             การด ูแลผูป้ ่ วยระยะส ุดท้าย (Good Death) ในหน่วยงานหอผูป้ ่ วยพิเศษศัลยกรรม โรงพยาบาลแพร่ มูลเหตุจูงใจ โรงพยาบาลแพร่เป็ นโรงพยาบาลทัว่ ไปขนาด 438 เตียง ให้การดูแลผูป้ ่ วย ระดับทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ พบผูป้

Download Report

Transcript              การด ูแลผูป้ ่ วยระยะส ุดท้าย (Good Death) ในหน่วยงานหอผูป้ ่ วยพิเศษศัลยกรรม โรงพยาบาลแพร่ มูลเหตุจูงใจ โรงพยาบาลแพร่เป็ นโรงพยาบาลทัว่ ไปขนาด 438 เตียง ให้การดูแลผูป้ ่ วย ระดับทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ พบผูป้








 




การด ูแลผูป้ ่ วยระยะส ุดท้าย
(Good Death)
ในหน่วยงานหอผูป้ ่ วยพิเศษศัลยกรรม
โรงพยาบาลแพร่
มูลเหตุจูงใจ
โรงพยาบาลแพร่เป็ นโรงพยาบาลทัว่ ไปขนาด 438 เตียง ให้การดูแลผูป้ ่ วย
ระดับทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ พบผูป้ ่ วยมะเร็งระยะสุดท้ายซึ่งมีความทุกข์ทรมานหลายๆ
ด้านและมีจานวนเพิ่มมากขึน้ เรื่อยๆ
วิวฒ
ั นาการและความก้าวหน้าของโลกปั จจุบนั ได้นาเทคโนโลยีและนวตกรรม
ที่ทนั สมัยมาใช้ในการดูแลรักษาผูป้ ่ วยให้ปลอดภัย หายจากโรค สนองตอบต่อความ
ต้องการ และพิทกั ษ์สิทธิของผูป้ ่ วยและญาติ
ในปีลยกรรม
2547 พบผู
ป้ ่ วยโรคมะเร็
47 ราย
หอผูป้ ่ วยพิเศษศั
ให้การดู
แลผูป้ ่ วยทุงกระบบ
โดยเฉพาะผูป้ ่ วย
ราย
2548
พบ 29่พึ่งราย
โรคมะเร็งระยะสุดท้าย ซึระยะสุ
่งเป็ นกลุดม่ ท้ทีา่มย คี 13
วามวิ
ตกกัปีงวล
ต้องการที
และหมดหวังในชีวิต
ระยะสุ
ดท้าย เพื11่อให้ราย
ต้องการการดูแลแบบประคั
บประคอง
การใช้ชวี ิตช่วงที่เหลืออยู่ อย่างมีคณ
ุ ค่า
และได้รบั การดูแลอย่างสมศักดิศ์ รีแห่งความเป็ นมนุษย์
มูลเหตุจูงใจ
จากการปฏิบตั ทิ ี่ผา่ นมาพบว่า การดูแลผูป้ ่ วยมะเร็ งระยะ
สุดท้าย ยังไม่มแี นวทางและมาตรฐานที่ชดั เจนและการปฏิบตั ไิ ม่
เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้ผปู้ ่ วยกลุม่ นี้ไม่ได้รบั การ
ดูแลที่เหมาะสม และจากการที่เจ้าหน้าที่ได้มโี อกาสศึกษาดูงาน
อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั โรงพยาบาลอื่น ๆร่วมกับแนวคิด
การดูแลผูป้ ่ วยแบบองค์รวม (Holistic) ทาให้เจ้าหน้าที่แผนก
พิเศษศัลยกรรม ได้มกี ารทบทวนการให้การดูแลผูป้ ่ วยระยะ
ประเด็นสำคัญ / ควำมเสี่ ยงสำคัญ
- เพื่อให้การดูแลผูป้ ่ วยระยะสุดท้ายเป็ นไปอย่างถูกต้อง
ตามหลักจริยธรรมและเคารพศักดิศ์ รีของความเป็ นมนุษย์
- ลดความวิตกกังวล บรรเทาทุกข์เวทนาของผูป้ ่ วยและ
ญาติในระยะสุดท้ายของชีวิต
- พิทกั ษ์สิทธิ์ของผูป้ ่ วยและญาติ
- ทีมผูด้ แู ลมีความเข้าใจปฎิบตั ไิ ด้ถกู ต้องในทิศทางเดียวกัน
เป้ ำหมำย / เครื่องชี้วดั ที่สำคัญ
1. มีมาตรฐานการดูแลผูป้ ่ วยระยะสุดท้าย
2. จานวนข้อร้องเรียนกับการละเมิดสิทธิ์การ
ตาย
3. อัตราความพึงพอใจต่อการบริการผูป้ ่ วยระยะ
สุดท้าย
มำตรฐำนกำรดูแล
มำตรฐำนที่ 1 ผู้ป่วยได้ รับควำมสุ ขสบำยด้ ำนร่ ำงกำย
มำตรฐำนที่ 2 ผู้ป่วยได้ รับอำหำรและมีควำมสมดุลของนำ้ และ
Electrolyte
มำตรฐำนที่ 3 ผู้ป่วยพักผ่ อนนอนหลับอย่ ำงเพียงพอ
มำตรฐำนที่ 4 ผู้ป่วยลดควำมทุกข์ ทรมำนจำกกำรปวด
มำตรฐำนกำรดูแล
มำตรฐำนที่ 5 ผู้ป่วยปลอดภัยจำกโรคแทรกซ้ อน (เช่ น
Pneumonia Pressure sore)
มำตรฐำนที่ 6 ผู้ป่วยได้ รับควำมปลอดภัยจำกอุบัตเิ หตุและฆ่ ำตัวตำย
มำตรฐำนที่ 7 ผู้ป่วยตำยอย่ ำงมีศักดิ์ศรีและได้ รับควำมเคำรพเยีย่ ง
บุคคล
มำตรฐำนที่ 8 ผู้ป่วยพ้นควำมทุกข์ ทรมำนและจำกไปอย่ ำงสงบ
เป้ ำหมำย / เครื่องชี้วดั ที่สำคัญ(ต่ อ)
2. จานวนข้อร้องเรียนกับการละเมิดสิทธิ์การ
ตาย
3. อัตราความพึงพอใจต่อการบริการผูป้ ่ วยระยะ
สุดท้าย
ควำมต้ องกำรของญำติ
1. ทราบความจริงเกี่ยวกับอาการของผูป้ ่ วยจากแพทย์
ผูใ้ ห้การรักษา
2. ได้รบั ข้อมูลและการเปลี่ยนแปลงของผูป้ ่ วยเป็นระยะ
อย่างต่อเนื่อง
3. ทราบทางเลือกในการด ูแลผูป้ ่ วยเพื่อประกอบการ
ตัดสินใจ
4. ต้องการร่วมเป็นส่วนหนึ่งของทีมในการด ูแลผูป้ ่ วย
5. ต้องการการชี้แนะแนวทางในการให้กาลังใจแก่ผป้ ู ่ วย
ควำมต้ องกำรของญำติ
6. ต้องการให้ผป้ ู ่ วยจากไปอย่างสงบ และได้ด ูแลผูป้ ่ วย
เมื่อใกล้ส้ ินลมหายใจ
7. ต้องการให้ผป้ ู ่ วยไม่มีความท ุกข์ทรมานจากอาการ
เจ็บปวด
8. ทราบวิธีการแก้ไขปัญหาให้ผป้ ู ่ วย เมื่อผูป้ ่ วยมีอาการ
ไม่สงบ และกระสับกระส่าย
9. ต้องการให้พยาบาลตรวจเยีย่ มผูป้ ่ วยบ่อย ๆ
กระบวนกำรเพือ่ ให้ ได้ คุณภำพ
1. ประชุมคณะทำงำนสหสำขำวิชำชีพประกอบด้ วย แพทย์
และพยำบำล เพือ่ กำหนดแนวทำงปฏิบัติ
2. เสริมควำมรู้ ทักษะในกำร ดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ำยแก่
เจ้ ำหน้ ำทีท่ ุกคน
ประช ุมชี้แจง
กระบวนกำรเพือ่ ให้ ได้ คุณภำพ(ต่ อ)
3. จัดทำแนวทำงปฏิบัตใิ นกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำย
4. จัดทำมำตรฐำนกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำย 8 มำตรฐำน
5. ประสำนทีม สหสำขำทีเ่ กีย่ วข้ อง ได้ แก่ เภสั ชกร
โภชนำกร นักจิตวิทยำ เวชกรรมสั งคมและเจ้ ำหน้ ำที่ สอ.
/PCU
6. ทดลองปฏิบัติตำมแนวทำงที่กำหนดไว้
ประเด็นพิจำรณำด้ ำนจิตวิญญำณ
การไม่ สมัครอยู่ ขอไปตายทีบ่ ้ าน
ขนบธรรมเนียมประเพณี
คาร้ องขอของผู้ป่วย
ความต้ องการของญาติ
ผูป้ ่ วยระยะส ุดท้ายขอกลับบ้าน
สรุปกำรวัดผลจำกกำรดำเนินงำนพบว่ ำ
1. ผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำยทุกคนได้ รับกำรดูแลตำมมำตรฐำน
2. ไม่ มีข้อร้ องเรียนเกีย่ วกับกำรละเมิดสิ ทธิ์กำรตำย
3. ควำมพึงพอใจของญำติต่อบริกำร
จำกปี 2548 = 80 % และ ปี 2549 = 90 %
4. มีมำตรฐำนกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำย 8 มำตรฐำน
5. มีแนวทำงปฏิบัตใิ นกำรดุแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำย
6. เจ้ ำหน้ ำทีม่ ีควำมสำมำรถในกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำย
เพิม่ จำก 30 % ในปี 2548 เป็ น 100 % ในปี 2549
บทบำทของพยำบำลในกำรดูแลผู้ป่วย
ระยะสุ ดท้ ำยของชีวติ แบบองค์ รวม
-
ด้านร่ างกาย
ด้านอารมณ์
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
ด้านร่างกาย :- เป็ นกำรบรรเทำทุกข์ทำงด้ำนร่ ำงกำย
ไม่ ได้ เป็ นกำรรักษำให้ หำยจำกโรค
ปัญหา
อาการเจ็บปวด
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
ความสุ ขสบายด้านร่ างกาย
การได้รับอาหารและน้ า
การขับถ่าย
ด้านอารมณ์
ปัญหา
:- เพื่อให้เกิดการยอมรับและจัดการกับอารมณ์ได้
ซึมเศร้า หงุดหงิด เครี ยด
รับรู ้ความมีคุณค่าของตัวเองลดลง
ด้านสังคม
ปัญหา
ไม่สามารถทาหน้าที่ได้ปกติ เป็ นภาระ
ปัญหาเศรษฐกิจ สังคมลดลง
ด้านจิตวิญญาณ
ปัญหา
:- สนองตอบความต้องการด้านความเชื่อ ,
สิ่ งยึดเหนี่ยว เพื่อให้เกิดความมัน่ คงทางใจ
ท้อแท้
ขาดพลังความเข้มแข็งในตัวเอง
ต้องการที่พ่ งึ ทางใจ
กำรเสริมพลังอำนำจให้ แก่ ผู้ดูแล
(Care giver)
ให้ความรู ้เรื่ องการดูแลต่อเนื่องที่บา้ น
แนะนาการปฎิบตั ิเมื่อผูป้ ่ วยใกล้เสี ยชีวติ และจากไปอย่างสงบ
ประสานเครื อข่าย เพื่อเชื่อมโยงการดูแลอย่างต่อเนื่อง
กำรดูแลแบบองค์ รวม
แนะนำกำรดูแลต่ อเนื่องและตรวจเยีย่ มสม่ำเสมอ
แจ้ งข้ อมูลให้ ญำติรับทรำบ
เจ้าหน้าที่ได้มีสว่ นร่วมจนถึงวันส ุดท้าย
สรุปกำรพัฒนำกระบวนกำรกำรดูแลผู้ป่วย
ระยะสุ ดท้ ำยของชีวติ ในรู ปแบบของ
SIPOC MODEL
กำรพัฒนำต่ อเนื่อง
1. มีกำรนำแนวทำงกำรปฏิบัติและมำตรฐำนกำรพยำบำลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำยไปใช้
ในหอผู้ป่วยอืน่ ๆในแผนกศัลยกรรม
2. วำงแผนขยำยแนวกำรปฎิบตั ิกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำยไปทุกหอผู้ป่วยใน
โรงพยำบำลแพร่
3. พัฒนำทีมผู้ดูแลให้ มีควำมพร้ อมในด้ ำนทักษะ / สมรรถนะ
ในกำรดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำยให้ ชัดเจนและต่ อเนื่อง โดยพัฒนำรูปแบบ
กำรดูแลแบบพยำบำลเจ้ ำของไข้
4. ทบทวนแนวทำง / มำตรฐำนกำรดูแลเพือ่ สอดคล้องกับควำมต้ องกำร
ควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำรตำมบริบทของหน่ วยงำนทีจ่ ะนำไปปรับใช้
กำรดูแลแบบองค์ รวม
จะเป็ นกำรตอบสนองควำม
ต้ องกำรของผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ำยได้ ดที สี่ ุ ด