คำแนะนำสำหรับกระทรวงสาธารณสุข จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพ

Download Report

Transcript คำแนะนำสำหรับกระทรวงสาธารณสุข จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพ

คำแนะนำสำหรับกระทรวงสำธำรณสุ ข
จะเริ่ มอย่างไร ?
 จุดเริ่ มต้ นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับ
อาเภอ อยู่ที่การกาหนดค่ากลางของ
ความสาเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต
เพื่อส่งมอบให้ จงั หวัดนาเข้ าสูก่ ระบวนการ
(1) กาหนดค่ากลาง (2) ทาการบูรณาการ
และ (3) สร้ างนวัตกรรมสังคมต่อไป
 บูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วน
ท้ องถิ่น
• ทาความตกลงในระดับส่วนกลางเกี่ยวกับ
ความร่วมมือของ อปท.กับหน่วยงาน
สาธารณสุขในประเด็นการพัฒนา
สภาพแวดล้ อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
และการสนับสนุนนวัตกรรมสังคม
• แต่งตังนายก
้
อปท. หรื อผู้แทนเข้ าร่ วมเป็ น
คปสอ.ระดับอาเภอ
• มอบบทบาทการพัฒนาส่วนสภาวะ
แวดล้ อมของกลุม่ วัยฯให้ อปท. โดยใช้ บญ
ั ชี
ค่ากลางสาหรับโครงการสุขภาพฯที่ สสจ.
กาหนดชุดเดียวกับ รพสต.และกองทุนฯ
• วางระบบข้ อมูลที่ใช้ ร่วมกันได้ ระหว่าง
อปท. กับ สธ.
 เพิ่มทักษะในการบริ หารจัดการโครงการ
แบบบูรณาการให้ กบั สาธารณสุขอาเภอ
และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นโดย
1. ใช้ การเรี ยนการสอนที่มีการฝึ กปฏิบตั ิใน
สถานการณ์จริ ง
2. ใช้ วิทยากรที่มีอยู่ในระดับเขต 2-3
เปนหลัก เสริ มด้ วยวิทยากรกลาง (ถ้ า
จาเป็ น)
3. ร่วมมือกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.
นเรศวรจัดหลักสูตรเฉพาะสาหรับ
กลุม่ เป้าหมายทังสอง
้
 ปฏิรูปข้ อมูลเพื่อการบริ หารจัดการ
(Management Information) ระดับ
อาเภอ
1. เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับ
ท้ องถิ่น/ตาบลจึงควรปฏิรูประบบการเก็บ
และรายงานข้ อมูลในระดับต่างๆให้
สอดคล้ อง
2.พื ้นที่ใดที่เข้ าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพ
ระดับอาเภอ(DHS) ใหม่นี ้ ให้ ยกเว้ นการทา
และใช้ รายงานข้ อมูลที่กระทรวงฯกาหนดไว้
เดิม แล้ วใช้ ระบบรายงานใหม่ตลอดทาง
จนถึงส่วนกลาง ส่วนพื ้นที่ที่ยงั ไม่เข้ า
โครงการ ให้ ใช้ ระบบข้ อมูลเดิม
 ปรับระบบการสนับสนุนของจังหวัดและ
เขตต่ออาเภอ/ตาบล
1.กาหนดงานสนับสนุนจากพื ้นฐานของงาน
ในค่ากลางของฝ่ ายปฏิบตั ิ
2.ใช้ วิธีเจรจาความร่ วมมือระหว่างฝ่ าย
ปฏิบตั ิและสนับสนุน
3.สรุปกิจกรรมสนับสนุนจากงานสนับสนุนที่
ตกลงกัน
4.บูรณาการงานสนับสนุนเข้ าด้ วยกันแล้ ว
จัดสรรกิจกรรมสนับสนุนตามบทบาทหน้ าที่
ของฝ่ ายต่างๆ
5.สร้ างแผนงาน/โครงการสนับสนุนของฝ่ าย
ที่เกี่ยวข้ อง
6.สร้ างแผนปฏิบต
ั ิการร่วมระหว่างฝ่ าย
สนับสนุน
 ปรับระบบตัวชี ้วัดให้ ตอบสนองกับการ
เปลี่ยนแปลงในพื ้นที่ที่ใช้ ระบบค่ากลาง
และบูรณาการ
1. ใช้ ตวั ชี ้วัด 3 ชนิด คือ KRI, KPI, และ
2.
PI
KPI ใช้ โดยผู้ปฏิบต
ั ิ เพื่อควบคุม
3.
ทิศทางของการพัฒนาด้ วยตนเอง
สสอ.สนับสนุนผู้ปฏิบตั ิในการบรรลุ
4.
KPI
PI ถูกส่งผ่านจากพิ ้นที่จนถึงส่วนกลาง
5.
6.
เพื่อใช้ ในการจัดสรรงบประมาณ
ข้ อมูลถูกวิเคราะห์และป้อนกลับใน
ระดับอาเภอ จังหวัดและเขต
ใช้ KRI ในการประเมินผล ส่วนกลาง
เป็ นผู้ออกแบบและเก็บข้ อมูลโดยตรง
ในฐานะ External Evaluator
จะจบอย่ำงไร ?
• หน่วยงานระดับเขตเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาสุขภาพของกลุม่ วัยที่กาหนด
• มีการบูรณาการบทบาทร่วมกันระหว่างกรมต่างๆและสานักงานปลัดฯ
• มีการเพิ่มทักษะในการบริ หารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้ กบั ทุก
ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง
• มีการสร้ างและจัดการนวัตกรรมสังคม
• มีแนวคิดและวิธีวางแผนงานโครงการใหม่ที่สอดรับกับเทคนิคการบูรณา
การ (จากโครงการรายประเด็นสูโ่ ครงการรายกิจกรรม เพื่อจากัดจานวน
โครงการให้ เหลือ 2โครงการ สาหรับกลุม่ เป้าหมายและสภาวะแวดล้ อม
จะเหมาะสมสาหรับมอบให้ ภาคปะชาชนและท้ องถิ่น
• มีระบบข้ อมูลและตัวชี ้วัดที่สร้ างจากการบูรณาการของงานที่ปฏิบตั ิจริ งใน
พื ้นที่