คลินิกไร้พุง - สำนักงาน สาธารณสุข จังหวัด ระยอง

Download Report

Transcript คลินิกไร้พุง - สำนักงาน สาธารณสุข จังหวัด ระยอง

คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจยั พฤติกรรมศำสตร์ประย ุกต์)
ศูนย์อนำมัยที่ 3 กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณส ุข
[email protected]
089 0227470
ณ ห้องประช ุมสำนักงำนสำธำรณส ุขจังหวัดระยอง วันที่ 15 พฤษภำคม 2556
เรือ่ งนี้เกี่ยวข้องกันอย่ำงไร
• Diet & Physical Activity clinic : DPAC
(คลินิกไร้พงุ )
• Fit for Life (DPAC plus)
• ศูนย์กำรปรึกษำพัฒนำพฤติกรรมส ุขภำพ
(Health Coaching Center)
กำรแก้ปัญหำโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พงุ )
มี 2 ระดับ
1. ระดับช ุมชน (Community approach) ใช้กบ
ั ประชำชนกลมุ่ ปกติ หรือ
กลมุ่ เสี่ยง เรียกว่ำ ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ (กรมอนำมัย)
 ช ุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กรมควบค ุมโรค
 หมู่บำ้ นจัดกำรส ุขภำพ (กรมสนับสน ุนบริกำรส ุขภำพ)
2. ระดับบ ุคคลหรือรำยบ ุคคล (Individual approach) ใช้กบ
ั ประชำชน
กลมุ่ เสี่ยงสูง หรือ กลมุ่ ป่วยที่ควบค ุมไม่ได้ เรียกว่ำ คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
ผลกำรเยีย่ ม พัฒนำ และประเมินผลกำรดำเนินงำน
คลินิกไร้พงุ (ปี พ.ศ.2555)
ประเภทของโรงพยำบำล ผลกำรเยีย่ มพัฒนำ ติดตำม และประเมินผลกำร
ดำเนินงำน
ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน
เยีย่ มเพื่อพัฒนำ
1. รพ.ท, รพ.ศ
-
5 แห่ง
2. รพ.ช
-
9 แห่ง
3. รพ.สต.
18 แห่ง
26 แห่ง
4. รพ.เอกชน
1 แห่ง
-
19 แห่ง
40 แห่ง
รวม
ปัญหำและอ ุปสรรค
1. ศักยภำพของผูใ้ ห้บริกำรในคลินิกไร้พงุ (กำรบูรณำ
กำรควำมรเ้ ู กี่ยวกับโรค กำรบริโภคอำหำร กำรใช้
แรงกำยที่เหมำะสมในแต่ละอำชีพ เทคนิคกำร
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
2. ควำมชัดเจนในขอบเขตกำรให้บริกำรของคลินิกไร้
พุงของโรงพยำบำลแต่ละระดับ
3. ระบบส่งต่อของผูม้ ำรับบริกำร
ข้อเสนอแนะ
1. กำหนดเป็นนโยบำยให้สถำนบริกำรท ุกแห่งจัดตัง้ และ
ขอให้ดำเนินกำรอย่ำงจริงจัง
2. กำรกำหนดบทบำทหน้ำที่ของกำรให้บริกำรชัดเจน
ระหว่ำงคลินิกไร้พงุ ของ รพ.แต่ละระดับ และระบบกำร
ส่งต่อด้วย(บอร์ด NCD กำหนดขอบเขตของกำร
ให้บริกำรและใช้ทงั้ เขต)
3. พัฒนำศักยภำพผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด สสอ. ใน
กำรประเมินคลินิกไร้พงุ
4. พัฒนำศักยภำพผูใ้ ห้บริกำรในคลินิกไร้พงุ
ประเด็น
หรือ สิ่งที่ผป้ ู ฏิบตั ิ ผูป้ ระเมินต้องรู้
เช้ำ
1. เกณฑ์กำรแบ่งกลมุ่ เสี่ยงต่ำงๆ และผูป้ ่ วยโรคเบำหวำน
และควำมดันโลหิตสูงที่ควบค ุมได้และที่ควบค ุมไม่ได้
2. กลมุ่ เป้ำหมำยและเป้ำหมำยของกำรปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
3. แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พงุ
บ่ำย 4. เทคนิคกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5. คลินิกไร้พงุ
6. เกณฑ์กำรประเมินคลินิกไร้พงุ
5. คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
กำรจัดตัง้ และดำเนินกำร “คลินิกไร้พงุ ”
เพื่อแก้ปัญหำรำยบ ุคคลในกรณีที่องค์กร/ช ุมชน
ดำเนินกำรปรับพฤติกรรมแล้วไม่สำมำรถ
แก้ปัญหำได้ โดยเฉพำะผูท้ ี่เป็นกลมุ่ เสี่ยงสูง
และกลมุ่ ป่วยที่ไม่สำมำรถควบค ุมได้
คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity Clinic : DPAC)
• คลินิกที่ดำเนินกำรเพื่อให้เกิดกระบวนกำร
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรบริโภคอำหำรและมีกำร
จัดกิจกรรมกำรเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง
พร้อมทัง้ สนับสน ุนให้เกิดผลกำรปฏิบตั ิตำมแนวทำง
มำตรฐำนที่กำหนดไว้แต่ละกลมุ่ วัยอย่ำงถ ูกต้อง
สนับสน ุนให้เกิดควำมยัง่ ยืนในกำรปฏิบตั ิ
ที่มำ : คูม
่ ือกำรดำเนินงำนในคลินิก DPAC สำหรับเจ้ำหน้ำที่สำธำรณส ุข
ผูร้ บั บริกำร
1.
2.
3.
4.
กลมุ่ เสี่ยงสูง (อ้วนลงพุง, อ้วนอันตรำย, Pre DM, Pre HT)
ผูป้ ่ วยโรคเบำหวำน หรือ ควำมดันโลหิตสูงรำยใหม่
ผูป้ ่ วยโรคเบำหวำน และควำมดันโลหิตสูงที่ควบค ุมไม่ได้
ประชำชนที่มีโรคประจำตัว โรคเรื้อรัง 5 โรค (เบำหวำน
ควำมดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็ง หลอดเลือดสมอง)
5. ประชำชนกลมุ่ เสี่ยงด้ำนพฤติกรรม
6. ประชำชนทัว่ ไป ที่สนใจด ูแลส ุขภำพ
แนวทำงกำรจัดตัง้ คลินิกไร้พงุ
รพ.สต.
ทีมทำงำน
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-จพง. สาธารณสุข
รพ.ช.
ทีมทำงำน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-นักโภชนากร (ถ้ามี)
บทบำทหน้ำที่
บทบำทหน้ำที่
-ส่งเสริมและป้องกัน
-ส่งเสริมและป้องกัน
-ฟื้ นฟูสภาพ
-การรักษา
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์(เพิ่ม)
-เครื่องชัง่ นา้ หนัก,วัดส่วนสูง -อุปกรณ์ทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย
-สายวัดรอบเอว
-แบบจาลองธงโภชนาการ -ชุดนิทรรศการเรื่องอาหารและการ
ออกกาลังกาย
หรือภาพธงโภชนาการ
-Food Model (ถ้ามี)
รพ.ท. / รพ.ศ.
ทีมทำงำน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-นักโภชนากรหรือนักโภชนาการ
บทบำทหน้ำที่
- การรักษา
-ส่งเสริมและป้องกัน
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์(เพิ่ม)
-เครื่องตรวจวัดวิเคราะห์
องค์ประกอบของร่างกาย
(In body) (ถ้ามี)
แนวทำงในกำรให้คำปรึกษำ ใน คลินิกไร้พงุ
1.
2.
3.
4.
5.
วินิจฉัยสำเหต ุของปัญหำที่แท้จริงของผูร้ บั บริกำรให้ได้
พฤติกรรมที่เป็นสำเหต ุที่ทำให้เกิดปัญหำ (มีอะไรบ้ำง)
เป้ำหมำยของกำรเปลี่ยนแปลง (แต่ละปัญหำ)
กิจกรรมที่ผร้ ู บั บริกำรเลือกที่จะปฏิบตั ิ (ในแต่ละครัง้ )
กำรนัดเพื่อติดตำมและประเมินผล (ในแต่ละครัง้ )
สิ่งสำคัญ คือ ต้องประเมินพฤติกรรมของผูม้ ำรับบริกำรนัน้
ว่ำอยูใ่ นขัน้ ตอนใด หรือทำอะไรได้บำ้ ง
ประสิทธิภำพของคลินิกไร้พงุ
 ประชำชนกลมุ่ เสี่ยงสูงต่อเบำหวำน (Pre DM) ป่วย
เป็นโรคเบำหวำน ไม่เกินร้อยละ 5
 ประชำชนกลมุ่ เสี่ยงสูงต่อควำมดันโลหิตสูง (Pre HT)
ป่วยเป็นโรคควำมดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 5
ประสิทธิภำพของคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
ผูป้ ่ วยเบำหวำนสำมำรถควบค ุมระดับน้ำตำลให้อยูใ่ นเกณฑ์ที่
ควบค ุมได้ (HbA1C ครัง้ ส ุดท้ำยน้อยกว่ำร้อยละ 7 หรือระดับ
FBS 70 -  130 mg/dl. 3 ครัง้ ส ุดท้ำยติดต่อกัน) มำกกว่ำ
ร้อยละ 50 หรือเพิ่มขึ้นมำกกว่ำร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับข้อมูลของ
ปีที่แล้ว
 ผูป้ ่ วยควำมดันโลหิตสูงควบค ุมสำมำรถควบค ุมระดับควำมดัน
โลหิตได้ (BP 140/90 mmHg) มำกกว่ำร้อยละ 40 หรือเพิ่มขึ้น
มำกกว่ำร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับข้อมูลของปีที่แล้ว
กำรสร ุปผลกำรดำเนินงำน ใน คลินิกไร้พงุ
1. กลมุ่ ที่ไม่สนใจปัญหำ/โรคที่ตนเองเป็น มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง
หรือเป็นโรคอะไร
2. กลมุ่ ที่ลงั เลใจ มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรคอะไร
3. กลมุ่ ที่อยูใ่ นขัน้ ตัดสินใจและเตรียมตัว มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง
หรือโรคอะไร
4. กลมุ่ ที่อยูใ่ นขัน้ ลงมือปฏิบตั ิ มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรค
อะไร
5. กลมุ่ ที่กระทำที่ดีอย่ำงต่อเนื่อง มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรค
อะไร (น้ำหนักลด รอบเอวลด กลมุ่ เสี่ยงไม่เป็นโรค กลมุ่ ป่วย
ควบค ุมได้)
1.เกณฑ์กำรแบ่งกลมุ่ เสี่ยงต่ำงๆ
และผูป้ ่ วยโรคเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูง
ที่ควบค ุมได้และที่ควบค ุมไม่ได้
การ
Approach
Outlet
ประชากร
รพท./รพศ. ป่วย +
้ น
ภาวะแทรกซอ
Individual
approach
รพช.
กรมวิชาการ
กรมการแพทย์
ป่วย
รพ.สต.
ี่ ง
กลุม
่ เสย
กรมควบคุมโรค
สอ.
กลุม
่ ปกติ
กรมอนาม ัย
ตรวจคัดกรอง
Community
approach
หมูบ
่ า้ น/
SRM ชุมชน
นพ.โสภณ เมฆธน ผูต้ รวจรำชกำรกระทรวงสำธำรณส ุข
กรมสน ับสนุน
บริการสุขภาพ
ประเด็นย ุทธศำสตร์ PP กลมุ่ วัยทำงำน (NCD-DM/HT)
เป้ำประสงค์
(GOAL)
ประชาชนมี
พฤติกรรมสุขภาพ
ทีถ
่ ก
ู ต ้อง โดย
การจัดการน้ าหนัก
ของตนเองด ้วย
หลัก 3 อ.
Key Success
Factor
- มีการบูรณาการใน
ระดับจังหวัด
ภายใต ้โครงการ
สุขภาพดีวถ
ิ ช
ี วี ต
ิ
ไทย
- มีนโยบาย
สาธารณะสร ้าง
สุขภาพ พัฒนา
เครือข่ายความ
่ ลด
ร่วมมือ เชน
หวาน มัน เค็ม,
องค์กร/ชุมชนไร ้
พุง เป็ นต ้น
Project/
Activity
-พัฒนาศกั ยภาพ
ผู ้ให ้ความรู ้ 3อ.ระดับ
จังหวัด/อาเภอ/
ชุมชน
ื่ สารใน
-รณรงค์สอ
สงั คมเรือ
่ งโรคอ ้วน
ลงพุง
-จัดเวทีแลกเปลีย
่ น
เรียนรู ้การดาเนินงาน
ื่ คูม
-ทาสอ
่ อ
ื การ
ควบคุมและลด
น้ าหนั ก
KPI
- ศูนย์การเรียนรู ้
องค์กรต ้นแบบไร ้พุง
152 แห่งใหม่
- ชุมชนไร ้พุง 2 แห่ง/
รพ.สต.
ประเด็นย ุทธศำสตร์ PP (NCD)
เป้าประสงค์
(GOAL)
พัฒนาการ
ปรับเปลีย
่ น
พฤติกรรม
กลุมเสี
่ ่ ยงดวย
้
กระบวนการ
3 อ.
(คลินิก
DPAC)
Key
Success
Factor
1. สถาน
บริการภาครัฐ
(รพท., รพศ.,
รพช., รพ
สต.) มีส่วน
รวม
่
ดาเนินการ
คลินก
ิ
DPAC
2.
กลุมเป
่ ้ าหมาย
Project/
Activity
โครงการ
พัฒนาคลินก
ิ
DPAC
- ขยายผลการ
ดาเนินงานคลินก
ิ
DPAC
- พัฒนา
ศั กยภาพผู้
ให้บริการคลินก
ิ
DPAC
พัฒนาการ
ปรับเปลีย
่ น
พฤติกรรมกลุม
KPI
1. รพท., รพศ.,
รพช.
ดาเนินการ
คลินก
ิ DPAC
ร้อยละ 80
2. รพสต.
ดาเนินการ
คลินก
ิ DPAC
ร้อยละ 50
ของทุกอาเภอ
3. ประชาชน
กำรดำเนินงำนกำรคัดกรองประชำชนที่ผำ่ นมำ
ระยะเวลำ
โครงกำรและกิจกรรม
พ.ย.50-ม.ค.51 โครงกำรรวมพลังสร้ำงส ุขภำพเพื่อพ่อในระดับจังหวัด เพื่อ
สร้ำงกระแสสังคมในกำรลดปัจจัยเสี่ยงต่อกำรเกิดโรควิถีชีวิต
มิ.ย.51-ม.ค.52 โครงกำรภำคีรว่ มใจคนไทยไร้พงุ จังหวัดละ 10 องค์กร
27 พ.ย.-ธ.ค.52 กำรตรวจส ุขภำพเชิงร ุกโดย อสม. และเจ้ำหน้ำที่ท ุกระดับเพื่อ
คัดกรองเบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง ของประชำชนอำย ุ 35
ปีขึ้นไป และช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 ช ุมชน/จังหวัด
พ.ศ.2554
โครงกำรสนองน้ำพระรำชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยส ุขภำพ ฯ
พ.ศ. 25542563
โครงกำรส ุขภำพดีวิถีชีวิตไทย เพื่อลด 5 โรค ลด 5 ด้ำน
และเพิ่มวิถีชีวิตที่พอพียง (3 อ.)
Approach
กลมุ่ ประชำชนทัว่ ไป
1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ)
2. คัดกรองโดย จนท.สำธำรณส ุข
กลมุ่ ปกติ
กลมุ่ เสี่ยงสูง
-FCG < 100
-BP < 120/80
-FCG 100 - 125
-BP 120/80 – 139/89
3อ. 2ส.
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส. เข้มข้น
- DPAC
กลมุ่ ป่วย
-FCG > 126
-BP >140/90
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- DPAC
- รักษำด ู HbA1C
- ค้นหำภำวะแทรกซ้อน
- ถ่ำยภำพจอประสำทตำ
- microalbuminuria
- ตรวจเท้ำ
กลมุ่ ป่วยมีภำวะแทรกซ้อน
- ตำ ไต ตีน
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- DPAC
- รักษำโรคและ
ภำวะแทรกซ้อน
กำรคัดกรองส ุขภำพ
ของ สำนักงำนสำธำรณส ุขจังหวัดปรำจีนบ ุรี
กำรคัดกรอง
ประชำชน
ขำว
รอบ ชำย 90 ซม.
เอว หญิง80 ซม.
BMI
BP
FBS
18.5–22.9 กก./ม2
120/80 mmHg
100 mg/dl
เทำ
ดำ
90 – 102 ซม.
80 – 88 ซม.
มำกกว่ำ 102 ซม.
มำกกว่ำ 88 ซม.
23.0-24.9 กก./ม2  25 กก./ม2
120/80-139/89
100-125 mg/dl
 140/90 mmHg
 126 mg/dl
กำรแบ่งประเภทผูป้ ่ วยเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูง
ประเภท
ขำว
เทำ
ดำ
โรคเบำหวำน
โรคควำมดันโลหิตสูง
-FBS 70-130 mg/dl (DTX 65-118 -BP  130/80 mmHg
mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
3 ครัง้ ติดต่อกัน
- HbA1C  7%
-BP Systolic 130-179mmHg
-FBS 130 - 200 mg/dl (DTX
118-180 mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
Diastolic 81-109 mmHg
- HbA1C 7-8%
3 ครัง้ ติดต่อกัน
-FBS 200 mg/dl (DTX 180
mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
- HbA1C  8%
-BP  180/110 mmHg
3 ครัง้ ติดต่อกัน
VICHAI MODEL (ส.ค.2555)
ผูป้ ่ วยเบำหวำน
ผูป้ ่ วยควำมดันโลหิตสูง (mmHg)
ขำว 100 mg/dl
ขำว 120/80
เขียวเข้ม 100 mg/dl (กินยำควบค ุม) เขียวเข้ม 120/80(กินยำควบค ุม)
เขียวอ่อน 100-125 mg/dl
เขียวอ่อน 120-139/80-89
เหลือง HbA1C 7, FBS 126-154
เหลือง
140-159/90-99
ส้ม HbA1C 7-7.9, FBS 155-182
ส้ม 160-179/100-109
แดง HbA1C 8, FBS  183 mg/dl
แดง 180/110
กำรแบ่งประชำชน หรือ ผูป้ ่ วยออกเป็น
กลมุ่ ๆเพื่ออะไร
แนวทำงกำรด ูแลประชำชนกลมุ่ ต่ำงๆ
ประเภท
ขำว
เทำ
ดำ
เทำ/
ดำ
แนวทำงกำรให้บริกำร
- ยินดีดว้ ยครับ/ค่ะ ระบบในร่ำงกำยของท่ำนสำมำรถทำงำนได้ตำมปกติ ปี
หน้ำเชิญตรวจส ุขภำพอีกนะครับ/ค่ะ
-ควำมดันโลหิตของท่ำนอยูใ่ นกลมุ่ เริม
่ ผิดปกติ ควรตรวจซ้ำท ุก 3 เดือน
-น้ำตำลในเลือดของท่ำนอยูใ่ นกลมุ่ เริม
่ ผิดปกติ ควรตรวจซ้ำท ุก 3 เดือน
-ดัชนีมวลกำยและรอบเอวอยู่เกณฑ์อว้ นหรือลงพุงควรตรวจซ้ำท ุก 3เดือน
-ควำมดันโลหิต เข้ำใกล้กำรเป็นโรค ให้ตรวจซ้ำในอีก 1 สัปดำห์
-น้ำตำลในเลือดของท่ำน เข้ำใกล้กำรเป็นโรค ให้ตรวจซ้ำในวันถัดมำ
-ดัชนีมวลกำยและรอบเอวอยูเ่ กณฑ์อว้ นมำกหรือลงพุงมำก ให้ตรวจซ้ำท ุก 3
เดือน
ประชำชนกลมุ่ เทำ –ดำ ควรปฏิบตั ิตวั ดังนี้
- ควบค ุมอำหำร เพิ่มผัก ผลไม้
- รูจ้ กั ผ่อนคลำยควำมเครียด
- ออกกำลังกำยสม่ำเสมอและต่อเนื่อง - ลด ละ เลิกกำรบริโภคแอลกอฮอล์
หรือบ ุหรี่ และจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อส ุขภำพที่ดี
แนวทำงกำรด ูแลผูป้ ่ วยโรคเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูง
ระดับ
แนวทำงกำรด ูแล
3
เยีย่ มบ้ำนพร้อมให้คำแนะนำโดยเจ้ำหน้ำที่ ใช้แบบบันทึกกิจกรรม 3 อ.
เพื่อวำงแผนกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฉพำะบ ุคคล และติดตำมผล
กำรตรวจ อย่ำงน้อยเดือนละ 1 ครัง้
2
เยีย่ มบ้ำนพร้อมให้คำแนะนำโดยเจ้ำหน้ำที่ และติดตำมผลกำรตรวจ เดือน
ละ 1 ครัง้
เยีย่ มบ้ำนพร้อมให้คำแนะนำโดย อสม. และติดตำมผลกำรตรวจท ุก 3 เดือน
1
+/0
ให้คำแนะนำเรือ่ ง 3 อ.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตำมผลกำรตรวจ
ท ุก 6 เดือน
เยีย่ มบ้ำนพร้อมให้คำแนะนำโดย อสม. และติดตำมผลกำรตรวจท ุก 3 เดือน
0
ให้คำแนะนำเรือ่ ง 3 อ.เพื่อส่งเสริมส ุขภำพและติดตำมผลกำรตรวจท ุก 1 ปี
สร ุป กำรคัดกรองประชำชนและกำรจัดกำร
ประเภท
รอบเอว
(ซม.)
ปกติ / ขำว หญิง 80
ชำย  90
เสี่ยง / เทำ หญิง 80-88
ชำย 90-102
เสี่ยงสูง / หญิง 88
ดำ
ชำย 102
BMI
(กก./ม2)
FBS
(mg/dl)
18.5-22.9  100
BP
(mmHg)
 120/80
กำรด ูแล/
กำร
จัดบริกำร
-ช ุมชน
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
23.0-24.9 100-125 SBP120-ช ุมชน
ปรับเปลี่ยน
(100-118, 139
119-125) DBP 80-89 พฤติกรรม
-DPAC
 25
 126
140/90 -DPAC
2. กลมุ่ เป้ำหมำย
และเป้ำหมำยของกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ในคลินิกไร้พงุ
กลมุ่ เป้ำหมำย เป็นใครบ้ำง ได้มำอย่ำงไร
1. ประชำชนกลมุ่ เสี่ยงสูงเบำหวำนและเสี่ยงสูงควำมดัน
โลหิตสูง
2. ผูป้ ่ วยเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูงรำยใหม่
3. ผูป้ ่ วยเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูงที่ควบค ุมไม่ได้
4. อ้วน (BMI  25 กก./ม2)
5. อ้วนลงพุงที่เป็นกลมุ่ เสี่ยงสูง (รอบเอว ชำย102 ซม.
และหญิง 88 ซม.)
กลมุ่ เป้ำหมำย ได้จำกกำรคัดกรองประชำชน และทะเบียนกำรรักษำในรพ.สต.
หรือ รพ.ต่ำงๆ
กลมุ่ เป้ำหมำยเหล่ำนี้ มีเท่ำไร
ข้อมูล ปี พ.ศ. 2552
• Pre DM ร้อยละ 6.9, Pre HT ร้อยละ 17.4
• New case DM ร้อยละ 1.7 , HT ร้อยละ 4.3
• Controlled ได้ DM ร้อยละ 39.2, HT ร้อยละ 20.9
• อ้วน (BMI  25 กก./ตร.ม) ร้อยละ 34.0
• อ้วนลงพุง ร้อยละ 32.0
เป้ำหมำย กำรให้คำปรึกษำในคลินิกไร้พงุ
• ผูป้ ่ วยเบำหวำนที่ควบค ุมไม่ได้
ควบค ุมได้
(HbA1C น้อยกว่ำร้อยละ 7 หรือระดับ
FBS 70 -  130 mg/dl. 3 ครัง้ ส ุดท้ำยติดต่อกัน)
• ผูป้ ่ วยควำมดันโลหิตสูงที่ควบค ุมไม่ได้ ควบค ุมได้
(ผูป้ ่ วยควำมดันโลหิตสูงมีระดับ BP 140/90 mmHg
อย่ำงน้อย 3 ครัง้ ติดต่อกัน)
เป้ำหมำย กำรให้คำปรึกษำในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
• กลมุ่ เสี่ยงสูงเบำหวำน (FPG or FCG =100-125 mg/dl.
กลำยเป็น
– กลมุ่ เสี่ยงสูงเบำหวำน (อยูเ่ หมือนเดิม) หรือ
– กลมุ่ ปกติ (FPG or FCG 100 mg/dl. )
• กลมุ่ เสี่ยงสูงควำมดันโลหิตสูง (SBP 120-139 mmHg
และ/หรือ DBP 80-89 mmHg) กลำยเป็น
– กลมุ่ เสี่ยงควำมดันโลหิตสูง (อยูเ่ หมือนเดิม) หรือ
– กลมุ่ ปกติ (BP  120/80 mmHg)
(Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)
เป้ำหมำย กำรให้คำปรึกษำในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
อ้วนอันตรำย (BMI 30 กก./ม2)
อ้วน (BMI 25.0-29.9 กก./ม2)
ท้วม (BMI 23.0-24.9 กก./ม2)
ปกติ (BMI 18.5-22.9 กก./ม2)
(หลักเกณฑ์ของ International Obesity Task Force : IOTF)
เป้ำหมำย กำรให้คำปรึกษำในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
ผูช้ ำย
ผูห้ ญิง
เสี่ยงสูง (รอบเอว 102 ซม.)
เสี่ยงสูง (รอบเอว 88 ซม.)
เสี่ยง (รอบเอว 90-102 ซม.)
เสี่ยง (รอบเอว 80-88 ซม.)
ปกติ (น้อยกว่ำ 90 ซม.)
ปกติ (น้อยกว่ำ 80 ซม.)
กัลยำ กิจบ ุญชู. ข้อแนะนำกำรออกกำลังกำยสำหรับคนอ้วน.
สร ุป กลมุ่ เป้ำหมำยที่มำรับบริกำรในคลินิกไร้พงุ
รพ.สต.
1. อ้วนลงพุงมำก
หญิง 88 ซม.
ชำย 102 ซม.
2. อ้วนอันตรำย
BMI  30 กก./ม2
3. Pre DM
100-125 mg/dl
4. Pre HT
SBP120-139 mmHg
DBP 80-89 mmHg
รพ.ช
ปรำจีนบ ุรี โมเดล
DM -FBS 130 - 200 mg/dl
(DTX 118-180 mg/dl) 3 ครัง้
ติดต่อกัน
- HbA1C 7-8%
HT -SBP 130-179mmHg
DBP 81-109 mmHg 3 ครัง้
ติดต่อกัน
VICHAI MODEL DM - HbA1C
7-7.9 ,FBS 155-182 mg/dl
HT -BP160-179/100-109
mmHg
รพ.ท /รพ.ศ
ปรำจีนบ ุรี โมเดล
DM -FBS 200 mg/dl (DTX
180 mg/dl) 3 ครัง้
ติดต่อกัน
-HbA1C  8%
HT - BP  180/110 mmHg
3 ครัง้ ติดต่อกัน
VICHAI MODEL
DM - HbA1C 8,
FBS  183 mg/dl
HT -BP 180/110 mmHg
ตัวอย่ำง
ชำยไทย อำย ุ 30 ปี อำชีพ รับจ้ำง มีรอบเอว 105 ซม.
BMI = 29 กก/ตร.ม. ควำมดันโลหิต 138/88 mmHg
น้ำตำลในเลือด 100 mg/dl
– ข้อมูลเหล่ำนี้ ได้มำอย่ำงไร
– ปัญหำอะไรที่ตอ้ งดำเนินกำรก่อน เพรำะอะไร
– ควรใช้บริกำรคลินิกไร้พงุ ในโรงพยำบำลอะไร
3.แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พงุ
ทฤษฎีกำรเรียนรูท้ ำงสังคมของแบนด ูรำ
(Social Cognitive Theory : SCT)
• พฤติกรรม เกิดจำกกำรสังเกต
และกำรเลียนแบบ
• กำรเรียนรู้ เกิดจำกกำร
ปฏิสมั พันธ์ระหว่ำงบ ุคคลและ
สิ่งแวดล้อม ซึ่งทัง้ คนและ
สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลต่อกัน
ตัวอย่ำง กำรโฆษณำทำงโทรทัศน์
ธ ุรกิจกำรค้ำที่แนะนำให้ดื่มบำงอย่ำง
หรือกำรใช้ยำสระผมโดยเฉพำะจะทำ
ให้เรำเป็นที่นิยมและได้รบั ควำมชื่น
ชมของผูค้ นที่น่ำสนใจ
Albert Bandura. 1977
ทฤษฎีปัญญำสังคม (Social Cognitive
Theory : SCT)
กำรเรียนรูจ้ ำกกำรสังเกต
P
กำรรับรค้ ู วำมสำมำรถตน
B
E
กำรกำกับตนเอง
ทฤษฎีขนั้ ตอนกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Stages of change theory)
• Prochaska and DiClimente. 1983
• Transtheoretical Model : TTM
1.
2.
3.
4.
5.
ขัน้ ไม่สนใจปัญหำ (Pre-contemplation)
ขัน้ ลังเลใจ(Contemplation)
ขัน้ ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation)
ขัน้ ลงมือปฏิบตั ิ(Action)
ขัน้ กระทำต่อเนื่อง (Maintenance)
The Temporal Dimension as the Basis for the
Stages of Change
ขัน้ ตอนของกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ขัน้ ที่ 1 ไม่สนใจปัญหำ (Pre-contemplation)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• ไม่ตงั้ ใจที่จะเปลี่ยนแปลง
• ไม่รบั ร ้ ู ไม่ใส่ใจต่อพฤติกรรมที่เป็นปัญหำของตนเอง
• เบื่อที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง หรือคิดว่ำไม่สำมำรถทำได้
• จะไม่อ่ำน ไม่พดู หรือคิดเรือ่ งพฤติกรรมเสี่ยง
• ไม่ตระหนักในปัญหำ หรือรูป้ ั ญหำแต่ไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลง
กำรให้คำแนะนำ
• ให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ของกำรควบค ุม
อำหำร กำรออกกำลังกำย และส ุขภำพ
• ให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ โดยเน้นข้อเท็จจริง เป็ นเหต ุเป็ นผล
และเป็นกลำง
• ไม่ช้ ีนำ หรือขูใ่ ห้กลัว
ขัน้ ที่ 2 ลังเลใจ (Contemplation)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• ควำมตัง้ ใจที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระยะเวลำอันใกล้น้ ี (6 เดือน
ข้ำงหน้ำ)
• มีควำมตระหนักถึงข้อดีของกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ก็ยงั คง
กังวลกับข้อเสียในกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วย
• กำรชัง่ น้ำหนักระหว่ำงข้อดี-ข้อเสียของกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อำจ
ทำให้เกิดควำมลังเลใจอย่ำงมำกจนทำให้บ ุคคลต้องติดอยูใ่ นขัน้ นี้เป็น
เวลำนำน
• มีกำรผลัดวันประกันพรงุ่ (behavioral procrastination) จึงยังไม่พร้อมที่
จะเปลี่ยนแปลงในทันที
กำรให้คำแนะนำ
• ควรมีกำรพูดค ุยถึงข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมเก่ำและใหม่
• เปิดโอกำสให้ได้ชงั่ น้ำหนักระหว่ำงข้อดี-ข้อเสียของกำรเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
• มีกำรให้ขอ้ มูลที่ถ ูกต้องได้ดว้ ย
ขัน้ ที่ 3 ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• ตัง้ ใจว่ำจะลงมือปฏิบตั ิในกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเร็วๆ
นี้ (ภำยใน 1 เดือน) เมื่อตัดสินใจแล้วว่ำจะเปลี่ยน
พฤติกรรมใดของตน เช่น เลิกบ ุหรี่ ลดน้ำหนัก หรือออก
กำลังกำย
• วำงแผนว่ำจะต้องทำอะไรบ้ำง เช่น เข้ำร่วมฟังกำรบรรยำย
เรือ่ งส ุขภำพ ขอคำปรึกษำพูดค ุยกับแพทย์ ค้นคว้ำข้อมูล
หรือซื้อหนังสือเกี่ยวกับกำรปรับพฤติกรรมตนเองมำอ่ำน
กำหนดวันที่จะเริม่ เปลี่ยนพฤติกรรม
กำรให้คำแนะนำ
• บ ุคคลที่อยูใ่ นขัน้ นี้ควรได้มีทำงเลือกในกำรปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม โดยให้เขำตัดสินใจเลือกเอง
• กำรส่งเสริมศักยภำพในกำรกระทำของเขำ
ขัน้ ที่ 4 ลงมือปฏิบตั ิ (Action)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• ลงมือปฏิบตั ิหรือกระทำพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ เป็นเวลำไม่นอ้ ยกว่ำ 3-6 เดือน
• พฤติกรรมที่พึงประสงค์นนั้ จะต้องบรรล ุตำม
ข้อกำหนดที่ผเ้ ู ชี่ยวชำญหรือเจ้ำหน้ำที่วิชำชีพ
เห็นว่ำเพียงพอที่จะลดพฤติกรรมเสี่ยงได้
กำรให้คำแนะนำ
• กำรส่งเสริมให้ลงมือกระทำตำมวิธีที่เขำเลือก
อย่ำงต่อเนื่อง
• กำรช่วยหำทำงขจัดอ ุปสรรคและให้กำลังใจ
ขัน้ ที่ 5 กระทำต่อเนื่อง (Maintenance)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• มีกำรกระทำพฤติกรรมใหม่หรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์
มำกกว่ำ 6 เดือน จนกลำยเป็นนิสยั ใหม่ หรือเป็น
ชีวิตประจำวัน
• กำรกระตน้ ุ หรือสิ่งเร้ำต่ำงๆจะมีอิทธิพลน้อย และมี
ควำมเชื่อมัน่ ว่ำตนสำมำรถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้
กำรให้คำแนะนำ
• ควรมีกำรป้องกันกำรกลับไปเสพซ้ำ โดยกำรดำเนิน
ชีวิตที่สมด ุลอย่ำงมีค ุณค่ำ ทำให้เป็ นกิจวัตรประจำวัน
• มีกำรจัดกำรกับชีวิตประจำวันได้ดี บริหำรเวลำอย่ำง
เหมำะสมในกำรด ูแลส ุขภำพตนเอง และอื่นๆ เช่น กำร
กิน กำรออกกำลังกำย
กำรกลับไปมีปัญหำซ้ำ (Relapse)
ลักษณะของบ ุคคลในขัน้ นี้
• มีกำรถอยกลับไปมีพฤติกรรมแบบเดิมๆก่อนที่จะมีกำร
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
• บ ุคคลจะกลับไปสูส่ ถำนกำรณ์เสี่ยง (กำรบริโภคอำหำร และ
กำรใช้แรงกำย)
• ปล่อยให้อำรมณ์อยูเ่ หนือเหต ุผลไม่สำมำรถจัดกำรกับควำม
อยำกได้
กำรให้คำแนะนำ
• พยำยำมดึงเขำกลับเข้ำสูเ่ ส้นทำงกำรเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็ว
ที่ส ุด
• มีกำรให้กำลังใจ
• มีกำรสร ุปบทเรียนเพื่อไม่ให้เกิดซ้ำอีก และมุง่ มัน่ ในกำร
เปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป
กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน คลินิกไร้พงุ
• ใช้ทฤษฎีขนั้ ตอนกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
• เป้ำหมำย คือ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ (ผลลัพธ์ที่ได้ คือ น้ำหนัก รอบเอว ระดับ
น้ำตำลในเลือด หรือระดับควำมดันโลหิต)
–
–
–
–
–
จำกขัน้ ที่ 1 ไปสูข่ นั้ ที่ 2
จำกขัน้ ที่ 2 ไปสูข่ นั้ ที่ 3
จำกขัน้ ที่ 3 ไปสูข่ นั้ ที่ 4
จำกขัน้ ที่ 4 ไปสูข่ นั้ ที่ 5
จำกขัน้ ที่ 5 ให้คงอยูต่ ลอดไป
• อำรมณ์
– กำรควบค ุมกำกับตนเอง (Self regulation) (สะกิด สะกด สกัด) กินหรือไม่กินในสถำนกำรณ์ต่ำงๆ
– กำรรับรูค้ วำมสำมำรถของตนเอง (Self efficacy) ในกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เรำสำมำรถควบค ุม
ตนเองได้
– แรงเสริมทำงบวก หรือแรงจูงใจทำงบวก (Positive reinforcement) ให้กำลังใจ ชื่นชม ทำเพื่อ
ส ุขภำพ
• เนื้อหำที่ใช้เน้นเรือ่ ง กำรบริโภคอำหำรและกำรใช้แรงกำย
– ธงโภชนำกำร กำรคำนวณแคลอรี่
– โซนสี กำรอ่ำนฉลำก
– กำรใช้แรงกำยตำมลักษณะอำชีพ โรคที่เป็น น้ำหนัก รอบเอว
กำรประย ุกต์ทฤษฎีขนั้ ตอนกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ใน คลินิกไร้พงุ
ขัน้ ตอนพฤติกรรม
เป้ำหมำย
กำรให้คำแนะนำ
ระยะเวลำ
ขัน้ ที่ 1 ไม่สนใจปัญหำ สนใจและตระหนักปัญหำ
ของตนเอง
-ให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ
-ไม่ช้ ีนำ หรือขูใ่ ห้กลัว
-
ขัน้ ที่ 2 ลังเลใจ
วำงแผนและลงมือปฏิบตั ิ
ภำยในระยะเวลำใกล้
-ข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมเก่ำใหม่
- ให้ขอ้ มูลที่ถ ูกต้อง
-
ขัน้ ที่ 3 ตัดสินใจและ
เตรียมตัว
ส่งเสริมในลงมือทำ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
-ทำงเลือก
-ส่งเสริมศักยภำพ
0 - 3 เดือน
ขัน้ ที่ 4 ลงมือปฏิบตั ิ
ลงมือทำพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์อย่ำงยัง่ ยืน
- ส่งเสริมให้ลงมือทำอย่ำงต่อเนื่อง
- ช่วยขจัดปัญหำและให้กำลังใจ
3 - 6 เดือน
- ให้กำลังใจ
- กำรจัดกำรชีวิตประจำวันที่ดี
มำกกว่ำ 6
เดือน
ขัน้ ที่ 5 กระทำต่อเนื่อง ไม่กลับไปมีพฤติกรรมที่เป็น
ปัญหำ
ประชำชนที่มีพฤติกรรมอยูข่ นั้ ตอนใด
ที่จะต้องเข้ำคลินิกไร้พงุ
เพรำะอะไร
4. เทคนิคกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วิธีกำรปรับพฤติกรรม
1. เน้นที่พฤติกรรมเฉพำะเจำะจง เฉพำะกลมุ่ เสี่ยง
2. เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบ ุคคลโดยผ่ำนกระบวนกำร
เรียนร ้ ู
3. ต้องมีกำรกำหนดพฤติกรรมเป้ำหมำยที่ชดั เจน
4. ต้องคำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหว่ำงบ ุคคล
5. จะเน้นที่เหต ุกำรณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเท่ำนัน้
วิธีกำรปรับพฤติกรรม (ต่อ)
6. เน้นที่ควำมเป็นมน ุษย์ของบ ุคคล โดยไม่มีกำรบังคับ
ใดๆทัง้ สิ้น
7. กำรนำเทคนิคต่ำงๆไปใช้ ให้คำนึงถึงข้อดีและข้อจำกัด
ตลอดจนหลักเกณฑ์กำรใช้เทคนิคเหล่ำนัน้ ให้รอบคอบ
8. กำรปรับพฤติกรรมจะเน้นกำรใช้วิธีกำรทำงบวก
มำกกว่ำกำรลงโทษ
9. กำรปรับพฤติกรรมสำมำรถใช้ได้อย่ำงเหมำะสมตำม
ลักษณะปัญหำของแต่ละบ ุคคล
หลักกำรบริโภคอำหำร เพื่อควบค ุมพลังงำน
1. กินอำหำรครบ 3 มื้อ ต้องไม่งดอำหำรมื้อใดมื้อหนึ่ง
2. ลดปริมำณอำหำรท ุกมื้อที่กิน เน้นกินอำหำรจำนเดียว
(ไม่ตกั เพิ่ม)
3. เลือกกินอำหำรพลังงำนต่ำ
4. กินผัก ผลไม้ในมื้ออำหำรให้มำกขึ้น
5. เคี้ยวอำหำรช้ำๆ
6. มีควำมอดทนถ้ำรส้ ู ึกหิว ทัง้ ๆที่เพิ่งกินไป
เทคนิคกำรปรับเปลี่ยนนิสยั กำรบริโภคอำหำร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
กินอำหำรสมด ุล ควบค ุมสัดส่วนและปริมำณอำหำร
กินอำหำรเช้ำท ุกมื้อ มื้อเช้ำเป็นมื้อหลักที่สำคัญ
กินอำหำรธรรมชำติไม่แปรร ูป
กินผักและผลไม้รสไม่หวำน ให้มำกพอและครบ 5 สี
กินอำหำรพออิ่ม
กินเป็น คือ รจ้ ู กั เลี่ยงอำหำรรสหวำนจัด มันจัด และเค็มจัด
กินอำหำรมื้อเย็นแต่วนั
วิธีลดน้ำหนัก
•
•
•
•
ต้องลดไขมันที่มีอยูใ่ นร่ำงกำย ไม่ใช่ลดกล้ำมเนื้อ
อย่ำอดอำหำร แต่ให้เลือกกินอำหำรพลังงำนต่ำ
ควบค ุมอำหำรอย่ำงเดียวไม่พอ ต้องออกกำลังกำยด้วย
กำรออกกำลังกำยจะช่วยทำให้รำ่ งกำยมีกล้ำมเนื้อมำกขึ้น
กว่ำเดิม
• ถ้ำออกกำลังกำยแต่ไม่ควบค ุมอำหำร ก็ไม่สำมำรถ
ลดน้ำหนักได้
หลักกำรเคลื่อนไหวออกแรงและออกกำลังกำย
1.
2.
3.
4.
ออกกำลังกำยทำให้ขนำดของเซลล์ไขมันลดลง
ออกกำลังกำยตรงไหนได้ผลตรงนัน้
ออกกำลังกำยนำนขึ้นได้ผลมำกขึ้น
ในคนอ้วนให้ใส่เครือ่ งช่วย เช่น รัดเข่ำ รองเท้ำหน้ ุ ข้อพื้น
นมุ่ เลี่ยงกำรวิ่งขึ้น-ลงบันได
5. ออกกำลังกำยต้องปลอดภัยไม่เหนื่อย ไม่หอบ
6. ยืดเหยียดกล้ำมเนื้อ 5-10 นำที ก่อนและหลังออกกำลัง
กำย
เปรียบเทียบกำรปรับพฤติกรรมในระดับช ุมชนและระดับบ ุคคล
ระดับช ุมชน
(ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
1. เน้น 3 อ.
2. กลมุ่ ขนำดใหญ่ (30 หรือมำกกว่ำ)
3. เน้นกำรมีสว่ นร่วมของภำคี
เครือข่ำย
4. ใช้แนวคิด CBI, A-I-C, SRM
5. กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมทำง
กำยภำพและสังคม
6. มีนโยบำยหรือมำตำกำรทำงสังคม
ระดับบ ุคคล
(คลินิกไร้พงุ )
1.
2.
3.
4.
เน้น 3 อ.
ผูใ้ ห้บริกำร กับ ผูร้ บั บริกำร
เน้นกลมุ่ เสี่ยงสูง กลมุ่ โรควิถีชีวิต
ใช้แนวคิดขัน้ ตอนกำรเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
5. กำรเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู่
ขัน้ ตอนที่สงู กว่ำจนได้พฤติกรรมที่
พึงประสงค์
6. มีเป้ำหมำยของกำรปรับ
พฤติกรรมที่ชดั เจน
6. เกณฑ์กำรประเมินคลินิกไร้พงุ
เกณฑ์กำรประเมินหน่วยงำนที่ดำเนินงำนคลินิกไร้พงุ (DPAC)
ขัน้ ตอน
ประเด็นกำรประเมิน
1.
ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร (4 คะแนน)
1. มีกำรกำหนดนโยบำย และแผนกำรดำเนินงำน
2. มีคณะกรรมกำรดำเนินงำน
3. มีสถำนที่ดำเนินงำน
- สถำนที่ , ป้ำย “คลินิกไร้พงุ ”, มุมให้ควำมรู้
4. มีกำรเผยแพร่ประชำสัมพันธ์
2
ด้ำนกำรให้บริกำร (2 คะแนน)
1. มีกิจกรรม 3 อ.
2. มีผป้ ู ฏิบตั ิงำนอย่ำงอย่ำงชัดเจนอย่ำงน้อย 1 คน
ด้ำนกำรติดตำม ประเมินผล (2 คะแนน)
1. มีกำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำน (รำยบ ุคคล. สร ุป)
2. มีกำรวิเครำะห์ปัญหำ อ ุปสรรค และแนวทำงกำรพัฒนำ
งำน(กำรติดตำม ประเมินผล และพัฒนำกำรบริกำร)
3
มี
ไม่มี
เกณฑ์กำรประเมินหน่วยงำนที่ดำเนินงำนคลินิกไร้พงุ (DPAC) ใหม่
ขัน้ ตอน
ประเด็นกำรประเมิน
1.
ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร (2 คะแนน)
1.1 มีสถำนที่ดำเนินงำน ได้แก่ สถำนที่/มุมให้บริกำร มุมให้
ควำมร/้ ู เอกสำรควำมรูด้ ำ้ นอำหำรและกำรใช้แรงกำย มี
ป้ำย “คลินิกไร้พงุ ”
1.2 มีผป้ ู ฏิบตั ิงำนอย่ำงชัดเจนอย่ำงน้อย 1 คน
1.3 มีกำรเผยแพร่ประชำสัมพันธ์ (กำรให้บริกำรในคลินิก)
2
ด้ำนกำรให้บริกำร (5 คะแนน)
มีกิจกรรมกำรให้บริกำรที่ชดั เจน (โดยเฉพำะเรือ่ งกำรบริโภค
อำหำรและกำรใช้แรงกำย)
3
ด้ำนกำรติดตำม ประเมินผล (3 คะแนน)
3.1 มีกำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำน (สร ุปรำยบ ุคคล 5-10 คน
3.2 มีกำรสร ุปผลกำรดำเนินงำน
3.3 มีกำรวิเครำะห์ปัญหำ อ ุปสรรค และแนวทำงกำรพัฒนำงำน
มี
ไม่มี
ผูป้ ระเมินรับรองคลินิกไร้พงุ (ปี 2556)
1. โรงพยำบำลศ ูนย์ โรงพยำบำลทัว่ ไป และโรงพยำบำลช ุมชน ผู้
ประเมินรับรองจำนวน 3 คน ประกอบด้วย เจ้ำหน้ำที่ของศนู ย์
อนำมัยที่ 3 ผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด และสำนักงำน
สำธำรณส ุขอำเภอ
2. โรงพยำบำลส่งเสริมส ุขภำพตำบล ผูป้ ระเมินรับรองจำนวน 3 คน
ประกอบด้วย ผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด สำนักงำนสำธำรณส ุข
อำเภอ และผูอ้ ำนวยกำรของ รพ.สต.ที่ไม่ได้ถ ูกประเมิน
กำรเยีย่ ม พัฒนำ และประเมินผลกำรดำเนินงำน
1. ฟังอย่ำงตัง้ ใจ ไม่ถำมในสิ่งที่ผถ้ ู ูกเยี่ยมเล่ำให้ฟัง ยกเว้น
จะถำมเพื่อต้องกำรยืนยันอีกครัง้
2. เวลำถำมให้เรียงลำดับเรื่องก่อน – หลัง
3. ถ้ำมีผเ้ ู ยี่ยมหลำยๆคน ถ้ำจะถำมให้ถำมต่อจำกเรื่องที่คน
เดิมถำมอยู่
4. ส ุดท้ำยต้องสร ุปร่วมกันท ุกครัง้ ว่ำ อะไรดีแล้ว อะไรที่ควร
จะพัฒนำเพิ่มขึ้น และผลกำรเยีย่ มครัง้ นี้เป็นอย่ำงไร
เอกสำรอ้ำงอิง
Skinner, B. F. 1935. Two Types of Conditioned Reflex and a Pseudo
Type. Journal of General Psychology 12: 66-77.
Bandura, A. 1971. Social Learning Theory. New York: General Learning
Press.
Prochaska, J.O., DiClemente, C.C. & Norcross, J.C. 1983. In search of
how people change: Applications to addictive behaviours. American
Psychologist, 47(9), 1102-1114.
ดำรณี สืบจำกดี. Stages of Change - ขัน้ ตอนของกำรเปลี่ยนแปลง
http://www.google.co.stages of change dca9666bc62449.
เข้ำวันที่ 8 เมษำยน 2554.
จงเชือ่ มัน่ และทำให้เป็ นจริง
นพ.โสภณ เมฆธน ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
68