การเยียวยาผู้เสียหายจากการรับบริการทางสาธารณสุขตามร่าง

Download Report

Transcript การเยียวยาผู้เสียหายจากการรับบริการทางสาธารณสุขตามร่าง

การเยียวยาผู้เสี ยหายจากการรับบริการทางสาธารณสุ ข
ตามร่ างพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้เสี ยหายจากการรับ
บริการทางสาธารณสุ ข
แผนผังการนาเสนอ
บทนำ
• กำรเยียวยำควำมเสียหำยให้ แก่ผ้ เู สียหำยฯในปั จจุบนั
• เหตุที่ต้องมีร่ำงพระรำชบัญญัตคิ ้ มุ ครองผู้เสียหำยจำกกำรรับบริ กำร
สำธำรณสุข
• ควำมขัดแย้ งที่เกิดขึ ้น
• จุดประสงค์ในกำรศึกษำ
ตอนที่หนึ่ง
• เนื ้อหำในร่ำงพระรำชบัญญัตคิ ้ มุ ครองผู้เสียหำยจำกกำรรับบริ กำร
สำธำรณสุข
• กำรเยียวยำควำมเสียหำยของผู้รับบริกำรทำงสำธำรณสุขโดยสำนักงำน
กำรเยียวยำควำมเสียหำยในประเทศฝรั่งเศส
ตอนที่สอง
• ข้ อบกพร่องของร่ำงพระรำชบัญญัตคิ ้ มุ ครองผู้เสียหำยจำกกำรรับบริกำร
สำธำรณสุข และสิง่ ที่ผ้ ใู ห้ บริกำรไม่สำมำรถยอมรับได้ ในร่ำง
พระรำชบัญญัตดิ งั กล่ำว
บทนา
กำรเยียวยำควำมเสียหำยให้ แก่ผ้ เู สียหำยจำกกำรรับบริกำรสำธำรณสุข
• เงินช่วยเหลือเบื ้องต้ น ตำมพระรำชบัญญัตหิ ลักประกันสุขภำพแห่งชำติ
มำตรำ 41
“ให้ คณะกรรมกำรกันเงินจำนวนไม่เกินร้ อยละหนึง่ ของเงินที่จะจ่ำย
ให้ หน่วยบริกำรไว้ เป็ นเงินช่วยเหลือเบื ้องต้ นให้ แก่ผ้ รู ับบริกำร ในกรณีท่ ี
ผู้รับบริการได้ รับความเสียหายที่เกิดขึน้ จากการรักษาพยาบาล
ของหน่ วยบริการ โดยหาผู้กระทาผิดมิได้ หรือหาผู้กระทาผิดได้
แต่ ยังไม่ ได้ รับค่ าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทังนี
้ ้ ตำม
หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขที่คณะกรรมกำรกำหนด”
หลักเกณฑ์กำรจ่ำยเงินค่ำช่วยเหลือเบื ้องต้ น
• รวมถึงควำมเสียหำยที่เกิดจำกเหตุสดุ วิสยั ในระบบกำรรักษำพยำบำล
ด้ วย
• ต้ องไม่เป็ นควำมเสียหำยที่ดำเนินไปตำมพยำธิสภำพของโรค หรื อเหตุ
แทรกซ้ อนของโรคที่เป็ นไปตำมปกติธรรมดำของโรคนันอยู
้ แ่ ล้ ว
• ต้ องยื่นคำร้ องภำยในหนึง่ ปี นับแต่วนั ที่ทรำบควำมเสียหำย
• ต้ องพิจำรณำให้ เสร็จภำยในสำมสิบวัน นับแต่วนั ที่ได้ รับกำรร้ องขอ
• ถ้ ำหำกไม่พอใจในคำวินิจฉัย สำมำรถอุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมกำรกำร
ควบคุมคุณภำพ และมำตรฐำนบริกำรสำธำรณสุขได้ และคำวินิจฉัย
ของคณะกรรมกำรฯดังกล่ำวถือเป็ นที่สดุ
• กำรฟ้องคดีตอ่ ศำล
- ในอดีต : “ผู้ใดกล่ำวอ้ ำง ผู้นนน
ั ้ ำสืบ”
- ต้ องพิสจู น์วำ่ มีควำมผิด
- ต้ องพิสจู น์วำ่ มีควำมเสียหำย
- ต้ องพิสจู น์วำ่ มีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมผิด กับควำมเสียหำยที่
เกิดขึ ้น
- ในปั จจุบนั : พระรำชบัญญัติวิธีพิจำรณำคดีผ้ บู ริโภค
“ผู้ให้ บริกำร (จำเลย) ต้ องพิสจู น์วำ่ ตนไม่มีควำมผิด”
ทำไมต้ องมีร่ำงพระรำชบัญญัติค้ มุ ครองผู้เสียหำยฯ
ฝ่ ำยผู้ป่วย (ผู้เสียหำย)
• ต้ องกำรกำรเยียวยำที่รวดเร็ว และเพียงพอ
ฝ่ ำยผู้ประกอบวิชำชีพ (คุณหมอ)
• ไม่อยำกขึ ้นศำล (จึงต้ องกำรให้ มีกำรเยียวยำผู้เสียหำยฯ โดยไม่ต้อง
ผ่ำนระบบศำล)
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
จุดประสงค์ในการศึกษา
• วิเครำะห์เนื ้อหำของร่ำงพระรำชบัญญัติค้ มุ ครองผู้เสียหำยจำกกำรรับ
บริกำรสำธำรณสุข และวิเครำะห์ข้อบกพร่องของร่ำงพระรำชบัญญัติ
ดังกล่ำว อันเป็ นที่มำของควำมขัดแย้ ง
• ศึกษำกำรเยียวยำควำมเสียหำยจำกกำรรับบริกำรทำงสำธำรณสุขใน
ต่ำงประเทศ (ประเทศฝรั่งเศส) เพื่อหำทำงแก้ ไขข้ อบกพร่องของร่ ำง
พระรำชบัญญัตดิ งั กล่ำว
ตอนที่หนึ่ง
เนื ้อหำในร่ำงพระรำชบัญญัติค้ มุ ครองผู้เสียหำยจำกกำรรับบริ กำร
สำธำรณสุข
• สิง่ ที่ตำมมำหลังจำกประกำศใช้ พระรำชบัญญัติฯ
1.เกิด “กองทุนสร้ ำงเสริมควำมสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริกำรสำธำรณสุข”
2.เกิดกำรโอนภำระกิจเกี่ยวกับกำรจ่ำยเงินช่วยเหลือเบื ้องต้ นในมำตรำ
41 แห่งพระรำชบัญญัติหลักประกันสุขภำพแห่งชำติ
•หลักของกำรเยียวยำควำมเสียหำย
มำตรำ 5
“ ผู้เสียหำยมีสทิ ธิได้ รับเงินช่วยเหลือเบื ้องต้ นและเงินชดเชยจำกกองทุน
ตำมพระรำชบัญญัตินี ้ โดยไม่ต้องพิสจู น์ควำมรับผิด”
• ควำมเสียหำยที่ขอรับกำรเยียวยำไม่ได้ (มำตรำ 6)
1.ควำมเสียหำยที่เกิดขึ ้นตำมปกติธรรมดำของโรคนัน้ แม้ มีกำรให้ บริกำร
สำธำรณสุขตำมมำตรฐำนวิชำชีพ
2.ควำมเสียหำยซึง่ หลีกเลี่ยงมิได้ จำกกำรให้ บริกำรสำธำรณสุขตำม
มำตรฐำนวิชำชีพ
3.ควำมเสียหำยที่เมื ้อสิ ้นสุดกระบวนกำรให้ บริกำรสำธำรณสุขแล้ ว ไม่มี
ผลกระทบต่อกำรดำรงชีวิตตำมปกติ
เอาเงินมาจากไหน ?
• เงินที่สถำนพยำบำลจ่ำยสมทบ (กำหนดให้ สถำนพยำบำล “ต้ องจ่ำย”
เงินเข้ ำกองทุน ถ้ ำหำกไม่จ่ำย จะต้ องเสียดอกเบี ้ยร้ อยละสองต่อเดือน)
• เงินที่รัฐบำลอุดหนุน (ภำษี )
• เงินบริจำคอื่นๆ
จะร้องเรี ยนขอรับค่าชดเชยได้อย่างไร ?
ผู้เสียหำยต้ องยื่นคำขอรับเงินค่ำเสียหำยต่อสำนักงำน หรื อหน่วยงำน หรื อ
องค์กรที่สำนักงำนกำหนด ภำยในสำมปี นับแต่วนั ที่ร้ ูถึงควำมเสียหำย และ
รู้ตวั ผู้ให้ บริกำรสำธำรณสุขซึง่ ก่อให้ เกิดควำมเสียหำย แต่ทงนี
ั ้ ้ต้ องไม่เกิน
สิบปี นังแต่วนั ที่ร้ ูถึงควำมเสียหำย
ผลต่ออายุความแพ่ง ?
กำรยื่นคำร้ องเพื่อขอรับค่ำเสียหำยตำมพระรำชบัญญัตินี ้ จะทำให้ อำยุ
ควำมแพ่งในมูลละเมิด สะดุดหยุดอยู่ จนกว่ำกำรพิจำรณำคำขอเงินชดเชย
จะถึงที่สดุ หรื อมีกำรยุติกำรพิจำรณำ
หมำยควำมว่ำ ?
นำย ก. ได้ รับควำมเสียหำยวันที่ 1 เมษำยน ยื่นคำร้ องต่อสำนักงำนฯ วันที่
1 พฤษภำคม กำรพิจำรณำของสำนักงำนฯ เสร็จสิ ้นวันที่ 1 มิถนุ ำยน ถือ
ว่ำ อำยุควำมเพิ่งผ่ำนมำ 1 เดือน เพรำะช่วงเวลำที่ยื่นคำร้ อง จนถึง
พิจำรณำเสร็จ ไม่นบั เป็ นอำยุควำม
ใครเป็ นผูพ้ ิจารณาคาร้องบ้าง
1. คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำให้ เงินช่วยเหลือเบื ้องต้ น ประกอบด้ วย...
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนนิตศิ ำสตร์
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรคุ้มครองผู้บริโภค
• ผู้แทนสถำนพยำบำล
• ผู้แทนผู้รับบริกำรสำธำรณสุข
2. คณะอนุกรรมกำรประเมินเงินชดเชย ประกอบด้ วย...
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนนิตศิ ำสตร์
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนสังคมสงเครำะห์
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรแพทย์ และกำรสำธำรณสุข
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรฟื น้ ฟูสมรรถภำพ
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรคุ้มครองผู้บริโภค
3. คณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์ ประกอบด้ วย...
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนนิตศิ ำสตร์
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนสังคมสงเครำะห์
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรฟื น้ ฟูสมรรถภำพ
• ผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนกำรคุ้มครองผู้บริโภค
• ผู้แทนสถำนพยำบำล
• ผู้เทนผู้รับบริกำรสำธำรณสุข
การพิจารณา
• คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำให้ เงินช่วยเหลือเบื ้องต้ น ต้ องเริ่มทำกำร
พิจำรณำภำยใน 7 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับคำขอ
• คณะอนุกรรมกำรฯ ต้ องพิจำรณำให้ เสร็จภำยใน 30 วัน นับแต่ได้ รับคำ
ขอ
• ถ้ ำหำกพิจำรณำไม่เสร็จ ขอขยำยเวลำได้ ไม่เกินสองครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน
15 วัน
• ถ้ ำหำกยังพิจำรณำไม่เสร็จอีก ให้ ถือว่ำ คณะอนุกรรมกำรฯวินจิ ฉัย
จ่ำยเงินช่วยเหลือเบื ้องต้ นให้ แก่ผ้ เู สียหำย
• ถ้ ำหำกคณะอนุกรรมกำรฯ วินิจฉัยไม่รับคำขอ คณะอนุกรรมกำรฯ ต้ อง
ส่งเรื่ องให้ คณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์ แล้ วแจ้ งให้ ผ้ ยู นื่ คำขอทรำบ
• คณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์ต้องวินิจฉัยให้ แล้ วเสร็จภำยใน 30 วัน
ขยำยเวลำได้ อีกไม่เกิน 60 วัน
• ขันตอนต่
้
อไป คณะอนุกรรมกำรฯ หรื อคณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์
ต้ องส่งคำขอให้ คณะอนุกรรมกำรประเมินเงินชดเชย ภำยใน 7 วัน นับ
แต่วนั ที่มีคำวินิจฉัย หรื อถือว่ำมี
• คณะอนุกรรมกำรประเมินเงินชดเชยต้ องพิจำรณำจ่ำยเงินชดเชยให้
เสร็จภำยใน 60 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับเรื่ อง ขยำยเวลำได้ อีกไม่เกินสอง
ครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน 15 วัน
“ ให้ คณะอนุกรรมกำรประเมินเงินชดเชยพิจำรณำจ่ำยเงินชดเชย...”
พิจำรณำแค่ชนเดี
ั ้ ยว ?
• ถ้ ำหำกผู้ยื่นคำขอไม่ยอมรับ หรื อเห็นว่ำเงินชดเชยไม่พอ ต้ องอุทธรณ์ตอ่
คณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์ภำยใน 30 วัน
• คณะกรรมกำรวินิจฉัยอุทธรณ์ต้องพิจำรณำให้ เสร็จภำยใน 30 วันนับ
แต่วนั ที่ได้ รับอุทธรณ์ ขยำยได้ ไม่เกิน 30 วัน
• ถ้ ำหำกผู้ยื่นคำขอตกลงรับเงินชดเชย ให้ จดั ทำสัญญำประนีประนอม
ยอมควำม
การเยียวยาผูเ้ สี ยหายโดยสานักงานการเยียวยาความ
เสี ยหายในสาธารณรัฐฝรั่งเศส
(เปรี ยบเทียบกับร่ำงพระรำชบัญญัติฯของไทย)
ผัดผักสี่สหำย VS ผัดผักรวมมิตร
กฎหมำยฝรั่งเศสกำหนดว่ำ....
• ผู้ประกอบวิชำชีพอิสระ สถำนพยำบำลรัฐ และเอกชน ต้ องทำประกัน
ควำมรับผิดทำงแพ่ง (เหมือนประกันรถยนต์)
• บริษัทรับประกันควำมรับผิดทำงแพ่ง ต้ องส่งเงินสมทบเข้ ำสำนักงำน
กำรเยียวยำควำมเสียหำย (L’Office Nationale
d’Indemnisation d’Accidents Médicaux
d’affection iatrogène et d’infection
nosocomiale (ONIAM))
ขณะที่ตำมร่ำงพระรำชบัญญัติฯของไทย...
• กองทุนฯเองทำหน้ ำที่เปรี ยบเสมือนบริษัทรับประกันควำมรับผิด และ
หน่วยงำนที่เยียวยำควำมเสียหำยแม้ ไม่มีควำมรับผิด ในตัวเอง
ดังนัน้ ไม่วำ่ จะมีควำมรับผิด หรื อไม่มี กองทุนฯก็จะจ่ำยเงินให้ แก่
ผู้เสียหำย (สะท้ อนออกมำเป็ นหลักใน มำตรำ 5)
สำนักงำนกำรเยียวยำควำมเสียหำยฯในฝรั่งเศส จะเยียวยำให้ ก็ต่อเมื่อ...
1. ควำมเสียหำยนัน้ “รุนแรงสำหัส” ตำมเกณฑ์ที่กฎหมำยกำหนด
“ภำษีของประชำชน...ต้ องให้ แก่ผ้ ทู ี่มีควำมจำเป็ นและต้ องกำรจริงๆ”
2. ควำมเสียหำยนัน้ ไม่ใช่ผลที่เป็ นไปตำมพยำธิสภำพของโรคนัน้
3. ต้ องเป็ นควำมเสียหำยที่เกิดจำกกำรปฏิบตั ิกำรป้องกันโรค วินิจฉัย
หรื อ รักษำ เท่ำนัน้ ไม่ใช่ควำมเสียหำยที่เกิดจำกกำรบริกำรจัดกำรใน
โรงพยำบำล
4. ควำมเสียหำยนัน้ “ปรำศจำกควำมรับผิด”
เกิดควำมเสียหำยขึ ้น...ทำอย่ำงไร ?
1. กำรแจ้ งข้ อมูลในเรื่ องของควำมเสียหำย
2. ร้ องเรี ยนต่อ คณะกรรมกำรกำรไกล่เกลี่ยและกำรเยียวยำควำม
เสียหำยประจำแคว้ น (Commission Régionale de
Conciliation et d’Indemnisation d’accidents
médicaux, d’affection iatrogène et d’infection
nosocomiale (CRCI))
“เป็ นด่ำนแรก เพรำะผู้เสียหำยไม่สำมำรถร้ องเรี ยนต่อสำนักงำน
เยียวยำควำมเสียหำยฯได้ โดยตรง”
ขันตอนกำรพิ
้
จำรณำของ CRCI
• ขันแรก
้
: พิจำรณำควำม “รุนแรงสำหัส”
• ขันที
้ ่สอง : พิจำรณำว่ำควำมเสียหำยดังกล่ำวเข้ ำตำมหลักเกณฑ์อื่นๆ
หรื อไม่
• ขันที
้ ่สำม : เรี ยกผู้เชี่ยวชำญมำกรองคำวินิจฉัย
ทังหมดกระบวนกำรนี
้
้ ต้ องไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วนั ที่รับคำร้ อง
กรณีแรก : วินิจฉัยแล้ วพบว่ำ ควำมเสียหำยที่เกิดขึ ้น เกิดจำก “ควำมผิด”
ของผู้ประกอบวิชำชีพ
• คณะกรรมกำรฯ จะส่งคำร้ องไปยังบริษัทรับประกันควำมรับผิดทำงแพ่ง
และบริษัทรับประกันควำมรับผิดทำงแพ่งจะพิจำรณำ และเสนอค่ำชดเชย
ให้ แก่ผ้ เู สียหำยภำยใน 4 เดือน ถ้ ำหำกผู้เสียหำยยอมรับ ต้ องจ่ำยเงิน
ภำยใน 1 เดือน และถือว่ำเป็ นกำรประนีประนอมยอมควำมกัน ฟ้องศำล
ไม่ได้
•ถ้ ำหำกบริษัทรับประกันฯ เห็นว่ำไม่มีควำมรับผิด บริษัทประกันอำจจะ
จ่ำยไปก่อน แล้ วฟ้องคดีตอ่ ศำลเรี ยกสำนักงำนฯมำเป็ นจำเลย หรื อเลือกที่
จะไม่จ่ำยก็ได้
ถ้ ำหำกบริษัทประกันฯ ไม่จ่ำย หรื อไม่เสนอ...
• ผู้เสียหำยสำมำรถฟ้องศำลได้ หรื อ
• เรี ยกให้ สำนักงำนกำรเยียวยำควำมเสียหำยจ่ำยแทน
ผล...บริษัทประกันฯจะโดนค่ำปรับ ร้ อยละสิบห้ ำของค่ำเสียหำย
ถ้ ำหำกบริษัทประกันฯเสนอค่ำชดเชยน้ อยไป....
ผู้เสียหำยฟ้องศำลได้ และถ้ ำหำกศำลตัดสินว่ำน้ อยไปจริงๆ บริ ษัทฯ
จะต้ องจ่ำยค่ำเสียหำยพร้ อมดอกเบี ้ย และค่ำปรับอีกร้ อยละสิบห้ ำของ
ค่ำเสียหำย
กรณีที่สอง : กรณีที่พิจำรณำแล้ วพบว่ำ ควำมเสียหำยนันเกิ
้ ดขึ ้นโดยไม่มี
ควำมรับผิด
• คณะกรรมกำรฯ จะส่งเรื่ องให้ สำนักงำนกำรเยียวยำควำมเสียหำยฯ
“ คำวินิจฉัยของคณะกรรมกำรฯ ไม่มีผลผูกพันสำนักงำนกำรเยียวยำควำม
เสียหำยฯ”
แสดงว่ำ...สำนักงำนกำรเยียวยำควำมเสียหำยฯ มีสทิ ธิพิจำรณำเป็ นด่ำนที่
สองว่ำจะจ่ำยหรื อไม่จ่ำย ขณะที่คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินชดเชย
“ต้ องจ่ำย”
•กำรเสนอค่ำชดเชย และกำรจ่ำยค่ำชดเชยอยูใ่ นเงื่อนไขของเวลำเหมือน
กรณีบริษัทรับประกันฯ
• ถ้ ำหำกสำนักงำนกำรเยียวยำควำมเสียหำยฯ ไม่เสนอค่ำชดเชย หรื อ
เสนอแล้ วไม่เป็ นที่น่ำพอใจ ผู้เสียหำยต้ องฟ้องศำล
ตอนที่สอง
ข้ อบกพร่องของร่ำงพระรำชบัญญัตินี ้ (สิ่งที่คณ
ุ หมอ “รับไม่ได้ ”)
1. กำรพิจำรณำที่ไม่รัดกุม (ให้ เงินง่ำยเกินไป)
• พิจำรณำโดยคนกลุม่ เดียว
• บทสันนิษฐำนควำมเป็ นผู้เสียหำย
“....หำกกำรพิจำรณำยังไม่แล้ วเสร็จภำยในกำหนดเวลำที่ขยำย
ดังกล่ำว ให้ ถือว่ าคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำให้ เงินช่วยเหลือเบื ้องต้ น
วินิจฉัยจ่ ายเงินช่ วยเหลือเบือ้ งต้ น และให้ จ่ำยเงินช่ำยเหลือ
เบื ้องต้ นให้ แก่ผ้ เู สียหำยหรื อทำยำท”
2. กำรเรี ยกค่ำชดเชยหลังกำรทำสัญญำประนีประนอมยอมควำม
• “...ในกรณีที่มีควำมเสียหำยปรำกฏขึ ้นภำยหลังกำรทำสัญญำ
ประนีประนอมยอมควำม...โดยผลของสำรที่สะสมอยูใ่ นร่ำงกำยของ
ผู้เสียหำย หรื อเป็ นกรณีที่ต้องใช้ เวลำในกำรแสดงอำกำร ให้ ผ้ เู สียหำยมี
สิทธิยื่นคำขอรับเงินชดเชยตำมพระรำชบัญญัตนิ ี ้ภำยในสำมปี ...”
หลักกฎหมำย ?
• “ผลของสัญญำประนีประนอมยอมควำมนัน้ ย่อมทำให้ กำรเรี ยกร้ องซึง่
แต่ละฝ่ ำยได้ ยอมสละนันระงั
้ บสิ ้นไป และทำให้ แต่ละฝ่ ำยได้ สทิ ธิตำมที่
แสดงในสัญญำนันว่
้ ำเป็ นของตน” (ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
มำตรำ 852)
3. จ่ำยเงินเข้ ำกองทุนฯแล้ ว อำจจะต้ องจ่ำยค่ำเสียหำยอีกรอบ ?
• “หำกศำลได้ มีคำพิพำกษำหรื อคำสัง่ ถึงที่สดุ ให้ ผ้ ใู ห้ บริกำรสำธำรณสุข
หรื อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้ องกับควำมเสียหำยชดใช้ คำ่ สินไหมทดแทนแก่
ผู้เสียหำย ให้ คณะอนุกรรมกำรประเมินเงินชดเชยพิจำรณำว่ำจะ
จ่ำยเงินจำกกองทุนเพื่อชำระค่ำสินไหมทดแทนตำมคำพิพำกษำ
หรือไม่ เพียงใด ทังนี
้ ้ ตำมระเบียบที่คณะกรรมกำรกำหนด”
• กองทุนไม่จ่ำย...แล้ วใครจ่ำย...?
4. ควำมเข้ ำใจที่แตกต่ำง
มำตรำ 45
“ ในกรณีที่ผ้ ใู ห้ บริกำรสำธำรณสุขถูกฟ้องเป็ นจำเลยในคดีอำญำฐำน
กระทำกำรโดยประมำทเกี่ยวเนื่องกับกำรให้ บริกำรสำธำรณสุข หำก
ศำลเห็นว่ำจำเลยกระทำผิด ให้ ศำลนำข้ อเท็จจริงต่ำงๆของจำเลย
เกี่ยวกับประวัติ พฤติกำรณ์แห่งคดี มำตรฐำนแห่งวิชำชีพ กำรบรรเทำ
ผลร้ ำยแห่งคดี กำรรู้สำนึกในควำมผิด กำรที่ได้ มีกำรทำสัญญำ
ประนีประนอมยอมควำม...กำรชดใช้ เยียวยำควำมเสียหำย และกำรที่
ผู้เสียหำยไม่ตดิ ใจให้ จำเลยได้ รับโทษ ตลอดจนเหตุผลอื่นอันสมควร มำ
พิจำรณำประกอบด้ วยในกำรนี ้ ศำลจะลงโทษน้ อยกว่ำที่กฎหมำย
กำหนดไว้ สำหรับควำมผิดนันเพี
้ ยงใดหรื อจะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ”
สปสช. (หน่วยงำนที่มีสว่ นร่วมในกำรจัดทำร่ำงพระรำชบัญญัติฯ)
“ ในกรณีที่ผ้ ใู ห้ บริกำรสำธำรณสุขถูกฟ้องเป็ นจำเลยในคดีอำญำฐำน
กระทำกำรโดยประมำทเกี่ยวเนื่องกับกำรให้ บริกำรสำธำรณสุข หำก
ศำลเห็นว่ำจำเลยกระทำผิด ให้ ศำลนำข้ อเท็จจริงต่ำงๆของจำเลย
เกี่ยวกับประวัติ พฤติกำรณ์แห่งคดี มำตรฐำนแห่งวิชำชีพ กำรบรรเทำ
ผลร้ ำยแห่งคดี กำรรู้สำนึกในควำมผิด กำรที่ได้ มีกำรทำสัญญำ
ประนีประนอมยอมควำม...กำรชดใช้ เยียวยำควำมเสียหำย และกำรที่
ผู้เสียหำยไม่ตดิ ใจให้ จำเลยได้ รับโทษ ตลอดจนเหตุผลอื่นอันสมควร มำ
พิจำรณำประกอบด้ วยในกำรนี ้ ศาลจะลงโทษน้ อยกว่ าที่กฎหมาย
กาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้ เพียงใดหรือจะไม่ ลงโทษเลยก็ได้ ”
แต่คณ
ุ หมอมองว่ำ....
“ ในกรณีที่ผ้ ใู ห้ บริกำรสำธำรณสุขถูกฟ้องเป็ นจำเลยในคดีอำญำฐำน
กระทำกำรโดยประมำทเกี่ยวเนื่องกับกำรให้ บริกำรสำธำรณสุข หำก
ศำลเห็นว่ำจำเลยกระทำผิด ให้ ศำลนำข้ อเท็จจริงต่ำงๆของจำเลย
เกี่ยวกับประวัติ พฤติกำรณ์แห่งคดี มำตรฐำนแห่งวิชำชีพ กำรบรรเทำ
ผลร้ ำยแห่งคดี กำรรู้สำนึกในควำมผิด การที่ได้ มีการทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความ...การชดใช้ เยียวยาความเสียหาย และ
การที่ผ้ ูเสียหายไม่ ตดิ ใจให้ จาเลยได้ รับโทษ ตลอดจนเหตุผลอื่น
อันสมควร มาพิจารณาประกอบด้ วยในการนี ้ ศำลจะลงโทษน้ อย
กว่ำที่กฎหมำยกำหนดไว้ สำหรับควำมผิดนันเพี
้ ยงใดหรื อจะไม่ลงโทษ
เลยก็ได้ ”
ทังที
้ ่ประมวลกฎหมำยอำญำก็บอกอยูแ่ ล้ วว่ำ...
มำตรำ 78
“เมื่อปรำกฏว่ำมีเหตุบรรเทำโทษ ไม่วำ่ จะได้ มีกำรเพิ่มหรื อกำรลดโทษ
ตำมบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมำยนี ้หรื อกฎหมำยอื่นแล้ วหรื อไม่ ถ้ ำ
ศำลเห็นสมควรจะลดโทษไม่เกินกึ่งหนึง่ ของโทษที่จะลงแก่ผ้ กู ระทำ
ควำมผิดนันก็
้ ได้
เหตุบรรเทำโทษนัน้ ได้ แก่ผ้ กู ระทำควำมผิดเป็ นผู้โฉดเขลำเบำ
ปั ญญำตกอยูใ่ นควำมทุกข์อย่ำงสำหัส มีคุณความดีมาแต่ ก่อน รู้สกึ
ควำมผิดและพยำยำมบรรเทำผลร้ ำยแห่งควำมผิดนัน้ ลุแก่โทษต่อเจ้ ำ
พนักงำนหรื อให้ ควำมรู้แก่ศำลอันเป็ นประโยชน์แก่กำรพิจำรณำ หรื อเหตุ
อื่นที่ศำลเห็นว่ำมีลกั ษณะทำนองเดียวกัน”