บทที่ 10 การวิเคราะห์การลงทุน การวิเคราะห์การลงทุน (Capital investment analysis) หรื อ งบลงทุน (Capital budgeting) หมายถึง กระบวนการวางแผนและจัดสรรเงินลงทุน ใน โครงการต่างๆ ของธุรกิจ.

Download Report

Transcript บทที่ 10 การวิเคราะห์การลงทุน การวิเคราะห์การลงทุน (Capital investment analysis) หรื อ งบลงทุน (Capital budgeting) หมายถึง กระบวนการวางแผนและจัดสรรเงินลงทุน ใน โครงการต่างๆ ของธุรกิจ.

บทที่ 10
การวิเคราะห์การลงทุน
การวิเคราะห์การลงทุน (Capital investment
analysis) หรื อ งบลงทุน (Capital budgeting)
หมายถึง กระบวนการวางแผนและจัดสรรเงินลงทุน ใน
โครงการต่างๆ ของธุรกิจ
ความสาคัญของงบลงทุน
1
2
3
เป็ นการวางแผนการใช้จ่ายในการซื้อสิ นทรัพย์ถาวร (Fixed assets)
ของธุรกิจ
เป็ นกระบวนการวิเคราะห์โครงการ และการตัดสิ นใจว่าสิ นทรัพย์
ถาวรนั้นจะรวมอยูใ่ นงบดุลหรื อไม่
เป็ นวิธีการหรื อกระบวนการวิเคราะห์โครงการ
ลักษณะของโครงการ
จะแบ่งออกเป็ น 2 ประการ ดังนี้
1 โครงการอิสระ (Independent project)
2 โครงการที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutually exclusive
project)
วิธีประเมินโครงการลงทุน
1
2
แบบที่ไม่คานึงถึงมูลค่าปัจจุบนั (Not use present values) มี 2
วิธี คือ
1.1 วิธีอตั ราผลตอบแทน ถัว่ เฉลี่ย (Average rate of return
(ARR) )
1.2 วิธีเงินสดคืนทุน (Cash payback) หรื อระยะเวลาคืนทุน
แบบที่คานึงถึงมูลค่าปัจจุบนั (Use present values)มี 2 วิธี คือ
2.1 วิธีมูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ (Net present value (NPV) )
2.2 วิธีอตั ราผลตอบแทนคิดลด (Internal rate o return (IRR) )
การนาวิธีต่างไปใช้ในทางปฏิบตั ิจริ งของธุรกิจ
กระบวนการประเมินค่างบประมาณการลงทุน
ขั้นตอนการวิเคราะห์การลงทุน
1
2
3
4
5
กาหนดโครงการลงทุนต่าง ๆ
ประเมินค่าโครงการลงทุน
จัดทางบประมาณการลงทุน
ดาเนินการตามโครงการที่เลือก
การติดตามผลของโครงการ
การดาเนินธุรกิจรายจ่ายของธุรกิจ
สามารถแบ่งได้เป็ น 2
ประเภท คือ
 รายจ่ายลงทุน หมายถึง รายจ่ายในการเปลี่ยนเครื่ องจักร และ
อุปกรณ์ การขยายโรงงาน
 รายจ่ายดาเนิ นงาน หมายถึง รายจ่ายซื้ อวัตถุดิบ ค่าแรงงาน หรื อซื้ อ
สิ นค้าสาเร็ จรู ป ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ การ
ปัจจัยการลงทุน
1
2
3
4
ความสามารถในการจัดหาเงินลงทุน
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงการลงทุนต่าง ๆ
แนวทางพื้นฐานของกิจการในการตัดสิ นใจลงทุน
ความเสี่ ยงของแต่ละโครงการลงทุน
เทคนิคในการวิเคราะห์เพื่อการตัดสิ นใจลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนเพือ
่ การ
ตัดสิ นใจในการลงทุนมีอยูด่ ว้ ยกันหลายวิธีดงั นี้
 งวดระยะเวลาคืนทุน (Payback period = PP)
 อัตราตอบแทนทางบัญชี (Accounting rate of return = ARR)
 มูลค่าปั จจุบน
ั สุ ทธิ (Net present value = NPV)
 อัตราผลตอบแทนจากโครงการลงทุน (Internal rate of return=
IRR)
 ดัชนี ความสามารถในการทากาไร (Profitability index = PI)
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย
สูตรคานวณการหาอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยสรุ ปได้ดงั นี้
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย = กาไรสุ ทธิถวั่ เฉลี่ย
เงินลงทุนเฉลี่ย
เงินลงทุนเฉลี่ย
= (เงินลงทุนเริ่ มแรก+มูลค่าซากที่เหลือ)
2
งวดระยะเวลาคืนทุน
สู ตรการคานวณงวดระยะเวลาคืนทุน ได้ ดงั นี้
งวดระยะเวลาคืนทุน =
เงินสดที่ประหยัดได้ต่อปี
เงินลงทุนครั้งแรก
กระแส
งวดระยะเวลาคืนทุน
ตัวอย่ างที่ 1
สมมติวา่ กิจการแห่งหนึ่งมีขอ้ มูลดังนี้ :
เงินลงทุนครั้งแรก
12,000
กระแสเงินสดที่ประหยัดได้ต่อปี 4,000
ดังนั้น งวดระยเวลาคืนทุน = 12,000
4,000
= 3 ปี
งวดระยะเวลาคืนทุน
ตัวอย่างที่ 2
จงพิจารณาโครงการลงทุน 2 โครงการ ซึ่งมีกระแสเงินสดรับสุ ทธิ
ไม่สม่าเสมอกันในแต่ละปี โดยโครงการลงทุนทั้ง 2 โครงการ
ใช้เงินลงทุนเริ่ มแรกเท่ากันที่ 1,000,000 บาท
ปี
โครงการ A
โครงการ B
1
100,000
500,000
2
200,000
400,000
งวดระยะเวลาคืนทุน
ปี
3
300,000
4
,000
5
6
-
โครงการ A
โครงการ B
300,000
400,000
500,000
600,000
100
อัตราผลตอบแทนทางบัญชี
อัตราผลตอบแทนทางบัญชี (ARR) หรื อบางครั้งก็เรี ยกว่า อัตรา
ผลตอบแทนเฉลี่ย
กฎการตัดสิ นใจ : ตามวิธี ARR กิจการควรเลือกลงทุนในโครงการที่
ให้ค่า ARR สูงที่สุด
สูตรคานวณอัตราผลตอบแทนทางบัญชี
ARR = กาไรสุ ทธิ
เงินลงทุนเริ่ มแรก
อัตราผลตอบแทนทางบัญชี
ตัวอย่าง
จากข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการหนึ่ง
เงินลงทุนเริ่ มแรก
8,500
อายุโครงการ
10
เงินสดรับสุ ทธิต่อปี
1,000
ค่าเสื่ อมราคา (แบบเส้นตรง) 400
บาท
ปี
บาท
บาท
อัตราผลตอบแทนทางบัญชี
ดังนั้น
ARR =
กาไรสุ ทธิ
เงินลงทุนเริ่ มแรก
= 1,000 - 400
=
8,500
7.06 %
มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ
มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ (NPV) คือ ส่ วนเกินของมูลค่าปัจจุบนั (Present
Value) ในกระแสเงินสดสุ ทธิกบั เงินลงทุนเริ่ มแรก ดังนั้นถ้า
กาหนดให้
NPV = มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ
PV = มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสุ ทธิตลอดอายุโครง
การลงทุน
I
= เงินลงทุนเริ่ มแรก
สูตร NPV = PV - I
มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ
กฎการตัดสิ นใจ : ถ้า NPV มีค่าเป็ นบวก กิจการก็ควรที่จะยอมรับ
การลงทุนในโครงการนั้น แต่ถา้ NPV มีค่าติดลบกิจการก็ควรจะ
ปฏิเสธการลงทุน
ตัวอย่ างที่ 1
จากข้อมูลต่อไปนี้ จงวิเคราะห์หามูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ
เงินลงทุนเริ่ มแรก
12,950
บาท
อายุโครงการ
10
ปี
กระแสเงินสดรับต่อปี
3,000
บาท
มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ
ต้นทุนเงินทุน
12 %
มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุ ทธิ (PV) :
3,000 บาท x PV ของเงินงวด 1 บาทระยะเวลา 10 ปี
คิดลด 12% (3,000 x 9.2)
=
16,950
บาท
เงินลงทุนเริ่ มแรก (I)
= 12,950
บาท
มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ (NPV)
=
4,000
บาท
จากการคานวณ NPV มีค่าเป็ นบวก ดังนั้นกิจการจึงควรตัดสิ นใจ
ผลตอบแทนจากโครงการลงทุน
วิธี IRR คือ อัตราผลตอบแทนของโครงการลงทุน ที่ทาให้ PV ของ
กระแสเงินสดรับสุ ทธิมีค่าเท่ากับเงินลงทุน(I) หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ
NPV มีค่าเท่ากับ 0
กฎการตัดสิ นใจ : ควรยอมรับโครงการลงทุน ถ้า IRR มีค่าเกินกว่า
ต้นทุนของเงินทุน (Cost of capital)
ผลตอบแทนจากโครงการลงทุน
จากข้อมูลจากตัวอย่างที่ 1 ในมูลค่าปัจจุบนั (กรณี ที่มีเงินสดรับ
สุ ทธิเท่ากันทุกปี ) ณ จุด IRR มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ (NPV) มีค่า
เท่ากับ 0 หรื อเงินลงทุน (I) = มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดรับ
สุ ทธิ (PV) ดังนั้นจากข้อมูลในตัวอย่างที่ 1
12,950 บาท = 3,000 บาท x PV Factor
PV Factor = 12,950
= 4.317
3,000
ผลตอบแทนจากโครงการลงทุน
จากการเปิ ดตารางที่ 2 พบว่าค่า PV Factor จะอยูร่ ะหว่างอัตรา
ผลตอบแทน 18 % และ 20 % ในงวดระยะเวลา 10 ปี
ดังนั้นเราสามารถใช้วิธีการเปรี ยบเทียบเพื่อคานวณหาค่า IRR ได้
ดังต่อไปนี้
PV Factor
18 %
4.494
4.949
IRR
4.317
20 %
-
4.192
---
ผลตอบแทนจากโครงการลงทุน
ดังนั้น IRR = 18% + 0.177 (20 % -18 %)
0.302
= 18 % + 0.586 (2 %)
= 18 % + 1.17 %
= 19.17 %
ผลจากการคานวณ IRR = 19.17 % กิจการจึงควรที่จะ
ตัดสิ นใจลงทุนในโครงการลงทุนดังกล่าว เนื่องจากค่า IRR มากกว่า
ต้นทุนของเงินลงทุน (12 %)
ดัชนีความสามารถในการทากาไร
PI คือ อัตราส่ วนระหว่างมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุ ทธิ
งวดอายุโครงการ (PV) กับเงินลงทุนเริ่ มแรก ดังนั้นสูตรในการ
คานวณ
PI = PV
I
ดัชนีความสามารถในการทากาไร
จากข้อมูลในตัวอย่างที่ 1 ดัชนีความสามารถในการทากาไรสามารถ
คานวณได้เท่ากับ
PI = PV
I
= 16,950
12,950
= 1.31
ดัชนีความสามารถในการทากาไร
ดังนั้น กิจการควรตัดสิ นใจลงทุนในโครงการดังกล่าวเนื่องจากมีค่า PI
มากกว่า 1