (1996,1998)
Keller (1998)
Lee and Leh (2011)
ชุลีรัตน์ บรรณเกียรติกุล (2544)
สุ วิมล แม้นจริ ง (2546)
ศรี กญั ญา มงคลศิริ (2547)
อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์ และจิระ
เสกข์ ตรี เมธสุ นทร (2548)
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ต ัวอย่าง : ตารางแสดงการสรุปต ัวแปรทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม
ตัวแปร
การเชื่ อมโยงตราสิ นค้า
(Brand Association
ตัวชี้ วดั
ความแตกต่างหรื อโดดเด่นจาก
คู่แข่ง
ความคุม้ ค่าของตราสิ นค้า
บุคลิกภาพตราสิ นค้า
คุณประโยชน์สนองความต้องการ
ความไว้วางใจต่อตราสิ นค้าหรื อ
องค์กร
ผูใ้ ห้แนวคิด
Aaker (1996,1998)
Keller (1998)
Lee and Leh (2011)
กิ่งรัก อิงคะวัต (2542)
อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์ และจิระ
เสกข์ ตรี เมธสุ นทร (2548)
เสรี วงษ์มณฑา และชุษณะ เตช
คณา (2550)
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ต ัวอย่าง : ตารางแสดงการสรุปต ัวแปรทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม
ตัวแปร
การรับรู้คุณภาพ
(Percieve Quality)
ตัวชี้ วดั
ราคาที่ดีกว่า (Price Premium)
ความเชื่ อถือได้ (Reliability)
การตอบสนอง (Responsiveness)
การให้ความมัน่ ใจแก่ลูกค้า
(Assurance)
การเข้าใจและรู้จกั ลูกค้า
(Empathy)
ความเป็ นรู ปธรรมของบริ การ
(Tangibles)
ผูใ้ ห้แนวคิด
Parasuraman, Zeithaml and
Berry (1988)
Aaker (1996,1998)
Keller (1998)
กิตติ สิ ริพลั ลภ (2542)
ชุลีรัตน์ บรรณเกียรติกุล (2544)
เทคนิคและขนตอนการทบทวนวรรณกรรม
ั้
ต ัวอย่าง : ตารางแสดงการสรุปต ัวแปรทีไ่ ด้จากการทบทวนวรรณกรรม
ตัวแปร
ตัวชี้ วดั
ปั จจัยที่มีผลต่อคุณค่าตรา การบริ หารความสัมพันธ์ลูกค้า
สิ นค้า
ความพึงพอใจของลูกค้า
ผูใ้ ห้แนวคิด
Rigby et al. (2002)
Kim et al. (2006)
Richard and Jones (2006)
ธี รพันธ์ โล่ทองคา (2544)
ดิสพงศ์ พรชนกนาถ (2546)
Schiffman and Kanuk (1994)
Keller (1998)
Kim et al. (2006)
Mortazai et al. (2009)
มีนา อ่องบางน้อย (2553)
หล ักคิดในการทบทวนวรรณกรรม
1.
การทบทวนวรรณกรรมไม่จ าเป็ นต้อ งอ้า งถึง วรรณกรรมหล ก
ั
ึ ษา
ทงหมดในสาขาที
ั้
ศ
่ ก
2.
ึ ษาครงั้
การทบทวนวรรณกรรมควรระบุความจาเป็นสาหร ับการศก
ต่อไปทุกครงั้
3.
คาถามการวิจ ัยมีความสาค ัญต่อการกาหนดแนวทางการวิจ ัย
สาหร ับการทบทวนวรรณกรรม
4.
วรรณกรรมทีไ่ ม่เ กีย
่ วข้อ งก บ
ั วต
ั ถุป ระสงค์ข องการวิจ ย
ั ไม่ ค วร
นามาใสใ่ นงานวิจ ัย
ั เสฏฐ์ พรหมศรี
ทีม
่ า: ปรับมาจาก The University of Sydney (2010) อ ้างใน ชย
6.กรอบแนวคิดในการวิจ ัย
(Conceptual Framework)
ความหมาย :
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปรสร้างขึน
้ โดยใช ้
แบบจาลองทีแ
่ สดงความสมพ
ทฤษฎี ข้อสรุปเชงิ ประจ ักษ์ ข้อมูลจากสมมติฐานและผลงานวิจ ัย นามา
ั
สงเคราะห์
เพือ
่ ให้ผว
ู้ จ
ิ ัยเกิดมุมมองภาพรวมของงานวิจ ัยเรือ
่ งนน
ั้
ั พน
แบ บ จ า ล อ ง ที่ ใ ช ้ แ ท น ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง ส ม
ั ธ์ ก น
ั ร ะ ห ว่ า ง
ึ ษาว่ามีแนวคิดทีส
้ จริงในเรือ
ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน
่ งทีศ
่ ก
่ าค ัญอะไรบ้าง
ในปรากฏการณ์นน
ั้
ื่ มโยงเกีย
ต ัวแปร หรือ ปรากฏการณ์เชอ
่ วก ันอย่างไร
ั ันธ์ทค
้ ไปตรวจสอบก ับข้อมูลเชงิ
ทงนี
ั้ ้ เพือ
่ จะนาความสมพ
ี่ ด
ิ ขึน
ประจ ักษ์ตอ
่ ไปว่ามีความสอดคล้องก ันหรือไม่
6.กรอบแนวคิดในการวิจ ัย
(Conceptual Framework)
ความหมาย :
ึ ษามี
เป็ นภาพพจน์ ที่ก าหนดว่ า ต วั แปรต่า งๆ ที่ผู ้ว จ
ิ ย
ั จะศ ก
ั ันธ์เกีย
ความสมพ
่ วข้องก ันอย่างไร
เป็นปัญหาทีต
่ งไว้
ั้ แต่ละข้อจะหาคาตอบได้อย่างไร
เหล่านน
ั้
เป็นใชร้ ะเบียบวิธก
ี ารวิจ ัยอย่างไรจึงจะค้นหาคาตอบในปัญหา
ื่ มโยงเกีย
ต ัวแปร หรือ ปรากฏการณ์เชอ
่ วก ันอย่างไร
ั ันธ์ทค
้ ไปตรวจสอบก ับข้อมูลเชงิ
ทงนี
ั้ ้ เพือ
่ จะนาความสมพ
ี่ ด
ิ ขึน
ประจ ักษ์ตอ
่ ไปว่ามีความสอดคล้องก ันหรือไม่
6.กรอบแนวคิดในการวิจ ัย
(Conceptual Framework)
ความหมาย :
เป็นภาพสรุปสุดท้ายของการทบทวนเอกสารทีเ่ กีย
่ วข้อง
เป็นผลรวมความคิดของผูว้ จ
ิ ัยก ับเรือ
่ งราวทางทฤษฎีตา่ งๆ
เป็นแนวคิดของผูว้ จ
ิ ัยทีต
่ อ
้ งการหล ักฐานเชงิ ประจ ักษ์ มาพิสจ
ู น์
ความถูกต้อง
้ หาสาระ ประกอบด้ว ย ต วั
เป็ นกรอบของการวิจ ัย ด้า นเนือ
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปร
แปร และการระบุความสมพ
สรุป :
6.กรอบแนวคิดในการวิจ ัย
(Conceptual Framework)
การนาเสนอภาพรวมๆ ของงานวิจ ัยทีผ
่ ูว้ จ
ิ ัยจะทาโดยกาหนด
ั เจน จากการศ ก
ึ ษาวิเ คราะห์เ อกสาร ต ารา
ออกมาให้เ ห็ น รูป ธรรมช ด
ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้องอย่างครอบคลุม แล้วนาเสนอหรือ
ั
สรุปเป็นภาพรวมให้ชดเจนให้
งา
่ ยต่อความเข้าใจปัญหาและวิธก
ี ารวิจ ัย
การเขียนกรอบแนวคิดการวิจ ัยเชงิ พรรณนา
ิ่ ทีต
ึ ษา
มุ่ง พรรณนาคุณ สมบ ต
ั ข
ิ องปรากฏการณ์ ห รือ ส ง
่ อ
้ งการศ ก
ึ ษา
ด ังนน
ั้ จะมีแต่การเขียนระบุวา
่ มีต ัวแปรอะไรบ้างทีจ
่ ะนามาศก
่
ึ ษาคุณสมบ ัติ
เชน
ในการวิจ ัยเกีย
่ วก ับพรรคการเมือง ผูว้ จ
ิ ัยอาจ จะศก
ั
ึ ษาและประเภทของคาขว ัญทีใ่ ชใ้ นการหา
ทางด้านเศรษฐกิจสงคม
การศก
ี ง
เสย
การเขียนกรอบแนวคิดการวิจ ัยเชงิ อธิบาย
การวิจ ัยประเภทอธิบาย (Explanatory research) มุง
่ อธิบาย
้ หรือการเปลีย
การเกิดขึน
่ นแปลงเชงิ สาเหตุและผลของปรากฏการณ์ท ี่
ึ ษา ด ังนน
้ ี
ต้องการศก
ั้ ต้องระบุวา
่ มีต ัวแปรอะไรบ้าง และต ัวแปรเหล่านีม
ั ันธ์ก ันอย่างไร
ความสมพ
6.ความสาค ัญของกรอบแนวคิดการวิจ ัย
ึ ษาปัญหาเดียวก ันอาจมีทฤษฎีตา่ งๆ หรือแนวความคิด
การศก
ในการมองปัญหามากมายหลายรูปแบบ
ห ัวข้อปัญหาวิจ ัยและประเด็นการวิจ ัยเรือ
่ งเดียวก ันอาจมีกรอบ
แนวความคิดแตกต่างก ันได้
การระบุก รอบแนวความคิด จึง เป็ นการช่ว ยให้ น ก
ั วิจ ัยเอง
ึ ษา
และผูอ
้ น
ื่ ได้ทราบว่าผูว้ จ
ิ ัยมีแนวคิดอย่างไรเกีย
่ วก ับสงิ่ ทีต
่ อ
้ งการศก
ในรูปแบบใดและทิศทางใด
้ ฐานเชงิ ทฤษฎีของกรอบแนวคิดการวิจ ัย
6. พืน
การทีต
่ ัวแปรในกรอบแนวความคิดมีพน
ื้ ฐานทางทฤษฎีตา่ งๆ จะ
่ ยเพิม
้
ชว
่ พูนความรูท
้ ม
ี่ อ
ี ยูแ
่ ล้วให้ถก
ู ต้องสมบูรณ์มากขึน
กรอบแนวคิดการวิจ ัยและสมมติฐาน
 ทบทวนผลงานวิจ ัยและทฤษฎีทเี่ กีย
่ วข้อง จะได้สมมติฐานการวิจ ัย
 ถ้าผูว้ จ
ิ ัยสามารถกาหนดกรอบแนวความคิดการวิจ ัยได้ ผูว้ จ
ิ ัยก็
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปรที่
สามารถตงสมมติ
ั้
ฐานระบุความ สมพ
ั
่ ก ัน
เกีย
่ วข้องก ันได้อย่างชดเจนเช
น
ต ัวอย่างของกรอบแนวความคิด
ั ันธ์ระหว่างสาเหตุ
แผนภาพ ความสมพ
พฤติกรรมการเปิ ดร ับและความพึงพอใจต่อรายการข่าวทางสถานีโทรท ัศน์
ดาวเทียม MEDIA NEWS CHANNEL ของผูช
้ มในเขตกรุงเทพมหานคร
ต ัวแปรอิสระ
ต ัวแปรตาม
1. พฤติกรรมการเปิ ดรับชมรายการข่ าวรายการข่ าวทาง
สถานีโทรทัศน์ ดาวเทียม MEDIA NEWS
CHANNEL
ลักษณะส่ วนบุคคลของประชาชนที่
เปิ ดรับชมรายการข่ าวทางสถานี
โทรทัศน์ ดาวเทียม MEDIA NEWS
CHANNEL
2. ความพึงพอใจจากการรับชมรายการรายการข่ าวทาง
สถานีโทรทัศน์ ดาวเทียม MEDIA NEWS
CHANNEL
3. ความคาดหวังต่ อรายการรายการข่ าว ทางสถานีโทรทัศน์
ดาวเทียม MEDIA NEWS CHANNEL
6.หล ักการในการเลือกกรอบแนวความคิดในการ
วิจ ัย
1.
้ หาสาระของต วั แปรและ
ความตรงประเด็ น พิจ ารณาได้จ ากเนือ
ึ ษา
ระเบียบวิธท
ี ใี่ ชใ้ นการศก
2.
ั ซอ
้ น ควรเลือ กทฤษฎีท ส
ความง่า ยและไม่ส ล ับซ บ
ี่ ามารถอธิบ าย
ึ ษาได้ จานวนต ัวแปรและรูปแบบของ
ปรากฏการณ์ทต
ี่ อ
้ งการศก
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปรทีม
ั อ
้ น
ความ สมพ
่ อ
ี ยูใ่ นทฤษฎีไม่ซบซ
3.
้ หาสาระเกีย
ความสอดคล้อ งก บ
ั ความสนใจ เนือ
่ วก บ
ั ต ัวแปรหรือ
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปรสอดคล้องก ับความสนใจของผูว้ จ
ความ สมพ
ิ ัย
4.
ความมีประโยชน์เชงิ กลยุทธ์ ค านึง ถึง ประโยชน์ท างด้า นกลยุท ธ์
หรือการพ ัฒนากลยุทธ์ ผูว้ จ
ิ ัยจึงควรเลือกต ัวแปรทีเ่ กีย
่ วข้อง
6.ประโยชน์ของกรอบแนวความคิดในการวิจ ัย
1. ทาให้ผว
ู้ จ
ิ ัยทราบว่าต ัวแปรทีจ
่ ะว ัดมีกต
ี่ ัว อะไรบ้าง
ั เจน และเลือ กสถิต ไิ ด้อ ย่า ง
ิ่ ทีจ
ึ ษาช ด
2. ท าให้ผู ว
้ จ
ิ ย
ั ก าหนดส ง
่ ะศ ก
เหมาะสม
่ งเวลาใดควรจะ
3. ทาให้ผว
ู้ จ
ิ ัยวางแผนเก็ บข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ชว
เก็บข้อมูลก ับต ัวแปรใดก่อน – ต ัวแปรใดหล ัง
ั เจน และสามารถ
ึ ษาช ด
4. ท าให้ผู ว
้ จ
ิ ย
ั มองเห็ น ภาพทีจ
่ ะท าการศ ก
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปรต่างๆ เป็นไปอย่างมีเหตุผล
อธิบายความสมพ
6.การเสนอกรอบแนวความคิด
1. แบบพรรณนาหรือบรรยาย เป็นการเขียนบรรยายเพือ
่ ให้เห็นว่า
้ ต
ในการวิจ ัยนีม
ี ัวแปรอะไรบ้างทีส
่ าค ัญเกีย
่ วข้องก ับปัญหาหรือ
ประเด็นของการวิจ ัย
ั ันธ์ก ับต ัวแปรตามอย่างไร
้ ค
ต ัวแปรเหล่านีม
ี วามสมพ
มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสน ับสนุน
2. แบบสมการ
Y = a + bx
3. แบบแผนภาพ
ั
่ ยให้เกิดความชดเจนมากขึ
้ ว่าผูว้ จ
แผนภาพทีแ
่ ตกต่างก ันชว
น
ิ ัย
ั ันธ์ระหว่างต ัวแปร
มีความคิดอย่างไรเกีย
่ วก ับความสมพ
 ผูว
้ จ
ิ ย
ั ทีม
่ ต
ี วั แปรเดีย วก น
ั จ านวนเท่า ก น
ั อาจมีแ นวความคิด
แตกต่างก ัน
4. การบรรยายและนาเสนอสรุปเป็นแผนภาพ

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ แบบที่ 1
กรอบแนวคิดการวิจัย ที่แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างตัว
แปรสั งเกตได้
Independent
Variables
Dependent
Variables
ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ แบบที่ 2
component
Variable
component
process
3
input
2
1
ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ แบบที่ 3
output
ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ แบบที่ 4
ขั้นตอนที่
1
ศึกษา
เอกสาร
ขั้นตอนที่
2
สร้าง
เครื่ องมือ
ขั้นตอนที่
3
เก็บ
รวบรวม
ข้อมูล
ขั้นตอนที่
4
วิเคราะห์
ข้อมูล
ต ัวอย่างสรุป
จากกรอบทฤษฎีสก
ู ่ รอบแนวความคิด
ลักษณะส่ วนบุคคลของลูกค้า
 เพศ
 อายุ
 การศึกษา
 อาชีพ
 รายได้
 สิ ทธิ์การรักษา
การบริหารลูกค้ าสั มพันธ์ (CRM)
คุณภาพของฐานข้อมูลลูกค้า (Database)
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Electronic)
การกาหนดโปรแกรมเพื่อการสร้างความสัมพันธ์
(Action)
ความพึงพอใจด้ านความคาดหวังของลูกค้ า
(Customer Satisfaction)
คุณค่ าตราสิ นค้ า (BE)
การตระหนักต่อตราสิ นค้า (Brand
awareness)
การรับรู ้คุณภาพ (Perceive quality)
การเชื่อมโยงกับตราสิ นค้า (Brand
association)
ความภักดีต่อตราสิ นค้า (Brand loyalty)
ต ัวอย่างสรุปจากกรอบทฤษฎีสก
ู ่ รอบแนวความคิด
่ กรอบแนวความคิดงานวิจ ัยเรือ
ต ัวอย่าง เชน
่ ง
ั ันธ์ก ับความผูกพ ันต่อองค์การ”
“ปัจจ ัยทีม
่ ค
ี วามสมพ
ทีม
่ า : สุวม
ิ ล ตริกาน ันท์, 2542 : 53
ตัวแปรต้ น
ตัวแปรตาม
ลักษณะส่ วนบุคคล
1.
2.
3.
4.
1.
2.
3.
4.
เพศ
อายุ
ระดับการศึกษา
ประสบการณ์ การทางาน
ลักษณะงาน
ความหลากหลายในงาน
ความอิสระในงาน
งานมีโอกาสปฏิสังสรรค์
ความน่ าสนใจของงาน
ความผูกพันต่ อองค์ การ
ตัวอย่ าง ศึกษากระบวนการโลจิสติกส์ ที่ส่งผลต่ อ
มูลค่ าเพิม่ ทางเศรษฐกิจ ในธุมูรลกิค่าจเพิอุม่ ปทางเศรษฐกิ
กรณ์ ไฟฟ
้
า
จที่วดั
ปัจจัยความสาเร็ จของ
กระบวนการโลจิสติกส์
- การเป็ นผูน้ าด้านต้นทุน
- การสร้างความแตกต่าง
- การตอบสนองที่รวดเร็ ว
- การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์
จากสมรรถนะขององค์กร
จากการประเมินงานแบบ
สมดุล
- มุมมองด้านการเงิน
- มุมมองด้านลูกค้า
- มุมมองด้านกระบวนการ
ภายใน
-มุมมองด้านการเรี ยนรู ้และ
เติบโตขององค์กร