การสร้ างความเข้ มแข็งทางใจ บาดแผลทางใจ.....เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร? สถานการณ์ กับ เกิดบาดแผลทางใจ        ภัยพิบตั ิ อุบตั ิเหตุร้ายแรง สงคราม อาชญากรรม ถูกทรมาน ความรุ นแรงทางเพศ ประสบการณ์พบเห็นเรื่ อง ร้ายแรง.

Download Report

Transcript การสร้ างความเข้ มแข็งทางใจ บาดแผลทางใจ.....เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร? สถานการณ์ กับ เกิดบาดแผลทางใจ        ภัยพิบตั ิ อุบตั ิเหตุร้ายแรง สงคราม อาชญากรรม ถูกทรมาน ความรุ นแรงทางเพศ ประสบการณ์พบเห็นเรื่ อง ร้ายแรง.

การสร้ างความเข้ มแข็งทางใจ
บาดแผลทางใจ.....เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร?
สถานการณ์ กับ เกิดบาดแผลทางใจ







ภัยพิบตั ิ
อุบตั ิเหตุร้ายแรง
สงคราม
อาชญากรรม
ถูกทรมาน
ความรุ นแรงทางเพศ
ประสบการณ์พบเห็นเรื่ อง
ร้ายแรง
การเกิดบาดแผลทางใจ....ขึน้ อยู่กบั








การรับรู้ / ความรู้สึก
ทัศนคติ /
เหตุการณ์ /ความรุ นแรง
ประสบการณ์./ อายุ.... ความสามารถในการจัดการณ์
บุคคล / อายุ / จานวน / ความผูกพัน/ ผูม้ ีความเกี่ยวข้อง
ความลาบาก / ยากเข็น
เวลา
โรคประจาตัว
ผลของ...บาดแผลทางใจ


ภาวะเครียดหลังสถานการณ์ รุนแรง กระทบต่ อความมั่นคง
ความปลอดภัยในชีวติ เกิดการสู ญเสี ย เปลีย่ นแปลง เกิดการฝัง
ใจ เกาะกินใจไปเรื่อย
เกิดอาการทางกาย ทางใจ เช่ น วิตกกังวล ฝันร้ ายบ่ อยๆ
ซึมเศร้ า เกิดโรคทางใจ.....
โรคที่พฒ
ั นามาจากบาดแผลทางใจ

บาดแผลทางใจเกินกว่ า 1 เดือน มีโอกาสกลายเป็ นโรค
- Post Traumatic Stress
Disorder
(PTSD)
- Depression
- Anxiety Disorder
- Alcohol / Substance Disorder
Post Traumatic Stress Disorder (PTSD)
จากการศึกษาในปัจจุบัน พบว่ าเกิดจาก การขาดการ
เชื่อมโยงในการทางานของสมองส่ วนต่ างๆ ดังนี้
PTSD





Frontal cortex ใช้ ความคิดและเหตุผฺล ตัดสิ นใจ ประเมินความเสี่ ยง
Broca’s area ควบคุมกล้ ามเนือ้ การพูด
Thaiamus ศูนย์ กลางประสานงาน ระหว่ าง Frontal cortex
กับสมองส่ วนอืน่ ๆ
Hippocamput ทาหน้ าที่เกีย่ วกับความจา
Amygdala ทาหน้ าที่ตอบสนองทางอารมณ์ การตื่นตัว
การทางานของสมองภาวะปกติ
เมื่อประสบเหตุการณ์
สมอง Thaiamus จะเชื่อมประสานระหว่าง
Amygdala กับ Frontal Cortex คือทา
หน้าที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ ประเมินจะสู ้หรื อหนี
หรื อปรับตัว ส่ วนสมอง Hippocampas
ประเมินจัดเก็บประสบการณ์ เป็ นความทรงจา
การทางานของสมองเมื่อมีบาดแผลทางใจ
เมื่อประสบเหตุการณ์
สมองThaiamus และสมองส่ วนต่ างๆ จะถูกตัด
ขาดออกจากกัน ไม่ สามารถทางานเชื่อมโยงกันได้
เช่ น Amygdala ขาดการเชื่อมโยงกับ
Frontal cortex ทาให้ ตน
ื่ กลัวเกินกว่ าเหตุ
และยึดติดกับอารมณ์ เพียงอย่ างเดียว
อาการสาคัญของ PTSD



Intrusion ความคิด ความจาความรุ นแรงผุดขึ้นมา
ควบคุมไม่ได้
ฝันร้าย เหมือนมีเหตุการณ์เกิดซ้ า
Hyperarousal ตื่นกลัวเกินกว่าเหตุ ระแวง นอนไม่หลับ
ไม่มีสมาธิ ระเบิดอารมณ์
Avoidance พยายามหลีกหนีสิ่งกระตุน้ ทั้งคาพูด ความคิด
กระทา สถานที่ บุคคล
การช่ วยเหลือ....ผู้มบี าดแผลทางใจ

ช่ วยปรับสมดุล(Stabilization): เตรี ยมความพร้อมก่อนบาบัด

ช่ วยเผชิญสถานการณ์ (Exposition) : จัดการสถานการณ์ได้

ช่ วยให้ ยอมรับสถานการณ์ (Reintegration and
Rehabilitation) : รู ปแบบกิจกรรมต่างๆ
การปรับสมดุลจิตใจ




ให้ ความรู้ / สาเหตุ / การแสดงออก / การดูแลตนเอง
ประเมิน โดยรวมรวมข้ อมูล ซักประวัตทิ จี่ าเป็ น แบบวัด
วางแผนกิจกรรม
การสอนเทคนิค / กิจกรรมตามปญหา / การจัดการปัญหา
อารมณ์ ความรู้ สึก
การสร้ างความเข้ มแข็งทางใจ


ใช้ หลัก Resilience (ความหยุ่นตัว)
ความหยุ่นตัว หมายถึง
- ความสามารถในการปรับตัว และฟื้ นตัวกลับมาใช้ ชีวิต
ตามปกติภายหลังเผชิญภาวะวิกฤต
- มีความเจริญเติบโตด้ านอารมณ์ และจิตใจมากขึน้
Resilience
Growth
: protective factor / universal /minimize / overcome
Crisis
Bounce
back
Recover
Psychological
response
Mental health problems
องค์ ประกอบ Resilience

I have มีคนผูกพัน ช่วยเหลือ สนับสนุน มีแบบอย่างในการ
ดาเนินชีวิต

I am

I can มีความสามารถในการดาเนินชีวิต
มีความมัน่ คงทางใจ มีที่พ่ งึ มีศาสนา ภูมิใจ สาเร็ จ
หลักการช่ วยเหลือ Resilience
พิจารณาตามองค์ ประกอบ
I am
I have
1.Personal strength
2.Social support
Team
/Fx./network
Resilience
I can
3.Emotion stability relax
4.Thinking skill
5.Communication skill intra Inter
6.Problem solving skill
psychosocial
positive
หลักการสร้ างความเข้ มแข็งทางใจ...มี 4 เรื่อง

รู้ สึกดีกบั ตนเอง (Sense
of self)
(มองโลกแง่ดีดว้ ยการคิดบวก)

จักการกับชีวติ ได้ (Sense
of control)
(ความเครี ยด กับการจัดการกับความเครี ยด และเทคนิค)

มีสายสั มพันธ์ เกือ้ หนุน (Sense of connection)
(สื่ อสารและสัมพันธภาพกับบุคคล)

มีจุดหมายในชีวติ (Sense of purpose)
( เกิดมาทาไม)
การช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ
(Crisis Intervention)
หลักของ Crisis Intervention
• ใช้ ระยะเวลาจากัด
• เน้ นการปรับเปลีย่ น
@ ความคิด
@ พฤติกรรม
@ แก้ ไขปัญหาความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล
กิจกรรมหลักของ Crisis Intervention







1. การสร้ างสั มพันธภาพ
2.
3.
4.
5.
6.
7.
สร้ างความปลอดภัย / คลายความเครียด
การช่ วยเรื่องการควบคุมอารมณ์
การรวบรวมข้ อมูลเพือ่ การช่ วยเหลือ
การช่ วยเหลืออย่ างเป็ นรู ปธรรม
ให้ การสนับสนุนทางสั งคม
ให้ ข้อมูลเกีย่ วกับการปรับตัว
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ ในภาวะวิกฤต
ลักษณะกิจกรรม
 การช่ วยเหลือเบือ
้ งต้ น ทันที ภายหลังเหตุการณ์ วกิ ฤต
 โดยใช้ หลักการ แนวทางทีม
่ ีวิชาการ งานวิจัยรองรับ
 เพือ
่ ลดความเครียดระยะต้ น และส่ งเสริมความสามารถในการปรับตัว
ทั้งระยะสั้ น และระยะยาว

ดังนั้น...วัตถุประสงค์ ...ลดความเครียด/ประเมินความต้ องการเร่ งด่ วน
และส่ งเสริมการปรับตัว....แต่ ไม่ ใช่ ค้นหารายละเอียดของเหตุการณ์
หลักการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ








การพูดคุย สัมพันธภาพที่อบอุ่น ให้เกียรติ ไม่ละเมิดสิทธิ์
ทาให้รู้สึกปลอดภัย เชื่อมัน่ ได้รับความสะดวก สบายขึ้น
ทาให้สงบ และผ่อนคลาย
ทาให้มีสติ เข้าใขและบอกความต้องการของตนเองได้
สามารถให้ขอ้ มูล และความช่วยเหลือได้
สามารถช่วยประสานติดต่อให้พบกับครอบครัวได้
ช่วยเสริ มสร้างให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง/จัดการผลกระทบทางใจได้
ช่วยให้เข้าถึงหน่วยบริ การได้สะดวก และเหมาะสม
คุณลักษณะของผูใ้ ห้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ






รู ้หน้าที่ตามมอบหมาย
เต็มใจ / ใส่ ใจ / สัมพันธภาพอบอุ่น
มีความรู ้ ความสามารถ มีทกั ษะในการปฏิบตั ิ / เชี่ยวชาญ
แบบอย่าง ท่าทีสงบ
ไวต่อปัจจัยที่เกี่ยวข้อง / การตัดสิ นใจ / ส่ งต่อเหมาะสม
ข้อพึงระวัง...ไม่ด่วนสรุ ปปัญหา/เหตุการณ์
...ไม่เรี ยกสิ่ งเหมือนผิดปกติวา่ .. “อาการ” หรื อ.. “โรค”
...ไม่ประเมินศักยภาพต่าเกินจริ ง หรื อ เน้นความอ่อนแอ
...เลี่ยงการคาดเดา ซักถามรายละเอียดต่างๆที่เกิดขึ้น....
เทคนิคการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ : เด็กและวัยรุ่ น






ท่าที...ย่อเข่าระดับสายตา
ช่วยให้เด็กพูดสื่ อถึงอารมณ์น้ นั ออกมา เลี่ยงคาพูดรุ นแรง
ตั้งใจฟัง ตรวจสอบความเข้าใจตรงกัน
ใช้ภาษาเหมาะสมกับวัย ง่ายและตรงไปตรงมา
ถ้าเป็ นวัยรุ่ น พูดคุยแบบผูใ้ หญ่-ผูใ้ หญ่ เคารพสิ ทธิ์ และความรู ้สึก
ส่ งเสริ มเทคนิคเหล่านี้กบั พ่อแม่ / ผูด้ ูแลเด็ก เพื่อช่วยเหลือทางอารมณ์
ได้ถูกต้อง
เทคนิคการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ : ผูส้ ูงอายุ




คานึงถึงผูม้ ีประสบการณ์ ทักษะการจัดการกับปั ญหา
การได้ยนิ ควรพูดเสี ยงดังชัดเจน โทนเสี ยงต่า
การประเมินควรแยกแยะ...ภาวะสับสน...เพื่อการช่วยเหลือ
การพิจารณาส่ งที่เหมาะสม
เทคนิคการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
: ผูพ้ ิการและมีความต้องการพิเศษ






พืน้ ทีป่ ลอดภัย เลีย่ งสิ่ งรบกวนน้ อยทีส่ ุ ด
มีการสื่ อสารกันโดยตรง / รับฟังกัน
ใช้ คาพูดฟังง่ ายๆ พูดช้ าๆ ควรใช้ คาถาม “มีอะไรให้ ช่วย”
ช่ วยเหลือพาทากิจกรรม
คานึงถึงอุปกรณ์ ช่วยทีจ่ าเป็ น
ส่ งเสริมให้ ช่วยตนเอง
คาพูดที่ควรหลีกเลี่ยง






ฉันรู ้วา่ คุณรู ้สึกอย่างไร
คุณต้องผ่อนคลาย
อาจเป็ นสิ่ งที่ดีที่สุด
ดีแล้วที่คุณยังมีชีวิตอยู่
ดีแล้วสาหรับเขา
คุณเป็ นผูน้ าครอบครัวแล้วนะ
ถึงเวลาที่เขาจะจากไปแล้ว
คุณทาทุกสิ่ งทุกอย่างแล้ว
เราพูดเรื่ องอื่นกันเถอะ
คุณจะดีข้ ึนในไม่ชา้
คุณต้องพยายามลืมเรื่ องนี้ให้ได้
ผลดีของการแก้ ไขภาวะวิกฤติอย่ างถูกวิธี
@ แก้ปัญหาปั จจุบนั ได้
@ แก้ไขจุดขัดแย้งในอดีต
@ เกิดการเรี ยนรู ้การจัดการป้ ญหาที่ดี
ในอนาคต
พวกเราจะเป็ นแบบนีน้ ะจ๊ ะ