ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล - มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
Download
Report
Transcript ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล - มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เพื่อการสื่อสาร
อาจารย์สราว ุฒิ จบศรี
คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยกร ุงเทพธนบ ุรี
ขอบเขตเนื้อหา
1
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2
ฮาร์ดแวร์
3
ซอฟต์แวร์
ความรเ้ ู กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ อะไร ????
คอมพิวเตอร์ คือ อ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่าง
หนึ่งที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล ประมวลผล
สื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ค ุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
1
การทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
2
การทางานด้วยความเร็วสูง
3
ความถูกต้องแม่นยา เชื่อถือได้
4
การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก
5
การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
1
ซ ูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
จัดว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพสูงส ุด เทียบได้กบั
คอมพิวเตอร์ทวั่ ไปพันๆ เครือ่ งใช้ใน
การประมวลข้อมูลข้อมูล
จานวนมากและเร็วมาก เช่น องค์การ
NASA ใช้ในการพยากรณ์อากาศ
เป็ นต้น
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2
คอมพิวเตอร์เมนเฟรมหรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
(Mainframe Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
มีประสิทธิภาพรองจากซ ูปเปอร์
คอมพิวเตอร์ มักใช้ในการ
ประมวลผลจานวนมาก เช่น
ในองค์กรธ ุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคาร
ที่มีสาขาทัว่ โลก
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
3
มินิคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง
(Mini Computer)
จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาด
กลางมีประสิทธิภาพสูงกว่า
PC Computer เช่น
องค์กรขนาดกลาง ไฟแนนซ์
มหาวิทยาลัย
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4
คอมพิวเตอร์สว่ นบ ุคคล (Personal Computer)
จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูก เหมาะในการใช้
งานส่วนตัว ในสานักงาน หรือองค์กรขนาดเล็ก หรือตาม
บ้านพักทัว่ ไป หรือเรียกโดยทัว่ ไปว่า PC (พีซี) โดยแบ่ง
ตามลักษณะการใช้งาน ได้ดงั นี้
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4.1
คอมพิวเตอร์ขนาดสถานีงาน (Workstation)
4.1
จัดเป็นคอมพิวเตอร์สว่ นบ ุคคล
ที่มีประสิทธิภาพสูงส ุด
ประกอบด้วยเครื่องมือสาหรับการ
ออกแบบและคานวณทางวิศวกรรม
งานออกแบบสถาปัตยกรรม งาน
วิเคราะห์ทางการเงินและเศรษฐกิจ
ขัน้ สูง
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4.2
คอมพิวเตอร์ขนาดตัง้ โต๊ะ (Desktop Computer)
4.1
จัดเป็นคอมพิวเตอร์สว่ น
บ ุคคลที่พบได้ทวั่ ไป ตาม
สานักงานต่างๆ หรือตลอดจน
การเรียน การสอน และการวิจยั
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4.3
คอมพิวเตอร์ขนาดกระเป๋า (Labtop หรือ Notebook)
4.1
จัดเป็นคอมพิวเตอร์สว่ น
บ ุคคลที่มีความสามารถทัดเทียม
กับคอมพิวเตอร์แบบตัง้ โต๊ะ
อีกทัง้ มีความคล่องตัว เหมาะ
สาหรับงานนาเสนอ หรือนัก
ธ ุรกิจที่ตอ้ งการความคล่องตัว
ความรูเ้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4.4
คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา (Handhelds หรือ Personal
Digital Assistants : PDA )
4.1
เป็ นคอมพิวเตอร์สว่ นบ ุคคลขนาดเล็กที่สามารถวางบนมือ
ส่วนใหญ่มกั จะติดตัง้ โปรแกรมสาเร็จรูป เช่น โปรแกรมตารางการ
นัดหมาย โปรแกรมรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มาพร้อมในตัว
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อ ุปกรณ์ต่างๆ ที่ทางาน
ประสานกันเพื่อให้เกิดการประมวลผล การจัดเก็บ
และการแสดงผลข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งหมาย
รวมถึงตัวคอมพิวเตอร์ และอ ุปกรณ์รอบข้าง
ฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5
หน่วยหลัก ดังนี้
ฮาร์ดแวร์
1
หน่วยรับข้อมูล
2
หน่วยแสดงผล
3
หน่วยประมวลผลกลาง
4
หน่วยความจาหลัก
5
หน่วยความจารอง
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยแสดงผล
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยความจาหลัก
หน่วยความจารอง
ฮาร์ดแวร์
1
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1.1
แป้นพิมพ์
เป็นอ ุปกรณ์หลักในการรับ
ข้อมูลเข้าเครือ่ งคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็น แป้นพิมพ์ชนิด PS/2
และแป้นพิมพ์ USB
ฮาร์ดแวร์
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1
1.2
เมาส์ (Mouse)
เป็นอ ุปกรณ์ในการสัง่ งาน
โดยคลิกที่ป่ มของเมาส์
ุ
เมาส์ใช้เป็นอ ุปกรณ์ในการสัง่
การ ปัจจุบนั เมาส์ที่นิยมจะมีอยู่
2 ประเภท คือเมาส์แบบล ูกกลิ้ง
และเมาส์แบบใช้แสง
ฮาร์ดแวร์
1
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1.3
เครือ่ งสแกนภาพ (Scanner)
เป็นอ ุปกรณ์สาหรับอ่านภาพถ่าย
หรือเอกสารเพื่อนาเข้ามาใช้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยจะทาการอ่านภาพ
หรือเอกสารที่อยูใ่ นรูปแบบของ
แผ่นกระดาษ และทาบันทึกแฟ้มภาพ
ด้วยไฟล์ .gif .jpg
ฮาร์ดแวร์
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
2
2.1
จอภาพ (Monitor)
เป็นส่วนประกอบที่ใช้แสดงผลลัพธ์
และเป็นส่วนที่ผใ้ ู ช้ใช้ในการมองเห็น
เพื่อให้ติดต่อสัง่ งานกับเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ได้ ปัจจ ุบันนิยมใช้จอภาพ
2 ประเภท คือ จอภาพชนิดหลอดภาพ
รังสี CRT และจอภาพแบบที่ใช้
หลอดภาพ LCD (LCD Monitor)
ฮาร์ดแวร์
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
2
2.2
เครือ่ งพิมพ์ (Printer)
เป็ นอ ุปกรณ์สาหรับใช้พิมพ์ขอ้ มูล
หรือผลลัพธ์ออกทางแผ่นกระดาษ
ซึ่งมี 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เลเซอร์
(Laser) อิงค์เจ็ท (Inkjet) และ
หัวเข็ม (Dot-Matrix)
ฮาร์ดแวร์
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
2
2.3
ลาโพง (Speaker)
เป็นอ ุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ใน
รูปแบบของเสียง ซึ่งเชื่อมต่อกับ
อ ุปกรณ์กาเนิดเสียงหรือ Sound
Card
ฮาร์ดแวร์
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
3
3.1
ส่วนประมวลผล (Process Units)
ทาหน้าที่ในการคานวณ เปรียบเทียบ ข้อมูลและช ุดคาสัง่ ที่
ได้รบั มาจากส่วนที่รบั ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จากหน่วยนี้จะถูก
ส่งไปยังส่วนแสดงผล หน่วยประมวลผลรูจ้ กั กันโดยทัว่ ไปที่ชื่อ
ซีพีย ู (CPU) ซีพียทู ี่เป็นที่รจ้ ู กั และใช้กนั อย่างแพร่หลาย
ได้แก่ อินเทล (intel) เอเอ็มดี (AMD) เพาวเวอร์พีซี
ฮาร์ดแวร์
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
3
3.2
หน่วยควบค ุม (Control Units)
เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ในการ
ควบค ุมหน่วยประมวลผลต่างๆ ที่ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ รวม
ไปถึงโปรแกรมต่างๆ ที่จะเข้าไปทางานในหน่วยประมวลผล
กลาง
ฮาร์ดแวร์
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
3
3.3
หน่วยคานวณเปรียบเทียบ (Arithmetic & Logic Unit)
เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางทาหน้าที่ในการ
คานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การ
หาร และการเปรียบเทียบทางตรรกะ เช่น มากกว่า น้อยกว่า
เท่ากับ
ฮาร์ดแวร์
4
หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่จดั เก็บข้อมูลหรือ
คาสัง่ ทัง้ ก่อนและหลังการประมวลผล ประเภทของ
หน่วยความจาหลัก ได้แก่
ฮาร์ดแวร์
4
หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
ROM (Read Only Memory)
1
ใช้บนั ทึกคาสัง่ ไว้อย่างถาวรได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขได้
2
RAM (Random Access Memory)
ใช้บนั ทึกข้อมูล และคาสัง่ ขณะเราทางาน สามารถอ่านและ
เขียนข้อมูลได้ แต่ขอ้ มูลเหล่านี้จะหายไป เมื่อมีการรับข้อมูลใหม่
หรือปิ ดเครือ่ ง ถ้ามี RAM มากก็จะทาให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางานได้เร็ว
ปัจจ ุบันคอมพิวเตอร์ควรมีหน่วยความจา 512 เมกกะไบต์
3
CACHE
เป็ นหน่วยความจาที่ใช้บนั ทึกเก็บข้อมูลชัว่ คราว ก่อนส่งให้เครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ใช้ และช่วยให้คอมพิวเตอร์ทางานได้เร็ว
ฮาร์ดแวร์
4
หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
ความจ ุข้อมูลในหน่วยความจา หน่วยวัดความจุของข้อมูลในระบบ
คอมพิวเตอร์เรียกตามลักษณะการเก็บข้อมูล โดยจะมีหน่วยตามขนาดของ
เลขฐานสอง (มีเฉพาะเลข กับ 0 และ 1 เท่านัน้ ) กล่าวคือเลขฐานสอง
1 หลัก จะมีคา่ เป็ น 1 บิต (Bit) และนาเลขฐานสองมาเรียงกัน 8 หลัก
(8 บิต) จะเรียกว่าเป็ นข้อมูลขนาด 1 ไบต์ (Byte) โดยที่
1024 Byte = 1 Kilobyte (KB)
1024 Kilobyte = 1 Megabyte (MB)
1024 Megabyte = 1 Gigabyte (GB)
1024 Gigabyte = 1 Terabyte (TB)
ฮาร์ดแวร์
5
หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
ทาหน้าที่ในการจัดเก็บบันทึกข้อมูลหรือผลลัพธ์สาหรับ
นากลับมาใช้หรือปรับแก้ได้ตามต้องการในภายหลัง
ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ได้แก่
หน่วยความจาหลัก (Main Memory) แผ่นดิสก์เก็ต
ซีดีรอม เป็นต้น
ฮาร์ดแวร์
5
หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
ประเภทใช้แถบแม่เหล็ก
ประเภทที่ใช้แสง
(Megnetic)
(Optical)
Diskette, Hard Disk
CD, DVD
จะใช้สารแม่เหล็กเคลือบบนวัสด ุ เช่น
จะใช้แสงฉายลงไปบนวัสด ุ ทาให้มี
พลาสติกหรือโลหะทาให้มีค ุณสมบัติในการ ค ุณสมบัติในการบันทึกข้อมูลได้ นิยมเก็บ
ข้อมูลในปริมาณมากๆ เพื่อใช้ในการ
บันทึกข้อมูลได้
แจกจ่ายหรือขาย เช่น
แผ่นหนัง หรือใช้ในการสารองข้อมูล
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง ช ุดคาสัง่ หรือโปรแกรมที่ใช้
สัง่ งานให้คอมพิวเตอร์ทางาน หรืออีกความหมาย
หนึ่ง ซอฟต์แวร์ หมายถึงรวมถึง โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ท ุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์
ทางานได้
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1
ซอฟต์แวร์ระบบ (SYSTEM SOFTWARE)
คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษทั ผูผ้ ลิตสร้างขี้นมาเพื่อใช้จดั การระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถดาเนินงานพื้นฐานต่างๆ ได้ เช่น รับข้อมูล
จากแป้นพิมพ์แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นาข้อมูลไปแสดงผล
บนจอภาพหรือนาออกไปยังเครือ่ งพิมพ์ จัดการในระบบแฟ้มข้อมูลบน
หน่วยความจารอง
2
ซอฟต์แวร์ประย ุกต์ (APPLICATION SOFTWARE)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กบั งานด้านต่างๆ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ ที่
สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบนั มีผพ
ู้ ฒ
ั นาซอฟต์แวร์ออกจาหน่าย
มาก การประย ุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เช่น
นักวิเคราะห์ระบบใช้โปรแกรมตารางทาการคานวณยอดขาย นักออกแบบ
กราฟิกใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ตกแต่งภาพ เป็ นต้น
ซอฟต์แวร์
1
ซอฟต์แวร์ระบบ (SYSTEM SOFTWARE)
ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งหน้าที่การทางานได้ดงั นี้
1.1
ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System)
เรียกย่อๆ ว่า OS ซึ่งทาหน้าที่ในการบริหารและจัดการทรัพยากร
ในระบบคอมพิวเตอร์ให้กบั ผูใ้ ช้ เช่น ระบบปฏิบตั ิการ Window Unix
Mac OS ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทางานตลอดเวลาที่เราเปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์
1.2
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs)
เป็นโปรแกรมที่ช่วยบริหารจัดการคอมพิวเตอร์ให้ทางานอย่างราบรืน่
เช่น โปรแกรมตรวจจับไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์
1.1
ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System)
ระบบปฏิบตั ิการของบริษทั Microsoft
MS-DOS
- จัดการแบ่ งหน่ วยความจาสาหรับระบบและผู้ใช้ งาน
พร้ อมทั้งจัดการเกีย่ วกับแฟ้มข้ อมูล
- จัดการติดต่ ออุปกรณ์ รับและแสดงผลข้ อมูล
Microsoft Windows XP
ซอฟต์แวร์
ระบบปฏิบตั ิการของบริษทั Microsoft
Windows Vista
Windows 7
กราฟิกสวย
ดีกว่า vista เทียบเคียง apple
ซอฟต์แวร์
ระบบปฏิบตั ิการ Linux
ใช้ command line
ใช้ GUI
งานคานวณด้านวิทยาศาสตร์ ใช้ในดารเรียนการสอนเพื่อพัฒนาโปรแกรม
ซอฟต์แวร์
ระบบปฏิบตั ิการของบริษทั Apple
Mac OS X
ซอฟต์แวร์
ระบบปฏิบตั ิการสาหรับคอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก
Symbian OS
nokia/sony E
Window Mobile
HTC HD2
Android
IOS
Linux
ซอฟต์แวร์
1.2
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs)
โปรแกรมจัดการดิสก์
ประเภทการจัดการแฟ้มข้อมูล
- การคัดลอก เปลีย่ นชื่อ
แบ่ งพาติชัน การ format
ประเภทลบทิ้งโปรแกรม
- Disk Cleanup
Disk Defragmenter
โปรแกรม
อรรถประโยชน์
โปรแกรมบีบอัดแฟ้ม
- Add/Remove
โปรแกรม
โปรแกรมรักษาหน้าจอ
โปรแกรมป้องกันไวรัส
ซอฟต์แวร์
2
ซอฟต์แวร์ประย ุกต์ (APPLICATION SOFTWARE)
2.1
ซอฟต์แวร์ประย ุกต์พ้ ืนฐาน
2.1.1 ซอฟต์แวร์ประมวลคา (Word processor software)
ใช้ในการพิมพ์เอกสาร เช่น จดบันทึก จดหมาย ค่มู ือ รายงาน แผ่นพับ
เช่น Microsoft Word, Corel WordPerfect, Lotus Word Pro และ
OpenOffice.org Writer
ซอฟต์แวร์
2.1.2 ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet software)
ซอฟต์แวร์ตารางที่ช่วยในการคิดคานวณ วิเคราะห์ขอ้ มูล และสร้าง
แผนภ ูมิ เช่น Microsoft Excel, Lotus 1-2-3 และ OpenOffice.org CalC
ซอฟต์แวร์
2.1.3 ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation software)
ซอฟต์แวร์ใช้ในการนาเสนอ เพื่อให้งานมีความน่าสนใจและมีความเป็นมือ
อาชีพ เช่น Microsoft PowerPoint, Corel Presentation, Lotus
Freelance Graphics และ OpenOffice.org Impress
ซอฟต์แวร์
2.1.4 ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล (Database management software)
ซอฟต์แวร์ใช้ในการเก็บข้อมูล จัดการข้อมูล ทาฐานข้อมูล เช่น
Microsoft Access, Corel Paradox, Lotus Approach และ
OpenOffice.org Base
ซอฟต์แวร์
2.1.5 ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (Data communication software)
ซอฟต์แวร์สื่อสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น
อินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้บริการอื่นๆ ได้ เช่น ส่ง e-mail ใช้โอน
แฟ้มข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร
ซอฟต์แวร์
2.2
ซอฟต์แวร์ประย ุกต์ที่พฒ
ั นาขึ้นใช้งานโดยเฉพาะ
2.2.1 ซอฟต์แวร์ออกแบบสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการจัดหน้าเอกสารและการพิมพ์ ซึ่งประกอบไป
ด้วยข้อความ กราฟิก รปู ภาพ เช่น Adobe InDesign , PageStream,
RagTime, Microsoft Publisher, Apple Page และCorelDraw
ซอฟต์แวร์
2.2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการภาพกราฟิก (Graphic editing)
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับจัดการภาพกราฟิก ซึ่งเป็นการนาภาพมาตกแต่ง
โดยใช้คอมพิวเตอร์ ที่ใช้สาหรับการจัดหน้าเอกสารและการพิมพ์ ซึ่งประกอบไป
ด้วยข้อความ กราฟิก ร ูปภาพ เช่น Adobe Photoshop, GIMP
ซอฟต์แวร์
2.2.3 CAI (Computer-Assisted Instruction)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เกี่ยวกับการศึกษาในการเพิ่มประสิทธิภาพการสอน
และการรับรข้ ู องผูเ้ รียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวนาเสนอเนื้อหา และกิจกรรม
ของการเรียน เช่น โปรแกรม Authorware, Toolbook, Cai ez Tools,
Photoshop, Movie Maker และ Sound Editor
ซอฟต์แวร์
2.2.4 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (Computer-Aided Design: CAD)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เกี่ยวกับงานวิศวกรรม ออกแบบ และสถาปัตยกรรม ซึ่ง
นามาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์แบบต่างๆ ได้แก่ AutoCAD,
SolidWorks, Pro/ENGINEER, CATIA
ซอฟต์แวร์
2.2.5 Web Page Authoring
เป็นเว็บที่ช่วยในการสร้างหน้าเว็บ (Web Page) ซึ่งจะอานวยความ
สะดวกในการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ ได้แก่ Adobe Dreamweaver,
Arachnophilia, Microsoft FrontPage, SME Web, Cool
Page,HomeSite, NetObject Fusion, Coffee Cup, Compozer