2. การให้คำปรึกษา_DV180657
Download
Report
Transcript 2. การให้คำปรึกษา_DV180657
การให้คาปรึกษาผูถ้ ูก
กระทารุนแรง
Domestic Violence
Victims
ความรุนแรงในครอบครัวเป็ นรูปแบบหนึง่ ของการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เป็ นปั ญหาสากลที่เกิดได้ทุกสังคมและวัฒนธรรม
สังคมไทยมีแนวโน้ม ความรุนแรงในครอบครัวเพิม่ ขึ้นและสลับซับซ้อนมากขึ้น
คนส่วนใหญ่มองว่าเป็ นเรือ่ งระหว่างคนภายในครอบครัวและไม่เข้าใจถึงสิทธิเด็ก
และสตรี วัฒนธรรมในประเทศให้สทิ ธิเพศชายมากกว่าในบางเรื่อง
ความเชือ่ มโยงการทางานของหน่วยงานต่างๆ ที่ให้ความช่วยเหลือยังไม่เข้มแข็ง
สถิติขอ้ มูลยังไม่สามารถรวบรวมได้ครอบคลุมใกล้เคียงกับปั ญหาที่เกิดขึ้นจริง
เด็กและผูห้ ญิงเป็ นส่วนใหญ่
-
ช่วงเวลาที่อยู่ดว้ ยกันยาวนาน
ขอบข่ายของกิจกรรมและความสนใจที่
กว้างและหลากหลาย
ความเข้มข้นของความสัมพันธ์
กิจกรรมที่มีความขัดแย้งกัน
สิทธิในการกาหนดพฤติกรรมของกัน
และกัน
-
-
ความแตกต่างกันทางด้านอายุและเพศ
บทบาทที่แต่ละฝ่ ายได้มาแต่กาเนิด
ความเป็ นส่วนตัวของครอบครัว
สภาพการเป็ นสมาชิกอาจโดยไม่สมัครใจ
ระดับความเครียดสูง
ความรูเ้ กีย่ วกับประวัติชวี ิตของกันและกัน
เป็ นอย่างดี
การช่วยเหลือ แก้ไข การป้องกัน การบาบัดฟื้ นฟู และการพัฒนา
ต้องเชือ่ มโยงความเข้าใจกับทุกระบบที่เกีย่ วข้อง
+
การประสานงานอย่างใกล้ชิดในทุกวิชาชีพ
เพือ่ หาแนวทาง หรือวางแผนรองรับกับปั ญหาใหม่ๆ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ผูป
้ ระกอบวิชาชีพด้านสังคมสงเคราะห์
และสวัสดิการสังคม
ผูป
้ ระกอบวิชาชีพด้านกฎหมายและการปกครอง
ผูป
้ ะกอบวิชาชีพด้านการศึกษาและการฝึ กอาชีพ
ผูป
้ ระกอบวิชาชีพในด้านองค์กรพัฒนาเอกชน
และองค์กรภาคประชาชน
การปฐมพยาบาลทางจิตใจจากหน้างานบริการ
การให้การปรึกษา
การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
Empowerment
่ นความคิดและพฤติกรรม
การปรับเปลีย
การบาบัดรักษา/ฟื้ นฟู
การประสานการส่งต่อเครือข่ายตามสภาพปั ญหา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การตรวจพิสจู น์การทารุณกรรม การตรวจประเมินทางการแพทย์
การตรวจทางนิติเวช การตรวจประเมินด้านสติปัญญา/จิตใจ
การค้นหาข้อเท็จจริง และวิธีการค้นหาข้อเท็จจริง
การประเมินสภาวะของเด็กและสตรี รวมถึงครอบครัว ความเสีย่ ง
ความสัมพันธ์ต่างๆ
การบาบัดรักษา รวมไปถึงการฟื้ นฟู เด็ก สตรีท่ีถูกทารุณกรรมทัง้
ทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ การฟื้ นฟูครอบครัวคนที่เกีย่ วข้อง
การประเมินความพร้อมในการส่งกลับครอบครัว/ชุมชน
การป้องกันการใช้ความรุนแรงซา้ ป้องปรามผูก้ ระทาผิดโดยกฎหมาย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ให้ความปลอดภัย
สร้างสัมพันธภาพ/สร้างความคุน้ เคย ไม่ตาหนิ ให้กาลังใจ
ตรวจสอบความคิด ฆ่าตัวตาย การเผชิญปั ญหา
ตอบสนองทางอารมณ์ ฟั งอย่างตัง้ ใจ ให้ได้ระบายความรูส้ กึ
ให้ขอ้ มูล แหล่งการช่วยเหลือ แนะนาด้านการใช้สทิ ธิทาง
กฎหมายเพือ่ ป้องปรามผูก้ ระทา และคุม้ ครองสิทธิ
ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
ติดตามผล/ส่งปรึกษาหน่วยงานเฉพาะด้าน
ประเมินความเสีย่ งต่อการถูกทาร้ายซา้ /ปั ญหาสังคมอืน่ ๆ
ปลอดภัยเสมอ ความปลอดภัยจากการถูกกระทาซา้ สาคัญที่สดุ
คานึงถึง ความต้องการ ของ เด็ก/ผูถ้ ูกกระทา ก่อนเงือ่ นไขของผูใ้ หญ่/
ผูอ้ น่ื ๆ ทัง้ นี้ตอ้ งดูเหตุผลอืน่ ประกอบด้วย
อย่าทางานตามลาพัง ควรมีท่ีปรึกษาหรือหาความร่วมมือ
สร้างสัมพันธภาพ ของผูท้ างานกับครอบครัวเป็ นหัวใจแรกของความ
ปลอดภัยสาหรับเด็ก/ผูห้ ญิง ควรทาความเข้าใจครอบครัวให้ดี
มีแหล่งส่งต่อ ความช่วยเหลือ เครือข่ายการทางานในพื้นที่
มีการสือ่ สาร กับหน่วยงานที่เกีย่ วข้องและแสดงตนชัดเจนกรณีท่ี
ต้องการความร่วมมือ
Psychological and emotional abuse
เพราะความรุนแรงทางด้านจิตใจเป็ นเรือ่ งยาก
ในการจับภาพความรุนแรง - การทรมานทางอารมณ์
และการใช้ชวี ิตอยู่ภายใต้ความหวาดกลัว - มักจะเป็ นมากขึ้น
และทนกว่าความโหดร้ายทางกายภาพ,ภาวะความเครียดทาง
จิตใจนาไปสู่การอุบตั ิการณ์สงู ของความพยายามฆ่าตัวตายและ
การฆ่าตัวตาย
การจัดการกับสิง่ แวดล้อมภายนอก
่
การจัดการกับภายในตัวเองของเหยือ
สิง่ ที่คุกคามผูป
้ ระสบปั ญหา
ผูก้ ระทา ญาติ คนอืน่ ๆ
สถานที่ท่ีปลอดภัย ที่พกั พิงที่เหมาะสม
่ การเข้าถึงตัวผูป้ ระสบปั ญหา
สือ
การใช้กฎหมายคุม
้ ครองสิทธิให้ถูกต้อง
แหล่งส่งต่อ ทรัพยากรด้านสังคม กองทุนฯลฯ
ทัศนคติ
วิธีคิด การปรับตัว
การควบคุมอารมณ์ กลัว โกรธ เศร้า ถดถอย
การสนับสนุนกาลังใจ
การฟื้ นคืนพลัง การอดทนต่อความกดดัน
และต่อสูห้ รือเผชิญกับปั ญหา ฯลฯ
1.
2.
ทัศนคติของชุมชนต่อความรุนแรงในครอบครัว บางชุมชน
เมื่อเกิดการทาร้ายเด็ก/คนในครอบครัว ชุมชนจะไม่เข้ามา
เกีย่ วข้องหรือปล่อยให้เกิดการกระทาซา้ ๆต่อไป
ทัศนคติเรือ่ ง ความอาย เป็ นสิง่ ที่ทาให้เก็บเรือ่ งการทารุณ
กรรมเป็ นความลับของครอบครัวต้องยอมรับความรูส้ กึ ของ
ครอบครัวและหาวิธีแก้ไขที่ดที ่ีสดุ ความจริงที่เปิ ดเผยอาจ
ทาให้ครอบครัวอยู่ใน สถานการณ์ท่ีลาบาก ในชุมชน อาจ
ถูกปฏิเสธจากชุมชน และทาให้ตอ้ งตกเป็ นเหยือ่ ซา้ ๆ
ช่วยประคับประคองจิตใจพ่อแม่ หรือสามีภรรยา ลดความตึง
เครียด รับฟั งความทุกข์ของทุกคน ไม่ด่วนตัดสินใจ
่ สารกับครอบครัวอย่างเหมาะสมนาไปสู่แรงจูงใจใน
การสือ
ความร่วมมือ และเป็ นการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
บาบัดพยาธิสภาพทางใจของครอบครัว แก้ไขปมขัดแย้งในใจ
แสดงความเข้าใจ เป็ นตัวกลางประสาน
่ง
ค้นหาความกังวลที่ครอบครัวมี อันทาให้เกิดการหลีกเลีย
การให้ความร่วมมือ
การชี้ให้เห็นผลเสียของการไม่แก้ปัญหา โอกาสที่จะแก้ไขที่
อยู่บนพื้นฐานของความจริง
่ ลดความเครียดในสภาพแวดล้อมความ
การช่วยเหลือเพือ
เป็ นอยู่โดยรับบทบาทติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ
การประชุมครอบครัว และเครือข่ายสหวิชาชีพโดยที่ครอบครัว
มีส่วนร่วมประชุมด้วยกระบวนการนี้มีผลในการปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม เพราะร่วมกันเสนอแนวทางที่สร้างสรรค์
ครอบคร ัว
กลุม
่ เพือ
่ น
เพือ
่ นบ้าน/ชุมชน
โรงเรียน
โรงพยาบาล
ศาสนา
ื่
สอ
ตารวจ/กฎหมาย
เน้นให้เข้าใจและเผชิญกับปั ญหา
ภายใต้ขอ้ มูลทางเลือกที่หลากหลาย ถูกต้อง
สิง่ สาคัญ..ต้องมีความพร้อมในการการตัดสินใจ เพือ่
จะแก้ปัญหา ของตนเองได้
กลัว ขาดสติในการทบทวนปั ญหา
วิตกกังวล ลังเล ไร้พลัง
โกรธเคือง คับแค้นใจ
ว้าวุ่นใจ สับสน หวาดระแวง
ลงโทษตัวเอง
ท้อแท้ในชีวิต หมดกาลังใจ หมดที่พง่ึ ซึมเศร้า
ไม่ไว้ใจคนรอบข้างว่าจะคิดอย่างไรกับตนเอง
อารมณ์เสียง่าย ต้องการคาตอบเร่งด่วน
ผูร้ บั บริการมีโอกาสที่จะได้ สารวจปั ญหา สาเหตุ และ
วางแนวทางการแก้ไขปั ญหาอย่างรอบด้านก่อนการ
ตัดสินใจ แก้ปัญหาของตนเอง
ให้สทิ ธิพ้ นื ฐานด้านความปลอดภัยในชีวิต เนื้อตัวร่างกาย
การได้รบั ข้อมูลที่เกีย่ วข้องกับปั ญหาอย่างรอบด้าน
บริการที่ปลอดภัยภายใต้ระบบบริการที่มีอยู่ และการ
ประสานงานช่วยเหลือที่รวดเร็ว
1.
2.
3.
4.
5.
มุ่งหวังให้ผูป้ ระสบปั ญหา..ตกผลึกทางความคิด
เข้าใจและเผชิญปั ญหาได้เหมาะสม
ตัดสินใจเลือกทางออก..ภายใต้ขอ้ มูลทางเลือกที่หลากหลาย
สอดคล้องกับชีวิตและศักยภาพของตนเอง
ปฏิบตั ไิ ด้จริงและพร้อมที่จะรับผลที่ตามมาจากการตัดสินใจ
บริการปรึกษาที่ควรได้รบั
บริการปรึกษาที่สามารถรับฟั งปั ญหาอย่างเป็ นมิตร
ไม่ซา้ เติมและให้ขอ้ มูลรอบด้าน
ข้อมูลที่ได้รบ
ั สอดคล้องต่อสถานการณ์และประกอบการตัดสินใจ
ในการแก้ปัญหาได้
ข้อมูลที่ได้รบ
ั สอดคล้องต่อเงือ่ นไขชีวิตของผูห้ ญิงแต่ละคน
ได้รบ
ั การประคับประคองจิตใจเพือ่ คลีค่ ลาย ผ่อนคลาย
ปั ญหาที่เกิดขึ้นได้
สอบถาม พูดคุย ให้ขอ้ มูล ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย
คานึงถึงความรูส้ กึ สร้างความมัน่ ใจว่าเขาปลอดภัย และทาได้จริง
ให้เขามีคนที่ไว้ใจและเขาต้องการอยู่ดว้ ยได้ มีขอ้ มูลติดต่อเวลาฉุกเฉิน
ให้ความอบอุ่น โดยการสัมผัส โอบกอด ให้ร่างกายสะดวกสบาย
ควบคุมการรับรูข้ ่าวสารของผูป้ ระสบปั ญหาจากสือ่ ต่างๆ
เจ้าหน้าที่และผูด้ แู ลไม่ควรแสดงความรูส้ กึ กังวลเกินกว่าเหตุ
ศึกษาแหล่งรองรับ/ส่งต่อการช่วยเหลือต่างๆทัง้ ภาครัฐ-เอกชน
แสดงความรัก ให้ความมัน่ ใจต่อผูป้ ระสบปั ญหาบ่อยครัง้ เท่าที่ทาได้
1. รูปแบบของการให้บริการต้องปรับปรุงและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
สภาพปั ญหาของแต่ละพื้นที่
2. จัดโครงสร้างอัตรากาลังให้เหมาะสมกับการดาเนินงาน กาหนดบทบาท
ภารกิจให้ชดั เจน และสอดคล้องกับภารกิจหลัก ของหน่วยงาน
3. ฝึ กฝนบุคลากรให้มีทกั ษะในการสือ่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ
4. สร้างการมีส่วนร่วมหรือการดาเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ความเข้มแข็งของทีม
5. การทางานแบบสหสาขาวิชาชีพ ต้องเปิ ดกว้างในการแลกเปลีย่ นเรียนรู ้
และมีความยืดหยุ่นสูงในการปฏิบตั ิงานร่วมกัน
6. เคารพทุกวิชาชีพว่ามีความชานาญเฉพาะด้านแตกต่างกันและฟั ง
ข้อคิดเห็นที่แตกต่างเสมอ
7. ควรทาความเข้าใจกับกฎหมายที่เกีย่ วข้อง และใช้กฎหมาย เป็ น
เครือ่ งมือให้ถูกต้อง อย่าปฏิเสธที่จะเรียนรู ้
8. สร้างเครือข่ายในระดับชุมชนให้มากขึ้น หน่วยงานภาครัฐ มีบคุ ลากรไม่
เพียงพอที่จะช่วยเหลือผูป้ ระสบปั ญหาความรุนแรงได้ทงั้ หมด เนือ่ งจาก
ความรุนแรงในครอบครัวมีหลายระดับ
9. มีการทางานเชิงรุกในด้านการรณรงค์ป้องกันการให้ขอ้ มูลข่าวสาร
บริหารจัดการอารมณ์ทงั้ ของตนเองและผูข้ อรับบริการ