Transcript Slide 1

Computer System Overview
Chapter 1
พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คืออะไร ?
อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่ วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถ
รับข้อมูลและชุดคาสัง่ (Program) ในรู ปแบบที่เครื่ องรับได้ แล้วนา
มาประมวลผล (Process)
ข้อมูลตามชุดคาสัง่ เพื่อแก้ปัญหา
หรื อทาการคานวณที่สลับซับซ้อน จนได้ผลลัพธ์ตามที่ตอ้ งการ
และยังสามารถบันทึก หรื อแสดงผลลัพธ์เหล่านั้นได้
ประเภทของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 7 ประเภท ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
คอมพิวเตอร์ ระดับยิง่ ใหญ่ (Super Computer)
คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่ (Mainframe Computer)
คอมพิวเตอร์ระดับเล็ก (Mini Computer)
คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (PC : Personal Computer)
คอมพิวเตอร์น็คบุค๊ (Notebook Computer)
คอมพิวเตอร์พีดีเอ (PDA : Personal Digital Assistant)
คอมพิวเตอร์ เครื อข่าย (Net)
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Super Computer
Mainframe Computer
Mini Computer
PC : Personal Computer
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Notebook Computer
Net
PDA : Personal Digital Assistant
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 5 ด้าน
ที่ตอ้ งทางานประสานกัน คือ
1.
2.
3.
4.
5.
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟแวร์ (Software)
บุคลากร (Peopleware)
ข้อมูล (Data)
กระบวนการทางาน (Procedure)
ฮาร์ ดแวร์
ระบบปฏิบัตกิ าร
โปรแกรมระบบและแอปพลิเคชั่น
เอดิเตอร์
คอมไพเลอร์
ผูใ้ ช้ 1
ผูใ้ ช้ 2
ฐานข้อมูล
ผูใ้ ช้ 3
พรี เซ็นเตชัน่
ผูใ้ ช้ 4
..
.....
รู ป 1.1 โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
เวิร์ดโปรเซสซิ่ ง
ผูใ้ ช้ 5
Hardware
ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบของตัวเครื่ องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่
แผงวงจร ตัวเครื่ อง จอภาพ เครื่ องพิมพ์ คียบ์ อร์ด เม้าส์ เป็ นต้น
ซึ่งสามารถแบ่งส่ วนประกอบได้เป็ น 4 ส่ วน ดังนี้
1.
2.
3.
4.
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
หน่วยเก็บข้อมูล (Storage)
หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)
Hardware
CPU
Input
ALU
Output
Control
Memory
รู ป 1.2 องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ดา้ นฮาร์ดแวร์
Hardware
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมสู่เครื่ อง
ได้แก่ คียบ์ อร์ ด เมาส์ เครื่ องสแกน เครื่ องรู ดบัตร เป็ นต้น
2.หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
ทาหน้าที่ในการทางานตามคาสัง่ ที่ปรากฏอยูใ่ นโปรแกรม
หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยหลัก 2 หน่วยคือ
• หน่วยคานวณเลขคณิ ตและตรรกวิทยา (ALU : Arithmetic and Logic Unit)
• หน่วยควบคุม (Control Unit) และรี จิสเตอร์(Register)
ซึ่งปัจจุบนั ซีพียขู องคอมพิวเตอร์ รู้จกั ในนามของไมโครโปรเซสเซอร์
(Micro Processor) หรื อ Chip เช่น
บริ ษทั Intel คือ Pentium หรื อ Celeron
บริ ษทั AMD คือ Athlon หรื อ Seprom
Hardware
2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
3.หน่วยเก็บข้อมูล (Storage)
หน่วยเก็บข้อมูลสามารถแบ่งตามหน้าที่ได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
• หน่วยเก็บข้อมูลหรื อความจาหลัก (Primary Storage หรื อ Main Memory)
ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรื อข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรี ยมส่ ง
ให้หน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลที่ได้จากการ
ประมวลผล ส่ งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
RAM (Random Access Memory) ที่สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่
เครื่ องเปิ ดอยู่ แต่เมื่อปิ ดเครื่ องข้อมูลในแรม ก็จะหายไป
ROM (Read Only Memory) จะอ่านได้อย่างเดียว เช่น PROM
(Programmable ROM)
เป็ นโปรแกรมที่ฝังไว้ใช้ตอนสตาร์ทเครื่ อง
3.หน่วยเก็บข้อมูล (Storage)
หน่วยเก็บข้อมูลสามารถแบ่งตามหน้าที่ได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
• หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage)
ทาหน้าที่เก็บข้อมูล หรื อโปรแกรมที่จะป้ อนเข้าสู่หน่วยความจาหลัก
ภายในเครื่ องก่อนทาการประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็ นที่เก็บผลลัพธ์จาก
การประมวลผลด้วย
ซึ่งเรารู ้จกั ในนาม ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) หรื อ FlashDrive ซึ่งเมื่อปิ ดเครื่ อง
ข้อมูลจะยังคงอยู่
Hardware
3. หน่วยเก็บข้อมูล (Storage)
4.หน่วยแสดงผลข้อมูลหรื อเอาต์พตุ (Output Unit)
ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ได้แก่
จอภาพ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น ซึ่งทั้ง 4 ส่ วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส (Bus)
โครงสร้างระบบบัสของเพนเทียม
Hardware
4. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)
2. ซอฟแวร์ (Software)
ซอฟแวร์ คือ โปรแกรมหรื อชุดคาสัง่ ที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ ทางาน ซอฟต์แวร์น้ ีจะเป็ นเสมือนตัวเชื่อมระหว่าง
ผูใ้ ช้เครื่ องคอมพิวเตอร์กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าไม่มีซอฟต์แวร์
เครื่ องคอมพิวเตอร์ กจ็ ะไม่สามารถทางานได้
ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มใหญ่คือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
หมายถึง ชุดคาสัง่ ที่เขียนไว้เป็ นคาสัง่ สาเร็ จรู ป ซึ่งจะทางาน
ใกล้ชิดกับเครื่ องคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อควบคุมการทางาน
ของฮาร์ดแวร์ ทุกอย่าง และคอยอานวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้
ในการใช้งานซอฟต์แวร์ระบบนี้ สามาถแบ่งย่อยได้ดงั นี้
• โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ (OS : Operating System)
เป็ นโปรแกรมควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ท้ งั ระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์
สามารถดาเนินงานไปได้อย่างต่อเนื่อง โดยจะดูแลทั้งตัวเครื่ อง การจัดการข้อมูล
มีหน้าที่ควบคุมการประมวลผลภายใน จัดสรรพทรัพยากรต่างๆ ในระบบ
และติดต่ออุปกรณ์ภายนอก ซึ่งเปรี ยบเสมือนผูจ้ ดั การระบบที่อยูร่ ะหว่างผูใ้ ช้
กับเครื่ อง เช่น Windows Vista
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
• โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
เป็ นโปรแกรมแปลคาสัง่ ที่เขียนในภาษาระดับสู งแบบโครงสร้าง
(Structure หรื อ Procedural Language) เช่น Pascal, Cobol, C หรื อ
แบบเชิงวัตถุ (Visual หรื อ Object Oriented Programming)
เช่น Visual Basic, Visual C หรื อ Delphi
ซึ่งโปรแกรมจะแปลให้เป็ นภาษาเครื่ องซึ่ งจัดได้วา่ เป็ นาษาระดับต่า
ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ รู้จกั ลักษณะเช่นนี้เป็ นตัวแปลภาษาที่แปล
โปรแกรมทีละโปรแกรม ซึ่งเรี ยกว่า คอมไฟเลอร์ (Compiler)
แต่ลกั ษณะดั้งเดิมที่แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เช่น ภาษาBasic
ซึ่งจะเรี ยกว่า อินเตอร์ พริ เตอร์ (interpreter)
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
• ยูทิลิต้ ี หรื อโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program)
เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้าที่อานวยความสะดวกให้แก่ผใู้ ช้ในการติดต่อ
กับคอมพิวเตอร์โดยจะช่วยลดขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมที่ยงุ่ ยาก
เช่น การตรวจค้นหาแฟ้ มข้อมูลที่ลบไปแล้ว เช่น Software tool
2. ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป (Package)
เป็ นซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมประยุกต์ที่จดั ทาไว้ เพื่อใช้งานประเภท
ต่างๆ โดยผูใ้ ช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปใช้กบั ข้อมูลของ
ตนเองได้ แต่ไม่สามารถทาการดัดแปลงหรื อแก้ไขโปรแกรมภายใน
ได้ เช่น Microsoft Office
3. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
เป็ นซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรม ที่เขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่าง
ที่เราต้องการเรี ยกว่า User Program หรื อ Customized Software เช่น
โปรแกรมสต็อกสิ นค้า ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่อาจจะไม่สามารถหาได้
ทัว่ ไปในลักษณะโปรแกรมสาเร็ จรู ปได้
3.บุคลากร (Peopleware)
บุคลากรเป็ นสิ่ งสาคัญที่เป็ นตัวกาหนดถึงประสิ ทธิ ภาพความสาเร็ จ
ความคุม้ ค่าในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแบ่งบุคลากรตาม
หน้าที่ได้ 6 ด้าน ดังนี้
1.ผูอ้ อกแบบและวิเคราะห์ระบบ (System Analysis and Design)
2.โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
3.ผูบ้ ริ หารฐานข้อมูล (DBA : Database Administrator)
4.ผูป้ ฏิบตั ิการ (Operator)
5.ผูใ้ ช้ (User)
6.ผูบ้ ริ หาร (Manager)
4.ข้อมูล (Data)
ข้อมูล เป็ นส่ วนสาคัญในระบบคอมพิวเตอร์ เพราะเป็ นสิ่ ง
ที่ตอ้ งบันทึกลงไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นกั
คอมพิวเตอร์ได้เขียนไปเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ตอ้ งการออกมา
5.กระบวนการทางาน (Procedure)
กระบวนการทางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ตอ้ งการ ในการทางาน
กับคอมพิวเตอร์ ผูใ้ ช้จาเป็ นต้องทราบขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้
งานที่ถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพซึ่งอาจมีหลายขั้นตอน ดังนั้นจึง
จาเป็ นต้องมีคู่มือปฏิบตั ิงาน เช่น คู่มือผูใ้ ช้ (User Manual) หรื อคู่มือ
ผูด้ ูแลระบบ (Operation Manual)