การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม (PAR) AP R Participatory + Action + Research ผสมผสาน การมีส่วนร่ วม + การปฏิบัติ + การแสวงหาความรู้

Download Report

Transcript การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม (PAR) AP R Participatory + Action + Research ผสมผสาน การมีส่วนร่ วม + การปฏิบัติ + การแสวงหาความรู้

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
(PAR)
AP R
Participatory
+ Action + Research
ผสมผสาน
การมีส่วนร่ วม + การปฏิบัติ + การแสวงหาความรู้
ชาวบ้ านได้ ร่วมศึกษา
สถานการณ์
ไหม???
ไปขยายผลและ
เป็ นบทเรียนแก่ ที่
อืน่ ไหม?
ทาตามความ
ต้ องการของใคร?
นักพัฒนา ผู้นา
คาถาม
งานพัฒนา
ข้ อพิจารณาความแตกต่ าง
นักวิชาการ
ชุ มชน

มุ่งวิชาการ วิธีการทีถ่ ูกต้ อง

อยากได้ ความรู้ แต่ ขาดแหล่ ง &วิธีสืบค้ น

ได้ ข้อเท็จจริง

ได้ แก้ ปัญหา พัฒนา

มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ขาดมิติสังคม


ทัศนะของผู้ถ่ายทอดมากกว่ าผู้เรียนรู้ มาแบบ 
ผู้รู้ดี
ไม่ ตระหนักกับกระบวนการมีส่วนร่ วมที่แท้ จริง 
ขาดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีมติ ิสังคม
วัฒนธรรม
มีภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น รู้ สึกตัวเองด้ วย รู้ น้อย



ใช้ ภาษาวิชาการอธิบายแบบนักวิชาการ
ได้ ผลงาน กุมข้ อมูล


ไม่ มโี อกาสมีส่วนร่ วม
ไม่ เข้ าใจภาษาวิชาการ
ต้ องการได้ ข้อมูล ใช้ ข้อมูล เข้ าไม่ ถึง
กระบวนการ
P A R
กระบวนการมีส่วนร่ วม
พัฒนาของทุกฝ่ าย
•ตัดสิ นใจอะไรเป็ นปัญหา
•ต้ องการทาอะไร
•แก้ ปัญหาอย่ างไร
•ลงมือทา
•ประเมิน สรุป
•รับผล
กระบวนการ
วิจัย
ปฏิบตั ิการจริง
•กาหนดปัญหา
•ทบทวนข้ อมูล
•ออกแบบ
•ศึกษาข้ อมูล (เก็บ)
•วิเคราะห์
•สรุ ป เสนอแนะ
•รายงาน
ปัญหาเริ่ม
วิเคราะห์
แก้ ไข
จากชุ มชน/องค์ กร
โดยชุ มชน/องค์กร
โดยชุ มชน/องค์กร
การมีส่วนร่ วม
•ใครคิด
•ใครตัดสิ นใจ
•ใครทา
การให้ ความร่ วมมือ
•แค่ ไหน
•ระดับใด
•อย่างไร
ความเชื่อพืน้ ฐานของ PAR
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ปัจเจกชนทุกคน ย่ อมมีศักยภาพ ร่ วมคิด ร่ วมทา เพือ่ เปลีย่ นแปลงสู่
ชุ มชน/องค์ กรทีด่ ีกว่ า
ทุกคนรู้ แต่ อาจจะคนละด้ าน คนละเรื่อง คนละมิติ
การสร้ างและใช้ ความรู้ต้องเป็ นประชาธิปไตย
ทรัพยากร ประโยชน์ ต้องแบ่ งปัน และกระจายอย่ างเป็ นธรรม
ความมุ่งมั่น ร่ วมใจจากคนใน&นอก จาเป็ นต่ อการเปลีย่ นแปลง
ทุกฝ่ ายร่ วมมือ บนพืน้ ฐานทีเ่ ท่ าเทียมกัน และยอมรับผลทีเ่ กิดร่ วมกัน
การเปลีย่ นแปลงสู่ สิ่งทีม่ ุ่งหวัง เป็ นไปอย่ างสั นติวธิ ี มีดุลยภาพ
ระหว่ างปัจเจก สั งคม ธรรมชาติ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ส่ วนร่ วม (PAR)
 นักวิจยั เพือ่ พัฒนาสั งคมถือว่ า
 PAR
 สอดรับกับความพยายามหลุดพ้ นจากการถูกครอบงา & การมุ่งฟื้ นฟู
สั งคม
 เป็ นการวิจัยแบบ Critical & Spiritual Research
 คือ
 แฝงเร้ นด้ วยจิตวิญญาณของความเป็ นอิสระ
 เป็ นการวิจัยทีเ่ สริมพลัง (Empower) ในกลุ่มทีด
่ ้ อยกว่ าในสั งคม
 เป็ นการวิจัยทีท
่ ดแทนการวิจัยแบบเดิมทีถ่ ูกวิจารณ์ ว่าไม่ แก้ปัญหา
ทางสั งคม และเศรษฐกิจของผู้ด้อยโอกาสอย่ างแท้ จริง
ความสั มพันธ์ ของทีม 3 ฝ่ าย 3 โลก
ทีม
ส่ วนกลาง
ส่ วนกลาง
ทีม
ท้ องถิ่น
คนในชุ มชน
ก่ อนทาวิจยั
ท้ องถิ่น
คนในชุ มชน
หลังทาวิจยั
แสวงหาความจริง
แสวงหาความจริง
มุ่งแก้ ปัญหา
การเรียนรู้
แก้ ปัญหา
การเรียนรู้
ข้ อคิด PAR

พืน้ ฐานความคิด




จุดมุ่งหมาย


ทาความเข้ าใจอธิบายร่ วมกัน (ปัญหา/ สถานการณ์ )
การเก็บข้ อมูล





เกีย่ วกับความจริง (หลากหลาย /องค์ รวม)
นักวิจัย (ทุกคนรู้/ทุกคนควบคุม)
การวิจัย (แก้ ปัญหา-พัฒนา/ หาความจริง/ เรียนรู้ )
เก็บร่ วมกัน
หลายวิธี (ทดลอง/ สั มภาษณ์ / สั งเกต/ AIC/ Problem tree ฯลฯ)
ใช้ เวลา
เน้ นชุ มชน/องค์ กร (ไม่ เน้ นเครื่องมือ/ ไม่ เน้ นนักวิจัยภายนอก)
จุดเน้ น



-ทัศนะคนใน
ภูมปิ ัญญา วัฒนธรรม ชาวบ้ าน ท้ องถิ่น องค์ กร
กระบวนการมีส่วนร่ วม
ข้ อคิด PAR (ต่ อ)

การวิเคราะห์
 แนวคิดพัฒนา + ภูมิปัญญา
 นักวิจยั ภายนอก +ใน ชุมชนองค์กร

การใช้ ประโยชน์
 ชุมชนองค์กร
 นักพัฒนา
 นักวิจยั ภายนอก

บทบาทสถานะภาพกลุ่มเป้าหมาย
 ไม่ครอบงา
 เสมอภาคทุกฝ่ าย
 สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ข้ อสั งเกต PAR









งาน PAR ต้ องรับใช้ คนทุกกลุ่มไม่ ใช่ คนใดคนหนึ่ง
เริ่มจากพูดคุยถึงสถานการณ์ ที่เป็ นอยู่ ศักยภาพ ปัญหา แล้ วค่ อย วิเคราะห์ ร่วม
กระบวนการวิจัย PAR ต้ องเกีย่ วข้ องกับหลายฝ่ าย การประสานทาความเข้ าใจจึง
สาคัญ
ผู้ร่วมวิจัยต้ องยอมรับข้ อจากัด และจุดอ่ อนของกันและกัน
ไม่ ยดึ ติดกรอบคิดเดิม ทฤษฎีเดิม ข้ อสรุปเดิม (โดยเฉพาะคนที่คดิ ว่ าตนเองรู้มาก)
การเสริมหนุนด้ านต่ างๆ ทรัพยากร เวลา และอืน่ ๆ ที่เหมาะสม การจัดเวทีพบปะ
เป้าหมายไม่ ใช่ การได้ ผลงานมาตีพมิ พ์ แต่ อยู่ที่เกิดการพัฒนา การปฏิบัติเพือ่
แก้ ปัญหา
PAR จะมีประสิ ทธิภาพเพียงใด ขึน้ กับเจตนารมณ์ ที่จะทาประโยชน์ ต่อกลุ่ม องค์ กร
ชุมชน ด้ วยความรัก ศรัทธา เชื่อมั่นในทีมทุกคน
PAR เป็ นการปฏิบัติที่กลมกลืนกับวิถีปกติ
คุณลักษณะจุดเด่ นของ PAR

คาถามวิจัย
เกิดจากปัญหาในกลุ่ม ชุ มชน (ที่จะร่ วมกันกาหนดคาถามวิจัย เพือ่ ศึกษา + ปฏิบตั ิแก้ ปัญหา + คาถาม
อาจปรับเปลีย่ นระหว่ างดาเนินการ)

เก็บข้ อมูลสามเส้ า
สหวิทยาการ (ผู้ร้ ูหลายด้ าน) ข้ อมูลหลายแหล่ ง (คน เหตุการณ์ สถานที)่ หลากหลายเทคนิค (สนทนา
สั งเกต เล่ าเรื่อง สั มภาษณ์ สารวจ AIC PAPฯลฯ)

วิเคราะห์ ข้อมูลร่ วมกัน
ในพืน้ ที่ สนาม ทันที่ ไม่ ใช้ สถิติซับซ้ อน อาจใช้ การจัดลาดับ แผนผัง แผนภูมฯิ ลฯ

นาเสนอผลตรวจสอบร่ วม
ไม่ ทาเพียงรายงาน แต่ มีเสนอหลายรูปแบบ ทุกฝ่ ายร่ วมเสนอ ติติง

บทบาทนักวิจัยภายนอก-ใน
คนในชุ มชน (เผชิญ สถานการณ์ จัดการ ปฏิบตั ิ) คนนอกชุ มชน (ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ร่ วม
วิเคราะห์ สรุป)

ความเที่ยงตรง โดย
1. เทคนิคสามเส้ า 2. วิพากษ์ ตนเอง 3. กลุ่มช่ วย 4. ตีความเรื่องตนเอง (น่ าจะรู้ดกี ว่ าคนอืน่ )
คุณลักษณะของ PAR
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
PAR เป็ นนกระบวนการทางสั งคม ทีจ่ ะนาไปสู่ การพัฒนาปัจเจกชน
PAR เน้ นการมีส่วนร่ วมของทุกคนในกลุ่ม ทีเ่ ป็ นเจ้ าของงานวิจัย ร่ วมกันวิจัยเรื่องของตนเอง
ทุกขั้นตอน
PAR เน้ นการปฏิบัติที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ ของคนในสั งคมองค์ กร ศึกษาวิธีปฏิบัติให้ ดขี นึ้
กระบวนการปฏิบัติ-------ผลทีเ่ กิด------องค์ ความรู้ทไี่ ด้ -------พืน้ ฐานการปฏิบัติตออไป
PAR เป็ นกระบวนการสร้ างอิสรภาพ ปลูกจิตสานึก ให้ คนคลีค่ ลาย เอาชนะปัญหา
PAR เน้ นการวิพากษ์ สะท้ อนตนเอง
PAR เป็ นวงจรการเปลีย่ นแปลงเพือ่ การเรียนรู้
PAR ไม่ มกี รอบเจาะจงเรื่องวิธีการ ใช้ แนวทางผสมผสาน เน้ นเทคนิคการเก็บ และวิเคราะห์
ข้ อมูลทีก่ ่ อให้ เกิดการเรียนรู้ และปฏิบตั ิร่วมกัน
PAR ประเมินความสั มพันธ์ ระหว่ างทีมวิจัยตลอดเวลา
PAR ทบทวนวัตถุประสงค์ ในทีมวิจัยเป็ นระยะเพือ่ ให้ สอดคล้ องกับปัญหา การเปลีย่ นแปลง
และนาไปสู่ การมีส่วนร่ วม ตรงกับความต้ องการของทุกฝ่ าย
PAR เป็ นกระบวนการจัดการในชุ มชน และก่ อให้ เกิดการรวมตัวในองค์ กร
KNOWLEDGE
ความรู้
สั งเคราะห์
INFORMATION
ข่ าวสาร สารสนเทศ
จปฐ. 1 2 3
+-x
กปป 2 ค
ชาย
ABC
ทะเบียนเกษตรกร
หญิง ฿
พุทธ ก ข ค
ขพก.
มุสลิม $
วิเคราะห์
DATA
ข้ อมูล
•ระดับ
•จะทาอย่ างไร
•เป็ นอย่ างนั้นได้ อย่ างไร
•เป็ นอย่ างไร
•เปรียบเทียบ
•หาเหตุผล
•ความสั มพันธ์
•จัดกลุ่ม
•สั งเกต
•พูดคุย
•เก็บข้ อมูล
มันเป็ น(อยู่)อย่ างไร
ข้ อสรุป แนวคิด ทฤษฎี MODEL
แนวคิด ทฤษฎี
(THEORY LEVEL)
RESEARCH
วิจัย(เรียนรู้)
วิเคราะห์
(META LEVEL)
สิ่ งทีเ่ ห็น-ปฏิบัติ
(PRACTICAL LEVEL)
มันเป็ นอย่ างนั้นได้ อย่ างไร
ACTION
งานพัฒนา
แล้วจะทาอย่ างไร
ชาวบ้ านเกิดพลัง
ชาวบ้ านเป็ นตัวของตัวเอง
คิดเอง
ทาเอง
ใฝ่ รู้
ศึกษาตลอด
ชุ มชนพึง่ ตนเองได้
PAR กับ
รู้ทนั
คิดระบบ
ระดมพลัง
การเปลีย่ นแปลง
ปัญหา
เป็ นผู้รับฟังกันมากขึน้
มุมมองกว้าง
เรี ยนรู้
พัฒนาตนเองตลอดเวลา
ชุ มชนมีศักยภาพ
รวมกลุ่ม
ตัดสิ นใจเอง
อย่างต่อเนื่อง
เปลีย่ นกระบวนทัศน์
วิธีคดิ พฤติกรรม
ด้านความรู้
ศักยภาพ
จิตวิญญาณ
•เกิดประโยชน์ ทนั ที
•เป็ นกระบวนการทางการศึกษา
•ชุ มชนองค์ กรเข้ าร่ วมตั้งแต่ ต้น
เกิดอะไร?
ในกระบวนการ
PAR
•สมาชิก ชุ มชน องค์ กรผูกพันกับการแก้ ปัญหา
•มีการาแลกเปลีย่ นทีต่ ่ อเนื่อง
•ศักยภาพถูกใช้ ทรัพยากรถูกระดม ให้ เกิดประโยชน์ ในงานพัฒนา
•มีวนิ ัย ทางอุดมการณ์ – การเมือง - อานาจ
•ก่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง
•ในการพัฒนา
•วิธีคดิ วิธีปฏิบตั ิ การให้ ...(กระบวนทัศน์ )
•ทุกคนร่ วมมัน่ ใจ เสริมพลัง เพิม่ ศักยภาพ พึง่ ตนเอง
•สร้ างจิตสานึก ต่ อองค์ กร ชุ มชน สั งคม
ประสานทีมงาน เยีย่ มพืน้ ที่ ชี้แจง สร้ างสั มพันธ์ กบั ชุ มชน
เผยแพร่ แนวคิด ตกลงทาวิจัย วางตัว
+ จุดแข็ง ศักยภาพ
ศึกษาข้ อมูล
วิเคราะห์ สถานการณ์
RESEARCH
สรุปบทเรียน
เสนอต่ อชุมชน องค์กร
วิเคราะห์ ผล
ข้ อมูลทีไ่ ด้
ติดต่ อ
สื่ อสาร
กาหนดวัตถุประสงค์
กรอบการวิจยั ปฏิบัติ
ติดตาม
สรุ ป
หนุน
เสริม
ดาเนินการ
- จุดอ่ อน ปัญหา
PAR 2
กาหนดกิจกรรม
การศึกษา ปฏิบัติ
ACTION
กิจกรรมพัฒนา
ศึกษาข้ อเท็จจริง เก็บข้ อมูล
อืน่ ๆ (กฎ ระเบียบ นโยบาย..)
กระบวนการทางาน PAR
อื่นๆ
แหล่งวิชา
ท้องถิ่น
แลกเปลี่ยน
ข้อมูล
ช่ วยประสาน
เรียนร่ วม
รัฐ
เอกชน
คิดเตรี ยม
ให้เห็นศักยภาพปัญหา
ร่ วมในกระบวน คนในกระบวนการ สร้ างเงื่อนไข
Output
ดาเนินการ
Outcome
Impact
ประเมินผล
วิจัยทุกชิ้น
กิจกรรม
เผยแพร่
รายงาน
ผล
ความคิด
ข้อคิด
PAR
ข้ อตกลงร่ วม
กระตุน้
เตรี ยมชุมชน
ประชุม
เสวนา
พบปะเยีย่ ม
ร่ วมสรุ ป
ช่ วยขยาย
จาแนกบทบาท
ความร่ วมมือ
เครื อข่าย
ใคร คุณสมบัติอะไร
ถนัดด้านไหน
ควรทาอะไร
บทบาท คนในกระบวนการ PAR
R&D&M
วิจัย + พัฒนา + เคลือ่ น
•เชื่อมโยงระดับนโยบาย , ยุทธศาสตร์
R+D+M
•เผยแพร่
•Research
•Development
•movement
•ยกระดับองค์ความรู้ ในทีม ภาพรวม (สังเคราะห์)
•ติดตามหนุน เชื่อมโยง ประสาน
•แลกเปลี่ยน ~ วิเคราะห์ในทีม ระหว่างทีม (Net.W)
•ดาเนินการวิจยั ~ พัฒนานักวิจยั
•เตรี ยมทีมกาหนดบทบาท (เชิงพื้นที่-เนื้อหา-ภารกิจฯ) คน-เงิน-งาน-เวลา
•ร่ วมพัฒนาเอกสารเชิงหลักการดูความเป็ นไปได้ – โครงการวิจยั ดูความเป็ นเหตุ-ผล
•ร่ วมพัฒนาประเด็น(โจทย์) ใหญ่-ย่อย ย่อย-ใหญ่
•ร่ วมปรึ กษาเรี ยนรู ้สถานการณ์คน้ หาประเด็น
ขั้นตอนการวิจยั แบบบูรณาการ
โครงการ PAR ต้ องมีอะไร???
เกิดคาถามใหม่
1. ต้องมีคาถาม ข้อสงสัย ???
2. ต้องมีกิจกรรมเพื่อหาคาตอบ (Practical Level)
3. ต้องมีการมีส่วนร่ วมของ ชุมชน สังคม ผูว้ ิจยั
4. ต้องมีการถอดบทเรี ยนออกมา เป็ นความรู ้ เพื่อ
•
ได้ปัญญาตน
•
สื่ อให้ผอู้ ื่นระดับอื่นทราบ
•
นาไปปรับใช้ต่อ
ขึน้ โจทย์ให้ ชัด เหลาโจทย์ให้ แหลมคม
PAR กระบวนการวิจัย & ปฏิบัติการพัฒนาในวิถีปกติ
กรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิด (Conceptual Framework)คือ
กรอบของการวิจัยด้ านเนือ้ หาสาระประกอบด้ วยตัวแปร การระบุ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปร
 กรอบแนวความคิดมีพน
ื้ ฐานจากทฤษฎี หลักการ
 เป็ นกรอบการวิจัยด้ านเนือ้ หาสาระหรือเป็ นแนวความคิดของผู้วจิ ัย
เกีย่ วกับความสั มพันธ์ ระหว่ างประเด็นย่ อยต่ างๆ ทีศ่ ึกษา
 การระบุกรอบแนวคิดจะทาให้ ทราบว่ าผู้วจิ ัยมีแนวความคิดกับสิ่ งที่
ศึกษาและคิดว่ าอะไรสั มพันธ์ กบั อะไร รูปแบบและทิศทางใด

การเสนอกรอบแนวความคิดการวิจัย
 คาพรรณนา เขียนบรรยาย
 พรรณนา + แผนภาพ (หรือแผนภูม)ิ
 แบบจาลอง
ตัวอย่ างกรอบแนวคิดงานวิจัย
โจทย์ที่ 1 ระบบทำงำนในพื้ นที่ที่มี
ประสิทธิภำพ
1. ศูนย์บริกำรและถ่ำยทอดเทคโนโลยีประจำตำบลทีม่ ี
ประสิทธิภำพ
- กำรดำเนินงำนของศูนย์ฯ แบบมีส่วนร่วม
- กำรให้บริกำรของศูนย์ฯ แก่ชุมชนทีเ่ หมำะสม
- กระบวนกำรได้มำของแผนชุมชน
- เครือข่ำยกำรเรียนรูแ้ ละกิจกรรม
2. กระบวนกำรทำงำนและบทบำทเจ้ำหน้ำทีส่ ่งเสริม
กำรเกษตร ประจำตำบล
โจทย์ที่ 2 ระบบสนับสนุนกำรทำงำนใน
พื้ นที่ที่มี ประสิทธิภำพ
- ระบบข้ อมูลสารสนเทศ
- ระบบประเมินผล
- ระบบพัฒนาบุคลากร
- ระบบประชาสัมพันธ์
- ระบบติดตามและนิเทศงาน - ระบบสนับสนุนแผนชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ชุมชน
ที่มีประสิทธิภาพ
พึ่งตนเองได้
ชุ มชนเกษตรกร
•เข้ มแข็ง
•พึง่ ตนเอง
ระบบข้ อมูลสารสนเทศ
ระบบพัฒนาบุคลากร
ระบบนิเทศ
ศูนย์ บริการฯ
ระบบติดตามประเมินผล
กระบวนการทางาน
ระบบการทางานในพืน้ ที่
บทบาทเจ้ าหน้ าที่
ระบบส่ งเสริม
การเกษตร
ทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
ระบบประชาสั มพันธ์
ระบบสนับสนุนแผนชุ มชน
โครงการสร้ างระบบส่ งเสริมการเกษตร
ชุ มชน
อุปสรรค
ต่ อ ชาวประมง
อนุรักษ์
รัฐ เอกชน
แนวทางการจัดการ
ป่ าชายเลนแบบมีส่วนร่ วม
ผลการจัดการ
ต่ อ ชุ มชน
ต่ อ ทรัพยากร
ฟื้ นฟู
ใช้ ประโยชน์
อืน่ ๆ
ปัจจัยหนุน
องค์ การท้ องถิ่น
กรอบแนวคิดการวิจัย
การพัฒนาผู้นา
การพึง่ พาตนเอง
อย่ างยัง่ ยืน
การจัดการความรู้
การพัฒนา
เครือ
ข่ าย
ภูมปิ ัญญา
ใน
นอก
การ
พัฒนา
กลุ่ม
T - เทคโนโลยี
E - เศรษฐกิจ
R - ทรัพยากร
M - จิตใจ
S - สั งคม
กรอบแนวคิดการดาเนินการ
ระยะที่ 1 สร้ างรูปแบบการท่ องเที่ยว
ระยะที่ 2 ทดลองและประเมินรูปแบบ
ท่ องเที่ยว
การจัดการท่ องเทีย่ วที่ยงั่ ยืน
อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ
ลดปัญหาความยากจน
ชุ มชนพึง่ พาตนเองได้
ระยะที่ 3 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
เทคนิคในการกาหนด
ข้ อคาถามงานวิจัย
การกาหนดข้ อมูลทีต่ ้ องการ
1.พิจารณาจากวัตถุประสงค์ ของการวิจยั แต่ ละข้ อ
เพือ่ ทราบว่ าต้ องการข้ อมูลอะไร มีตวั แปรอะไรบ้ างทีต่ ้ องนามาพิจารณา
2.แยกวัตถุประสงค์ ของการวิจยั ออกเป็ นประเด็นย่ อยๆให้ มากทีส่ ุ ด
( ขึน้ กับการตรวจเอกสาร)
3.นาประเด็นที่แยกออกมาทาเป็ นแผนผังก้ างปลา
เพือ่ นาไปกาหนดเป็ นข้ อคาถาม
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ศึกษาผลการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ โครงการ
2. เพือ่ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ อความสาเร็จและปัจจัยที่เป็ นอุปสรรค
ต่ อการดาเนินงานพร้ อมข้ อเสนอแนะในการพัฒนางานให้ บรรลุ
วัตถุประสงค์ โครงการ
3. เพือ่ ศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้ องใน
โครงการ
4 . เพือ่ ใช้ เป็ นเครื่องมือในการพัฒนางานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์
โครงการ
กรอบแนวคิด
ช่ วงระหว่ างดาเนินโครงการ
ปัจจัยนาเข้ า
-วัตถุประสงค์โครงการ
-ทรัพยากร
กระบวนการ
-กิจกรรม/วิธีดาเนินงานโครงการ
1. กระบวนการแผนชุมชน (inside out)
2. ปฏิบตั ิการแก้จนแบบเข้าถึงทุกครัวเรื อน
(outside in)
3. สนับสนุนกิจกรรมเพิม่ รายได้
4. ประชาสัมพันธ์
5. ติดตามประเมินผล
ปัจจัย
ผลลัพธ์
1. ผลการดาเนินการตามวัตถุประสงค์โครงการ
1) ร้อยละครัวเรื อนยากจนที่ได้รับการยกระดับรายได้เฉลี่ย
มากกว่า 1,230 บาท/คน/เดือน (พ้นเส้นความยากจน)
2) การปรับทัศนะและเพิ่มขีดความสามารถของคนจนใน
การแก้ไขความยากจน ไปสู่ 3 พ
(เศรษฐกิจ/ ความสุ ข /ครอบครัวอบอุ่นพอเพียง)
3) บทบาทและการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการแก้ปัญหา
สังคมและความยากจนด้วยกระบวนการแผนชุมชน
2. ระดับความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องในโครงการ
3. ข้ อเสนอแนะและปัจจัยที่มีผลต่ อความสาเร็จ
4. จานวนครัวเรือนยากจนที่ผ่านเกณฑ์ จปฐ ข้ อ 19
ครอบครัวอบอุ่น
5 จานวนครัวเรือนผ่านเกณฑ์ อย่ างน้ อย 26 ข้ อ
6. จานวนครัวเรือนเป็ นสมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจชุมชน
ปัจจัยภายนอก
สร้ างแผนผังแสดงองค์ ประกอบของวัตถุประสงค์
องค์ ประกอบที่ 1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
องค์ ประกอบที่ 2
องค์ ประกอบที่ 3
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 2
องค์ ประกอบที่ 4
องค์ ประกอบที่ 5
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วดั ของปัจจัยนาเข้ า
วัตถุประสงค์ โครงการ
ความเข้ าใจในวัตถุประสงค์
ความเหมาะสมของวัตถุประสงค์
ปัจจัยนาเข้ า
ความพอเพียง
งบประมาณ
ความทันเวลา
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วดั ของกระบวนการ
การจัดทาแผนชุมชน
การจัดทาแผนชุมชนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
กระบวนการแผนชุมชน
ปฏิบัตกิ ารแก้จนแบบเข้ าถึงทุกครัวเรือน
กระบวนการ
สนับสนุนกิจกรรมเพิม่ รายได้
ประชาสัมพันธ์
ติดตามประเมินผล
การนากิจกรรมที่กาหนดในแผนไปใช้
ในการแก้ปัญหาความยากจน
ผังก้างปลาแสดงตัวชี้วดั ผลลัพธ์
ผลจากการดาเนินการ
ตามวัตถุประสงค์ โครงการ
ข้ อที่ 1
ร้ อยละครัวเรือนยากจนทีไ่ ด้ รับการยกระดับ
รายได้ เฉลีย่ มากกว่ า 1,230 บาท/คน/เดือน
(พ้นเส้ นความยากจน)
การปรับทัศนะและเพิม่ ขีดความสามารถของ
คนจนในการแก้ไขความยากจน ไปสู่ 3 พ
(เศรษฐกิจ/ ความสุ ข /ครอบครัวอบอุ่น
พอเพียง)
บทบาทและการมีส่วนร่ วมของชุมชนใน
การแก้ปัญหาสั งคมและความยากจนด้ วย
กระบวนการแผนชุมชน
ฯลฯ