อนุสัญญา cedaw - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

Download Report

Transcript อนุสัญญา cedaw - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

การคุม
้ ครองสิทธิสตรี
ตามอนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการ
เลือกปฎิบต
ั ต
ิ อ
่ สตรี
ในทุกรู ปแบบ (CEDAW)
นาเสนอโดย
ไรร ัตน์ ร ังสิตพล
ผู ป
้ ระสานงานโครงการในประเทศไทย
ยู เอ็นวีเมน
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ั ญา CEDAW คืออะไร
• อนุสญ
้
ั ญา CEDAW มีเนื อหาอย่
• อนุสญ
างไร
ั ญา
• เราจะใช้ประโยชน์ใดจากอนุสญ
CEDAW ได ้บ ้าง
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ั ญาว่าด ้วยการขจัดการเลือกปฎิบต
• อนุสญ
ั ต
ิ อ
่
สตรีในทุกรูปแบบ
ื่ ว่าเป็ น กฏหมายระหว่างประเทศว่าด ้วย
• ได ้ชอ
ิ ธิมนุษยชนของผู ้หญิง
สท
ิ ธิมนุษยชนที่
• ตราสารระหว่างประเทศด ้านสท
ิ ธิ
พัฒนามาจากปฏิญญาสากลว่าด ้วยสท
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
• บังคับใชตั้ ง้ แต่ปี ๒๕๒๔
• ๑๘๘ ประเทศทั่วโลกเป็ นภาคี (มากทีส
่ ด
ุ เป็ น
ั ญาว่าด ้วยสท
ิ ธิเด็ก)
อันดับสอง รองจากอนุสญ
ั ญา ปี ๒๕๒๘ และ
• ประเทศไทยเป็ นภาคีอนุสญ
เป็ นภาคีพธิ ส
ี ารเลือกรับ ปี ๒๕๔๓
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ
มนุ
ษ
ยชน
่
“ในสถานทีเล็กๆ ใกล ้บ ้าน เล็กและใกล ้มากจนไม่
สามารถมองเห็นได ้ในแผนทีโ่ ลก สถานทีเ่ ล็กๆ แห่งนั น
้
เป็ นโลกของปั จเจกบุคคล เป็ นละแวกบ ้านทีบ
่ ค
ุ คลอยู่
ั เป็ นโรงเรียนหรือวิทยาลัยทีบ
อาศย
่ ค
ุ คลได ้เข ้าเรียน เป็ น
โรงงาน ไร่นา หรือสานั กงานทีบ
่ ค
ุ คลทางาน สถานที่
เหล่านีเ้ ป็ นทีซ
่ งึ่ บุรุษ สตรี และเด็กทุกคนต่างมองหา
่ าเทียมก ัน โอกาสทีเท่
่ าเทียมก ัน
ความยุตธ
ิ รรมทีเท่
์ ทเท่
ศ ักดิศรี
ี่ าเทียมก ัน โดยปราศจากการแบ่งแยก ถ ้า
ิ ธิเหล่านีไ
ิ ธิ
สท
้ ม่มค
ี วามหมายอยูณ
่ สถานทีน
่ ัน
้ ๆ สท
เหล่านีก
้ ็จะมีความหมายเพียงน ้อยนิดในทุกแห่ง ถ ้า
ิ ธิเหล่านีใ้ ห ้อยูใ่ กล ้
พลเมืองไม่ชว่ ยกันยืนหยัดปกป้ องสท
บ ้าน ก็เปล่าประโยชน์ทจ
ี่ ะให ้เกิดความก ้าวหน ้าในโลกที่
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน
ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุ ษยชนที่
ไทยเป็ นภาคี
ิ ธิพลเมืองและ
๑ กติการะหว่างประเทศว่าด ้วยสท
ิ ธิทางการเมือง
สท
ิ ธิทางเศรษฐกิจ
๒ กติการะหว่างประเทศว่าด ้วยสท
สงั คม และวัฒนธรรม
ั ญาว่าด ้วยการขจัดการเลือกปฏิบต
๓ อนุสญ
ั ใิ นทุก
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุ ษยชนที่
ไทยเป็ นภาคี
ั ญาว่าด ้วยการต่อต ้านการทรมานและการ
๖ อนุสญ
ประติบัตห
ิ รือการลงโทษอืน
่ ทีโ่ หดร ้าย ไร ้
ั ดิศ
มนุษยธรรม หรือยา่ ยีศก
์ รี
ั ญาว่าด ้วยสท
ิ ธิคนพิการ
๗ อนุสญ
ั ญาว่าด ้วยการป้ องกันบุคคลจากการหาย
๘ อนุสญ
ั ญาว่าด ้วยการ
สาบสูญโดยถูกบังคับ ๙ อนุสญ
ิ ธิของแรงงานโยกย ้ายถิน
คุ ้มครองสท
่ ฐานและ
สมาชกิ ในครอบครัว
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
หลักการสาคัญ
ิ ธิมนุษยชนของผู ้หญิง (เพศ
• สท
สภาวะ)
• ความเสมอภาคอย่างแท้จริง
• การไม่เลือกปฎิบต
ั ิ
• พันธกรณี ของร ัฐภาคี
• หมายรวมทัง้ ในพืน
้ ทีส
่ าธารณะและ
สิทธิมนุ ษยชนของผู ห
้ ญิง
• เพศ และ เพศสภาพ
• การเข ้าถึงความยุตธิ รรมของผู ้หญิง
• ในหลายบริบท ความไม่เท่าเทียม การ
เลือกปฏิบต
ั ิ ทาให ้ผู ้หญิงไม่อาจเข ้าถึง
ิ ธิมนุษยชน ได ้โดยเท่าเทียมกันกับ
สท
ผู ้ชาย
การไม่เลือกปฎิบต
ั ิ
(non-discrimination)
การเลือกปฏิบต
ั ค
ิ อ
ื อะไร
ข ้อที่ ๑ การแบ่งแยก การกีดกัน หรือการ
จากัดใด ๆ เพราะเหตุแห่งเพศ ซงึ่ มีผลหรือ
ื่ ม
ความมุง่ ประสงค์ทจ
ี่ ะทาลายหรือทาให ้เสอ
ี การยอมรับ การได ้อุปโภค หรือใชส้ ท
ิ ธิ
เสย
โดยสตรี โดยไม่คานึงถึงสถานภาพด ้านการ
สมรส บนพืน
้ ฐานของความเสมอภาคของ
ิ ธิมนุษยชนและเสรีภาพ
บุรษ
ุ และสตรีของสท
ขัน
้ พืน
้ ฐานในด ้านการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม
การไม่เลือกปฎิบต
ั ิ
การเลือกปฏิบต
ั ท
ิ างตรง
การไม่เลือกปฎิบต
ั ิ
การเลือกปฏิบต
ั ท
ิ างอ ้อม
สง่ ผลในทาง
การเลือกปฏิบต
ั ิ
การไม่เลือกปฎิบต
ั ิ
้
การเลือกปฏิบต
ั ท
ิ บ
ั ซอน
Inter-sectionalities
วิดท
ิ ศ
ั น์
การขจัดเลือกปฏิบต
ั ิ
ความเสมอภาคในรู ปแบบ
ความเสมอภาคในรูปแบบ มองว่าผู ้หญิงและ
ผู ้ชายเหมือนกันทุกอย่าง
ความเสมอภาคในรูปแบบ มองว่า กฏหมายที่
รับประกันความเสมอภาคเพียงพอแล ้วทีจ
่ ะทา
ให ้เกิดความเสมอภาค
ความเสมอภาคในรูปแบบ ยังมิได ้คานึงถึง
ความแตกต่างทางชวี วิทยา ทีว่ า่ ผู ้หญิงเป็ นเพศ
ทีต
่ งั ้ ครรภ์ (เพศ) และสงั คมมักมอบหน ้าทีก
่ าร
ดูแลลูกให ้ผู ้หญิง (เพศภาวะ)
ความเสมอภาคอย่างแท้จริง
ความเสมอภาคของผลลัพธ์
่ จริง
ความเสมอภาคทีแท้
• ความพยายาม
ปกป้ องโดยจากัด
โอกาส ไม่ถอ
ื เป็ น
ความเสมอภาคที่
แท ้จริง
• การสร ้างเสริม
โอกาส
• การสร ้าง
มาตรการพิเศษ
ชวั่ คราว
พันธกรณี ของร ัฐ
• โดยนิตน
ิ ัย (ตามกฏหมาย) การดาเนินการตาม
ั การออกกฏหมาย/แก ้ไข
พันธกรณีซงึ่ ต ้องอาศย
รัฐธรรมนูญ และกฏหมายในประเทศ
• โดยพฤตินัย การดาเนินการตามพันธกรณีซงึ่
ั การดาเนินการตามกกหมาย นโยบาย
ต ้องอาศย
โครงการ ทีส
่ ง่ ผลให ้เกิดความเปลีย
่ นแปลง
อย่างแท ้จริงในชวี ต
ิ ของผู ้หญิง
วิดท
ิ ศ
ั น์
ความเสมอภาคทีแ
่ ท ้จริง
พันธกรณี ของร ัฐ
รัฐต ้องดาเนินมาตรการทีเ่ หมาะสม
ั ชา้
ทัง้ หมด โดยไม่ชก
• มาตรการด ้านนิตบ
ิ ญ
ั ญัต ิ (ประกาศใช ้
แก ้ไข ยกเลิก กฏหมาย) มาตรการ
คุ ้มครองทางกฏหมาย
• มาตรการด ้านการเมือง สงั คม
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
• งดเว ้นจากการกระทาหรือปฏิบต
ั ิ
วิดท
ิ ศ
ั น์
พันธกรณีของรัฐ
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ข ้อที่ ๑ นิยามความเสมอภาคและการเลือกปฏิบัต ิ
ข ้อที่ ๒ มาตราการเชงิ นโยบาย
ิ ธิมนุษยชนและอิสรภาพพืน
ข ้อที่ ๓ สท
้ ฐาน
ข ้อที่ ๔ มาตรการพิเศษชวั่ คราว
ข ้อที่ ๕ ภาพเหมารวมและทัศนคติ
ข ้อที่ ๖ การค ้าผู ้หญิงและการแสวงหาประโยชน์
จากการค ้าประเวณี
ข ้อที่ ๗ ชวี ต
ิ สาธารณะและการเมือง
ข ้อที่ ๘ การเป็ นตัวแทนและการมีสว่ นร่วมใน
อนุ สญ
ั ญา CEDAW
ั ชาติ
ข ้อที่ ๙
สญ
ึ ษา
ข ้อที่ ๑๐ การศก
ข ้อที่ ๑๑ การจ ้างงาน
ิ ธิอนามัยเจริญพันธุ์
ข ้อที่ ๑๒ สุขภาพ สท
ข ้อที่ ๑๓ มิตด
ิ ้านเศรษฐกิจและสงั คม
ข ้อที่ ๑๔ ผู ้หญิงชนบท
ข ้อที่ ๑๕ ความเสมอภาคต่อหน ้ากฏหมาย
ข ้อที่ ๑๖ การสมรสและครอบครัว ชวี ต
ิ สาธารณะ
และการเมือง
ประโยชน์ของอนุ สญ
ั ญา CEDAW
• การสร ้างมาตรฐาน ความรับผิดชอบของรัฐ
(duty bearers) ต่อประชาชน (rights holders)
ั ท์ตา่ งๆ การจาแนกประเภทของสท
ิ ธิ
• นิยามศพ
่
• ข ้อเสนอแนะ General Recommendation เชน
เรือ
่ งความรุนแรงต่อผู ้หญิง เรือ
่ งแรงงานหญิง
่
ข ้ามชาติ เรืองผู
ห
้ ญิงกับการป้ องกันความ
ขัดแย้ง ในสถานการณ์ความขัดแย้ง และ
หลังสถานการณ์ความขัดแย้ง
่ งทางการรายงาน: การรายงานโดยรัฐ
• ชอ
รายงานภาคประชาสงั คม รายงานต่อ
เหตุการณ์ตอ
่ ไปนี ้ เป็ นการเลือก
ปฏิบต
ั ห
ิ รือไม่
ถ้าใช่ เป็ นทางตรงหรือทางอ้อม
ผู ้หญิงหนึง่ ถูกเลิกจ ้าง เมือ
่ ทนายจ ้างทราบว่เธอ
ตัง้ ครรภ์
บริษัทหนึง่ จัดประชุมทีต
่ า่ งประเทศ พนักงานคนหนึง่ ถูก
สายการบินห ้ามไม่ให ้เข ้าขึน
้ เครือ
่ งเพราะเป็ นผู ้อยู่
ื้ เอชไอวี
ร่วมกับเชอ
ผู ้หญิงคนหนึง่ เป็ นผู ้จัดการฝึ กหัดมาทางานวันแรก ใส่
สูทกางเกงมาทางาน ผู ้จัดการบริษัทให ้กลับไป
่ ระโปรงเพราะผิดระเบียบ ระเบียบให ้ใส่
เปลีย
่ นเป็ นใสก
่ ระโปรง)
กระโปรงเท่านัน
้ (กรณีผู ้ชายใสก