คำแนะนำในการปฏิรูปสุขภาพอำเภอ - แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง

Download Report

Transcript คำแนะนำในการปฏิรูปสุขภาพอำเภอ - แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง

จะเริม่ อย่างไร ?
จุดเริม่ ต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับ
อาเภอ อยู่ทีก่ ารกาหนดค่ากลางของ
ความสาเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต
เพือ่ ส่งมอบให้จงั หวัดนาเข้าสู่กระบวนการ
(1) กาหนดค่ากลาง (2) ทาการบูรณาการ
และ (3) สร้างนวัตกรรมสังคมต่อไป
คาแนะนา
บูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
•
•
•
•
ทาความตกลงในระดับส่วนกลางเกีย่ วกับความร่วมมือ
ของ อปท.กับหน่วยงานสาธารณสุขในประเด็นการพัฒนา
สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการ
สนับสนุ นนวัตกรรมสังคม
แต่งตั้งนายก อปท. หรือผูแ้ ทนเข้าร่วมเป็ น คปสอ.ระดับ
อาเภอ
มอบบทบาทการพัฒนาส่วนสภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯ
ให้ อปท. โดยใช้บญ
ั ชีค่ากลางสาหรับโครงการสุขภาพฯที่
สสจ. กาหนดชุดเดียวกับ รพสต.และกองทุนฯ
วางระบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ระหว่าง อปท. กับ สธ.
ตัวอย่าง : การใช้จานวนเงินงบประมาณเป็ นตัวชีว้ ดั ผลงาน (PI)
350,000
312,040
300,000
286,345
257,900
250,000
200,000
171,500
143,400
150,000
116,200
115,755
100,000
85,700
50,000
22,000 24,890
0
รพ.สต. บ ้านท่อ ต.สัน
ทรายหลวง อ.สันทราย
รพ.สต. บ ้านแม่ผาแหน ต. รพ.สต. บ ้านบวกครกเหนือ รพ.สต. บ ้านบวกครก ต.
ออนใต ้ อ.สันกาแพง
ต.ท่าวังตาล อ.สารภี
หนองตอง อ.หางดง
รพ.สต. บ ้านดงกา๋ ตาบล
ทุง่ สะโตก อ.สันป่ าตอง
แบบบูรณาการ
แบบเดิม
คาแนะนา
ควรเพิม่ ทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการ
ให้กบั ทุกฝ่ ายที่เกีย่ วข้อง
1. ใช้การเรียนการสอนโดยฝึ กปฏิบตั ิในสถานการณ์จริง
2. ใช้วิทยากรที่มีอยู่ในระดับเขตเป็ นหลัก เสริมด้วย
วิทยากรกลาง (ถ้าจาเป็ น)
3. สร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาทักษะการบริหาร
จัดการกับการพัฒนาด้านสังคม-อารมณ์
ประเมินสมรรถนะของบุคลากรและแกนนาและสร้างเสริมทักษะ
คาแนะนา
ปฏิรูปข้ อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management
Information) ระดับอาเภอ
• เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้ องถิ่น/ตาบล
จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้ อมูลใน
ระดับต่างๆให้ สอดคล้ อง
• พื้นที่ใดที่เข้ าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอาเภอ
(DHS) ใหม่น้ ี ให้ ยกเว้ นการทาและใช้ รายงานข้ อมูลที่
กระทรวงฯกาหนดไว้ เดิม แล้ วใช้ ระบบรายงาน ใหม่
ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ท่ยี ังไม่เข้ าโครงการ
ให้ ใช้ ระบบข้ อมูลเดิม
ฐานข้อมูล (Database) สาหรับบริหารจัดการระดับอาเภอ
คาอธิบายระบบตัวชี้วัดที่ปรับปรุงใหม่ ความแตกต่างจากระบบเดิม
ตัวชี้วัดประเภทต่างๆที่ใช้
คาอธิบายวิธคี านวณหรือกาหนดสาหรับตัวชี้วัดบางประเภท
ผู้เก็บข้ อมูล
ผู้ใช้ หรือคณะผู้ใช้ ข้อมูล
การใช้ ค่ากลางและการบูรณาการในระบบสุขภาพอาเภอ
การปรับปรุงตัวชี้วัดความสาเร็จ (KPI) เพื่อให้ ใช้ เป็ นปัจจุบัน (Real-time) ได้
การเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดความสาเร็จ (KPI) เพื่อให้ เหมาะกับบริบท
ความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดผลงาน (PI)
ผลกระทบของการปฏิบัติงานต่อแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SLM)
คาแนะนาเกี่ยวกับการแสดงผลงาน (ชนิดของกราฟ รายงาน ฯลฯ)
เวลาที่ใช้ ในการทางาน ความถี่ของปฏิบัติการ
ผลลัพธ์ของความสาเร็จ
หลักฐานการอนุมัติให้ เจ้ าหน้ าที่ทาการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดและแก้ ไขเหตุได้ ทนั ที
ปรับระบบการสนับสนุนของจังหวัดและเขตต่ออาเภอ/ตาบล
กาหนดงานสนับสนุนจากพื้นฐานของงานในค่ากลางของฝ่ าย
ปฏิบัติ
ใช้ วิธเี จรจาความร่วมมือระหว่างฝ่ ายปฏิบัติและสนับสนุน
สรุปกิจกรรมสนับสนุนจากงานสนับสนุนที่ตกลงกัน
บูรณาการงานสนับสนุนเข้ าด้ วยกันแล้ วจัดสรรกิจกรรม
สนับสนุนตามบทบาทหน้ าที่ของฝ่ ายต่างๆ
สร้ างแผนงาน/โครงการสนับสนุนของฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง
สร้ างแผนปฏิบัติการร่วมระหว่างฝ่ ายสนับสนุน
การปฏิรูประบบสนับสนุนขององค์กรระดับจังหวัด / เขต
บูรณาการ
เจรจาความร่ วมมือ
จะจบอย่างไร ?
1. หน่วยงานระดับเขตควรเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาสุขภาพ
ของกลุ่มวัยที่กาหนด
2. ควรมีการประชุมวางแผนบูรณาการบทบาทร่วมกันระหว่าง
กรมต่างๆและสานักงานปลัดฯ
3. ควรมีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบ
บูรณาการให้ กบั ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง
4. เมื่อจัดการบูรณาการแล้ ว ควรก้ าวสู่การสร้ างและจัดการ
นวัตกรรมสังคมโดยเร็ว
5. ควรปฏิรูปแนวคิดและวิธวี างแผนงานโครงการใหม่ให้ สอด
รับกับเทคนิคการบูรณาการ
6. ควรบูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น เพื่อ
พัฒนาสภาวะแวดล้ อมของกลุ่มวัยฯ
คาแนะนาสาหรับกระทรวงสาธารณสุข
• ควรประกาศเป็ นนโยบายให้หน่วยงานสาธารณสุ ขตั้งแต่
ระดับเขตลงไปทาการปฏิรูประบบการพัฒนาสุ ขภาพโดย
มีจุดหมายปลายทางที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้
ประชาชนสามารถดูแลและพึ่งพาตนเองได้
• ควรสนับสนุนให้หน่วยงานระดับเขตและจังหวัดจัดการ
ค้นหาและกาหนดค่ากลาง ทาการบูรณาการงานของฝ่ าย
ปฏิบตั ิและฝ่ ายสนับสนุนเพื่อประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผลสูงสุ ด ทาการถ่ายโอนอานาจ ความ
รับผิดชอบในการดูแลสุ ขภาพให้ภาคประชาชน และ
ส่ งเสริ มการสร้างนวัตกรรมสังคม
ขอบคุณ