หลักการสหกรณ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Download Report

Transcript หลักการสหกรณ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู ้ชว่ ยศาสตราจารย์ นุกล
ู กรยืนยงค์
ภาควิชาสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1
วท.บ.(เศรษฐศาสตร์สหกรณ์)
เกียรตินย
ิ มอันดับหนึง่ มก.
พบ.ม. (การบริหารการเงิน)
เกียรตินย
ิ มดีมาก NIDA
Dip. in Agri. Coop. Management
ผู ้ชว่ ยศาสตราจารย์
2
3
4
5
6
7

ในระบบเศรษฐกิจใด ๆ นัน
้ ควรจะมีการจัดองค์ประกอบเป็ น 3
สว่ น คือ
ภาคร ัฐบาล (Public Sector)
ภาคเอกชน (Private Sector) และ
ภาคสหกรณ์ (Co-operative Sector) หรือ
ภาคประชาชน People Sector (NGO’s)
8
สว่ นประกอบในโครงสร ้างเศรษฐกิจ
ภาครัฐ
Public Sector
ภาคเอกชน
Private Sector
ภาคสหกรณ์
Co-op Sector
ภาคประชาชน
People Sector
9




มีผู ้นาทางความคิดในการประกอบการอย่างเสรี
่ อด ัม สมิธ (Adam Smith:
หลายคน เชน
1723-1790)
ื ชอ
ื่ ความมง่ ั คง่ ั ของ
เขียนหนังสอ
ประชาชาติ (The Wealth of Nations)
ในปี 1776
สนับสนุนการประกอบการอย่างเสรีโดยเอกชน
การแบ่งงานกันทาตามความถนัดโดยทีร่ ัฐบาล
ควรมีบทบาทแต่น ้อย
ื ทีม
จัดว่าเป็ นหนังสอ
่ อ
ี ท
ิ ธิพลต่อการ
เปลีย
่ นแปลงอย่างมาก
10


เดวิด ริคาโด
(David Ricardo : 1772-1823)
กับแนวความคิดเกีย
่ วกับค่าเชา่
โรเบอร์ต มัลทัส
(Thomas Robert
Malthus :1766-1834)
กับแนวคิดด ้านประชากร
ิ
บุคคลเหล่านี้ ทางเศรษฐศาสตร์จัดไว ้เป็ นนักเศรษฐศาสตร์สานักคลาสสค
(The Classical School)
11
การปฏิว ัติทาง
อุตสาหกรรม
การประกอบการ
อย่างเสรี
การปฏิว ัติ
ฝรง่ ั เศส
แนวความคิดระบบทุนนิยม
(Capitalism) จึงเติบกล ้า
อย่างรวดเร็ว
่ งปลายศตวรรษที่ 18
 ชว
 จนถึงต ้นศตวรรษที่ 19
 (~~~1770~~~1830)

ั
ก่อให้เกิดปัญหาทางสงคมที
ห
่ ม ักหมม
และ ต้องแก้ไข ตามมา
12

ั
ปัญหาทางสงคม
ทีห
่ ม ักหมม และ
ต้องแก้ไข


ปั ญหาการว่างงาน
อันเนือ
่ งมาจากการใช ้
เครือ
่ งจักรแทนแรงงานคน
ปั ญหาการเอารัดเอาเปรียบของนายจ ้าง
ต่อลูกจ ้าง
เนือ
่ งจากมีแรงงานสว่ นเกิน
จานวนมาก
ื่ มโทรมของสงั คม
ปั ญหาความเสอ
อันเนือ
่ งมาจากการว่างงาน
เด็กอนาถา อาชญากรรม
หาทางออก
13
14
ในขณะนัน
้ มีหลายท่าน แต่จะกล่าวถึงเพียงบางท่านอย่างย่อ ๆ คือ
 โรเบอร์ต
 ชาร์ลส
โอเวน (Robert Owen : 1771-1858)
ฟูรเิ อ (Charles Marie Fourier : 1772-1837)
 นายแพทย์วล
ิ เลียม
คิง (Dr.William King : 1786-1865)
15




เป็ นชาวเวลส ์ เกิดทีเ่ มืองนิวทาวน์
บิดาเป็ นชา่ งทาอานม ้า -พ่อค ้าเครือ
่ งเหล็ก
เป็ นผู ้ทีต
่ ้องต่อสูกั้ บชวี ต
ิ มาตัง้ แต่เด็ก โดย
เป็ นลูกจ ้างในร ้านค ้าของเอกชน มาตัง้ แต่
อายุ 10 ขวบ
ด ้วยเหตุทเี่ ป็ นคนฉลาดและมีเพือ
่ นมากจึง
มีความคิดก ้าวหน ้าในทีส
่ ด
ุ ได ้เป็ นหุ ้นสว่ น
กิจการโรงงานปั่ นฝ้ ายทีแ
่ มนเชสเตอร์และ
เป็ นผู ้จัดการโรงงานทอผ ้า
ประสบการณ์ทเี่ ขาได ้รับทีเ่ มือง
แมนเชสเตอร์ มีอท
ิ ธิพลต่อโอเวนอย่าง
มาก ทัง้ ในเรือ
่ งอุตสาหกรรมการทอผ ้า
และปั ญหาในโรงงาน
16
17









ื่ มัน
เมือ
่ งานด ้านนิคมสหกรณ์ไม่ได ้ผลอย่างทีต
่ งั ้ ใจ แต่ความเชอ
่ ไม่ได ้ลดลง
โอเวนก็ได ้เดินทางกลับมาลอนดอนและทางานเป็ นนักเขียน
ื พิมพ์ของตนเอง ชอ
ื่ The Crisis เพือ
มีหนังสอ
่ เผยแพร่ความคิดของตน
โดยเฉพาะด ้านแรงงาน ได ้แสดงปาฐกถาใน ทีต
่ า่ ง ๆ และได ้เสนอ
แนวความคิดในเรือ
่ ง
สาน ักงานแลกเปลีย
่ นแรงงานอ ันเทีย
่ งธรรม
(The Equitable Labour Exchange) และ
บ ัตรแรงงาน (Labour Notes) ขึน
้
เพือ
่ การขจัดกาไรด ้วยความคิดทีว่ า่
กาไร เป็นบ่อเกิดของความเลวร้ายทงปวง
ั้
้ นตราเป็ นสอ
ื่ กลางในการแลกเปลีย
และทีม
่ าของกาไรเกิดจากการใชเงิ
่ น
18
แม ้จะมีการทดลองตัง้ สถานแลกเปลีย
่ นแรงงานขึน
้ แต่การดาเนินงานตาม
แนวความคิดของโอเวนก็ไม่ประสบความสาเร็จในทางปฏิบต
ั ิ
19
The Museum tells the remarkable story of
Robert Owen, born in Newtown (Powys) in 1771.
A village boy who hobnobbed with royalty,
A shop assistant who became a factory manager,
An educator with little education,
A rich man who fought for the poor,
A capitalist who became the first "socialist",
An individualist who inspired the Co-operative movement
20




ฟูรเิ อ ได ้เสนอความคิดเกีย
่ วกับ
ฟาล ังก์สแตร์ (Phalanstere)
ซงึ่ มีลก
ั ษณะคล ้ายนิคมสหกรณ์ของ
โอเวน
แต่ตา่ งกันทีก
่ ารยอมรับนับถือใน
ิ ธิใ์ นทรัพย์สน
ิ ของเอกชน
กรรมสท
หรือความแตกต่างของบุคคล
ฟูรเิ อมีระดับการยอมรับมากกว่าโอเวน
21





นายแพทย์คงิ
เป็ นแพทย์อยูท
่ เี่ มืองไบรก์ตน
ั Brighton
เป็ นผู ้ทีส
่ นใจสถานการณ์บ ้านเมือง และ
คลุกคลีอยูก
่ บ
ั คนงานในโรงงาน
อุตสาหกรรมมาก
เป็ นผู ้หนึง่ ทีส
่ นใจติดตามความคิดของ
โอเวนมาตลอด
และมีความเห็นว่า แม ้ความคิดของ
โอเวนในเรือ
่ งนิคมสหกรณ์จะเป็ นเรือ
่ งดี
แต่ยังไม่ถก
ู ต ้องตามวิธป
ี ฏิบต
ั ิ
22


นอกจากนัน
้ ยังสง่ ถ่ายแนวคิด
ื พิมพ์
เป็ นบทความลงในหนังสอ
ื่ น ักสหกรณ์
ชอ
(The Cooperator)
ซงึ่ ถือว่า เป็ นนิตยสารทาง
สหกรณ์เล่มแรก ซงึ่ ได ้รับความ
นิยมแพร่หลายมากในชว่ งปี
1828-1830
23





สมาคมของผูน
้ าอ ันเทีย
่ งธรรมแห่งเมืองรอชเดล
The Rochdale Society of Equitable Pioneers
ี ร์
เมืองรอชเดล (Rochdale) อยูใ่ นมณฑลแลงคัชเชย
ทางเหนือของเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
เป็ นเมืองเล็ก ๆ ทีม
่ อ
ี ต
ุ สาหกรรมการทอผ ้า
และได ้รับผลกระทบจากการปฏิวต
ั ท
ิ างอุตสาหกรรม
่ เดียวกับเมืองอืน
เชน
่ ๆ
ชาวเมืองรอชเดลได ้ดิน
้ รนต่อสูกั้ บความยากลาบากมาตลอด
ตัง้ แต่ปลายคริสศตวรรษที่ 18 จนถึงกลางคริสศตวรรษที่ 19
่ ด
ปั ญหาต่าง ๆ ทวีความรุนแรงขึน
้ และเข ้าสูจ
ุ วิกฤตใน
ชว่ งเวลาของ ทศวรรษแห่งความอดอยาก หิวโหย
(The Hungry Forties) คือ ทศวรรษ 1840s
24





ื่
ก่อนหน ้าทีจ
่ ะมีการก่อตัง้ สมาคมสหกรณ์ทรี่ ู ้จักกันดีในชอ
สหกรณ์รอชเดล ขึน
้ มานัน
้
ชาวเมืองรอชเดลได ้เข ้าร่วม
่
กิจกรรมหลายอย่าง เชน
สมาคมกรรมกร (Trade Union)
สมาคมสงเคราะห์เพือ
่ น (Friendly Society) และ
ขบวนการทางการเมืองอืน
่ ๆ เพือ
่ การแก ้ปั ญหาทีป
่ ระสบอยู่
ิ ค ้า
นอกจากนัน
้ ยังมีประสบการณ์ในการตัง้ ร ้านจาหน่ายสน
ตามแนวความคิดของนายแพทย์คงิ ถึงสองครัง้ ในเมืองนี้
แม ้ว่าจะไม่ประสบความสาเร็จแต่ก็เป็ นประสบการณ์และ
รากฐานทางความคิดทีส
่ าคัญ ในเวลาต่อมา
25



ื่ มั่นในแนวความคิด
ทีส
่ าคัญก็คอ
ื ชาวเมืองรอชเดลยังมีความเชอ
เกีย
่ วกับนิคมสหกรณ์ตามแนวของโอเวนอยู่ และมีการนาเอาเรือ
่ งนี้
มาปรึกษาหารือกันเสมอ เพือ
่ เป็ นแนวทางในการแก ้ปั ญหา ทัง้ นี้
เพือ
่ ให ้พวกคนงานมีโรงงานทอผ ้า ทีน
่ า บ ้านพัก และโรงเรียน เป็ น
ิ ต ้องการมาเองโดย
ของชุมชนเอง สามารถจัดหาสงิ่ ของทีส
่ มาชก
ไม่ต ้องตกอยูใ่ ต ้อานาจกดขีข
่ องคนอืน
่ หรือต ้องไปทางานเพือ
่ หา
กาไรให ้แก่นายจ ้างทีเ่ ป็ นนายทุนหากแต่ได ้ทางานในโรงงานของ
ตนเอง เป็ นนายตนเอง
่ นัน
คนงานเหล่านีท
้ ราบดีวา่ พวกเขาไม่มท
ี น
ุ พอทีจ
่ ะดาเนินการ เชน
้
ได ้ทันที เพราะรายได ้ตา่ จนไม่มค
ี วามสามารถในการออม
การนัดหยุดงานเพือ
่ ต่อรอง ค่าแรงกับนายจ ้างก็ไม่ได ้ผลเพราะมีคน
ว่างงานทีต
่ ้องการทางานอยูม
่ าก
26


่ นัน
ทางออกเฉพาะหน ้าในเวลาทีค
่ บ
ั ขันเชน
้ ก็คอ
ื ต ้องหาทางที่
จะใชจ่้ ายเงินค่าจ ้างทีไ่ ด ้รับมาให ้เป็ นประโยชน์มากทีส
่ ด
ุ
ิ ค ้ามีราคาแพงเกินจริง คุณภาพเลว
ท่ามกลางภาวะตลาดทีส
่ น
ื้ สน
ิ ค ้าจากร ้านค ้าทีเ่ จ ้าของ
ซ้ายังปลอมปน หรือการจายอมซอ
ื่ (ให ้เชอ
ื่ นาน ๆ และดอกเบีย
โรงงานตัง้ ขึน
้ และขายเป็ นเงินเชอ
้
ื้ จากเงินค่าจ ้างทีไ่ ด ้รับ)
แพง หรือบังคับให ้ซอ
้ ใน
ทางทีเ่ ป็นไปได้คอ
ื การตงร้
ั้ านขายของของตนเองขึน
้ งต้น และขยายงานไปตามแนวทางทีก
เบือ
่ าหนดเพือ
่ เป็น
นิคมสหกรณ์ในทีส
่ ด
ุ
27
28
ซงึ่ ต่อมาม ักเรียกว่า หล ักสหกรณ์รอชเดล ได้แก่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ี ง)
การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คน หนึง่ เสย
ิ (สมัครใจ)
การมีเสรีภาพในการเข ้าเป็ นสมาชก
การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
ื้
การเฉลีย
่ คืนตามสว่ นแห่งการซอ
ิ ค ้าเป็ นเงินสด ไม่ปลอมปน ไม่โกงตาชงั่
การขายสน
ึ ษาในหมูส
ิ
การสง่ เสริมการศก
่ มาชก
การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
่ ลักการสหกรณ์สากล
หลักเหล่านีเ้ ป็ นต ้นทางของการพัฒนาไปสูห
ในระยะต่อ ๆ ไป
29
30
31
32
33


กาเนิดสหกรณ์เครดิตในประเทศเยอรมัน
กาเนิดสหกรณ์แปรรูปทางการเกษตรใน
ประเทศเดนมาร์ค
34





สหกรณ์รป
ู นีม
้ ก
ี าเนิดขึน
้ ในย่าน
ธุรกิจด ้านตะวันออกของ
ประเทศเยอรมัน
ี )
(ขณะนัน
้ เรียกว่า ปรัสเซย
ใน ปี 1852
ทีเ่ มืองเดลิทซ ์ (Delitzsch)
โดยการริเริม
่ ของชูลส ์ เดลิทซ ์
ิ รัฐสภาปรัสเซย
ี
ซงึ่ เป็ นสมาชก
Franz Hermann Schulze-Delitzsch
(August 29, 1808 - April 29, 1883)
35



ี ตะวันตก
สหกรณ์รป
ู นีม
้ ก
ี าเนิดในซก
ของเยอรมันแถบแคว ้นไรน์ ซงึ่ เป็ น
ด ้านเกษตรกรรมในชนบท
โดยไรฟไฟเซนซงึ่ เป็ น
นายกเทศมนตรีเมืองเฮดเดรสดอฟ
(Heddesdorf) (ปั จจุบน
ั คือเมือง
Neuwied )
Raiffeisen เป็ นนายกเทศมนตรีอยู่
หลายเมือง ในชว่ งปี 1845-1865
Friedrich Wilhelm Raiffeisen
(May 3, 1818 – May 11, 1888)
36


สหกรณ์แปรรูปนมเนยในเดนมาร์กตัง้ ขึน
้
ทีเ่ มือง Hjedding ปี ค.ศ. 1882
ผลของทศวรรษแห่งความหิวโหย (The
Hungry Forties) มีผลกระทบต่อ
การเกษตรของเดนมาร์คซงึ่ เป็ นแหล่งปลูก
ข ้าวสาลีของยุโรปอย่างมาก จนเป็ นเหตุให ้
ั ว์แทน โดย
เดนมาร์คหันมาทาการปศุสต
พืน
้ ฐานสาคัญมาจาก Folk High
Schools ซงึ่ ก่อตัง้ ครัง้ แรกเมือ
่ ปี 1844 ที่
เมือง Rødding โดย Kristen Kold ตาม
แนวคิดของ Bishop Grundtwig
(Nikolaj Frederik Severin Grundtvig)
Bishop Grundtwig
1783-1882
37



หลักการสหกรณ์ กาเนิดมาพร ้อมกับกาเนิดของสหกรณ์แห่งแรก
ของโลก คือ สมาคมของผู ้นาอันเทีย
่ งธรรมแห่งเมืองรอชเดล
เมือ
่ ค.ศ.1844 หรือกว่า 160 ปี มาแล ้ว
ในวาระของกาเนิดสหกรณ์รอชเดลนัน
้ ผู ้นารอชเดลได ้มีการ
กาหนดหลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดลไว ้หลายประการเพือ
่ เป็ น
แนวทางสาหรับสหกรณ์อน
ื่ ๆ ทีเ่ กิดขึน
้ ในระยะต่อมา
หลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดลเหล่านี้ ต่อมาได ้มีการประมวลไว ้
เป็ นหลักสาคัญรวม 7 ประการ ซงึ่ เป็ นทีม
่ าของหลักสหกรณ์สากล
38


เมือ
่ มีหลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดล 7 ประการ แล ้ว
้ นแนวปฏิบต
ตัง้ แต่ปี ค.ศ.1844 ก็ได ้ใชเป็
ั ข
ิ องสหกรณ์
ต่าง ๆ ทีก
่ าเนิดขึน
้ ในระยะต่อมาเรือ
่ ยมา
ั พันธภาพสหกรณ์ระหว่าง
ต่อมาเมือ
่ มีการก่อตัง้ สม
ประเทศ (International Cooperative Alliance : ICA)
ขึน
้ ในปี ค.ศ.1895 ICA จึงเริม
่ เข ้ามามีบทบาทในการ
้
รับรองหลักการสหกรณ์สากล โดยใชแนวปฏิ
บต
ั ข
ิ อง
สหกรณ์รอชเดลเป็ นหลักในการพิจารณาความเป็ น
ิ
“สหกรณ์” ของประเทศต่าง ๆ ทีส
่ มัครเข ้าเป็ นสมาชก
ของ ICA
39
 หลักสหกรณ์รอชเดล
1844
่ ลักสหกรณ์
 การปรับปรุงหลักสหกรณ์รอชเดลไปสูห
สากล
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 1 : ค.ศ. 1937
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 2 : ค.ศ. 1966
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 3 : ค.ศ. 1995
 หลักสหกรณ์สากลในปั จจุบน
ั
40
ิ ทัว่ ไป
1. การเปิ ดรับสมาชก
Open Membership
ี ง)
2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คนหนึง่ เสย
Democratic Control (One Man, One Vote)
ื้
3. การเฉลีย
่ คืนสว่ นเกินตามสว่ นแห่งการซอ
Distribution of Surplus in Proportion to Trade
4. การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
Payment of Limited Interest on Capital
5. การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
Political and Religious Neutrality
6. การทาการค ้าด ้วยเงินสด
Cash Trading
ึ ษา
7. การสง่ เสริมการศก
Promotion of Education
41
หลักมูลฐาน Fundamental Principles 4 ประการ
หลักประกอบ Subsidiary Principles 3 ประการ
หลักมูลฐาน Fundamental Principles
ิ ทั่วไป
1.การเปิ ดรับสมาชก
Open Membership
ี ง)
2.การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คนหนึง่ เสย
Democratic Control (One Man, One Vote)
ื้
3.การเฉลีย
่ คืนสว่ นเกินตามสว่ นแห่งการซอ
Distribution of Surplus in Proportion to Trade
4.การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
Payment of Limited Interest on Capital
42
หลักมูลฐาน Fundamental Principles
หลักประกอบ Subsidiary Principles
หลักประกอบ Subsidiary Principles 3 ประการ
5.การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
Political and Religious Neutrality
6.การทาการค ้าด ้วยเงินสด
Cash Trading
ึ ษา
7.การสง่ เสริมการศก
Promotion of Education
43
ิ ด ้วยความสมัครใจ และไม่กด
ิ
1.การเป็ นสมาชก
ี กันการเข ้าเป็ นสมาชก
Voluntary Membership ; unrestricted membership wherever
possible;
2.การควบคุมตามหลักประชาธิปไตย และการดาเนินงานเป็ นอิสระ
Democratic control (one member, one vote) ; autonomy;
3.การจากัดดอกเบีย
้ ทีใ่ ห ้แก่ทน
ุ เรือนหุ ้น
Limited interest on share capital, if any return is involved;
4.
5.
6.
44
4.การจัดสรรเงินสว่ นเกินเพือ
่ การพัฒนาสหกรณ์ เพือ
่ จัดบริการเพือ
่ สว่ นรวม
ิ ตามสว่ นแห่งธุรกิจทีท
และ เฉลีย
่ คืนแก่สมาชก
่ ากับสหกรณ์
The economic results to be devoted to the development of the
cooperative, to the provision of the common services, or to
bedistributed to members in proportion to their transactions with
the society;
ึ ษาอบรมทางสหกรณ์
5.การสง่ เสริมการศก
Measures for the provision of education;
6.การร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ทัง้ ปวง
Cooperation among cooperatives at all levels;
45
หล ักสหกรณ์ 1995
ิ ทั่วไปและด ้วยความสมัครใจ
1.การเปิ ดรับสมาชก
Voluntary and Open Membership
ิ ตามหลักประชาธิปไตย
2.การควบคุมโดยสมาชก
Democratic Member Control
ิ
3.การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชก
Member Economic Participation
4.การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
Autonomy and Independence
ึ ษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
5.การศก
Education, Training and Information
6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
Co-operation among Co-operatives
7.ความเอือ
้ อาทรต่อชุมชน
Concern for Community
46

หลักการสหกรณ์ ตามทีป
่ รากฏในแถลงการณ์วา่ ด ้วยเอกลักษณ์
ของการสหกรณ์ในปี 1995 มีด ้วยกัน 7 ประการ ประกอบด ้วย
ิ ทั่วไปด ้วยความสมัครใจ หลักการควบคุมแบบ
หลักการเปิ ดรับสมาชก
ิ หลักการมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยมวล
ประชาธิปไตยโดยมวลสมาชก
ิ หลักการปกครองตนเองและความมีอส
ึ ษา
สมาชก
ิ ระ หลักการให ้การศก
การฝึ กอบรม และข่าวสาร หลักการร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ และหลักการ
เอือ
้ อาทรต่อชุมชน

หล ักสามประการแรก
ถือว่าเป็ นสภาพพลวัตภายในทีม
่ ี
ี่ ระการหล ัง
ความสาคัญมากสาหรับแต่ละสหกรณ์ สว่ นหล ักสป
ั พันธ์ท ี่
จะเกีย
่ วข ้องทัง้ กับการดาเนินงานภายใน และความสม
สหกรณ์มก
ี บ
ั ภายนอกด ้วย
47
ิ ทั่วไปและด ้วยความสมัครใจ
1.การเปิ ดรับสมาชก
Voluntary and Open Membership
ิ ตามหลักประชาธิปไตย
2.การควบคุมโดยสมาชก
Democratic Member Control
ิ
3.การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชก
Member Economic Participation
4.การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
Autonomy and Independence
ึ ษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
5.การศก
Education, Training and Information
6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
Co-operation among Co-operatives
7.ความเอือ
้ อาทรต่อชุมชน
Concern for Community
48


ในชว่ งปี ค.ศ.1970 ถึง 1995
เศรษฐกิจแบบตลาดได ้มี
ั
การขยายตัวอย่างสูงและมีผลกระทบไปทัว่ โลกอย่างเห็นได ้ชด
ข ้อจากัดหรือการกีดกันทางการค ้าทีม
่ อ
ี ยูเ่ ดิมได ้มีการ
เปลีย
่ นแปลงอย่างมาก
่ การกาหนดเขตการค ้าเสรี
การเปลีย
่ นแปลงดังกล่าวนัน
้ เชน
ิ ค ้าเกษตรกรรมของรัฐบาล การทบทวน
การลดการอุดหนุนสน
กฎเกณฑ์ในอุตสาหกรรมการเงิน ล ้วนแต่คก
ุ คามโครงข่ายทาง
เศรษฐกิจทีเ่ คยครอบคลุมกิจกรรมของสหกรณ์ตา่ ง ๆ ที่
ดาเนินมานานติดต่อกันหลายทศวรรษ
49
50
สหกรณ์เป็ นองค์การแห่งความสมัครใจทีเ่ ปิ ดรับบุคคล
้ การของสหกรณ์ และเต็มใจ
ทัง้ หลายทีส
่ ามารถใชบริ
ิ เข ้าเป็ นสมาชก
ิ โดย
รับผิดชอบในฐานะสมาชก
ื้ ชาติ การเมือง
ปราศจากการกีดกันทางเพศ สงั คม เชอ
หรือศาสนา
51
สหกรณ์เป็ นองค์การประชาธิปไตยทีค
่ วบคุมโดย
ิ ผู ้มีสว่ นร่วมอย่างแข็งขันในการกาหนด
มวลสมาชก
ิ ใจ บุรษ
นโยบายและการตัดสน
ุ และสตรีผู ้ทีไ่ ด ้รับ
ิ ต ้องรับผิดชอบต่อ
การเลือกเป็ นผู ้แทนสมาชก
ิ ในสหกรณ์ ขัน
ิ มีสท
ิ ธิในการ
มวลสมาชก
้ ปฐมสมาชก
ี งเท่าเทียมกัน (สมาชก
ิ หนึง่ คนหนึง่ เสย
ี ง)
ออกเสย
สาหรับ สหกรณ์ในระดับอืน
่ ให ้ดาเนินไปตามแนวทาง
่ กัน
ประชาธิปไตยด ้วยเชน
52
ิ สหกรณ์ พึงมีความเทีย
สมาชก
่ งธรรมในการให ้ และควบคุมการ
้ นทุนในสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของ
ใชเงิ
ิ สว่ นรวมของ
สหกรณ์อย่างน ้อยสว่ นหนึง่ ต ้องเป็ นทรัพย์สน
ิ จะได ้รับผลตอบแทนสาหรับเงินทุนตาม
สหกรณ์ สมาชก
ิ ภาพในอัตราทีจ
ิ
เงือ
่ นไขแห่งสมาชก
่ ากัด(ถ ้ามี) มวลสมาชก
เป็ นผู ้จัดสรรผลประโยชน์สว่ นเกินเพือ
่ จุดมุง่ หมายประการใด
ประการหนึง่ หรือทัง้ หมด จากดังต่อไปนี้ คือ เพือ
่ การพัฒนา
สหกรณ์ของตนโดยจัดให ้เป็ นทุนของสหกรณ์ ซงึ่ สว่ นหนึง่ ของ
ิ
ทุนนีต
้ ้องไม่นามาแบ่งปั นกัน เพือ
่ เป็ นผลประโยชน์แก่สมาชก
ตามสว่ น ของปริมาณธุรกิจทีท
่ ากับสหกรณ์ และเพือ
่ สนับสนุน
ิ เห็นชอบ
กิจกรรมอืน
่ ใดทีม
่ วลสมาชก
53
สหกรณ์เป็ นองค์การทีพ
่ งึ่ พาและปกครองตนเอง
ิ ในกรณีทส
โดยการควบคุมของสมาชก
ี่ หกรณ์จาต ้องมี
ข ้อตกลงหรือผูกพันกับองค์การอืน
่ ๆ รวมถึงองค์การ
ของรัฐ หรือต ้องแสวงหาทุนจากแหล่งภายนอก
สหกรณ์ต ้องกระทาภายใต ้เงือ
่ นไขอันเป็ นทีม
่ น
ั่ ใจได ้ว่า
ิ จะยังคงไว ้ซงึ่ อานาจในการควบคุมตาม
มวลสมาชก
แนวทางประชาธิปไตย และยังคงดารงความเป็ นอิสระ
ของสหกรณ์
54
ึ ษาและการฝึ กอบรมแก่
สหกรณ์พงึ ให ้การให ้การศก
ิ
มวลสมาชก
ผู ้แทนจากการเลือกตัง้ ผู ้จัดการ
พนักงาน เพือ
่ บุคคลเหล่านัน
้ สามารถมีสว่ นชว่ ย
ิ ธิผล และ
พัฒนาสหกรณ์ของตนได ้อย่างมีประสท
สามารถให ้ข่าวสารแก่สาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิง่
แก่เยาวชนและบรรดาผู ้นาทางความคิด ในเรือ
่ ง
คุณลักษณะและคุณประโยชน์ของสหกรณ์ได ้
55
ิ ได ้อย่างมี
สหกรณ์สามารถให ้บริการแก่สมาชก
ิ ธิผลสูงสุด และเสริมสร ้างความเข ้มแข็งให ้แก่
ประสท
ขบวนการสหกรณ์ได ้ โดยการประสานความร่วมมือ
กันในระดับท ้องถิน
่ ระดับชาติ ระดับภูมภ
ิ าค และ
ระดับนานาชาติ
56
สหกรณ์พงึ ดาเนินกิจกรรมเพือ
่ การพัฒนาที่
ิ ให ้
ยัง่ ยืนของชุมชน ตามนโยบายทีม
่ วลสมาชก
ความเห็นชอบ
57
หล ักการสหกรณ์ นัน
้





เป็ นเสมือนโลหิตทีห
่ ล่อเลีย
้ งชวี ต
ิ ของขบวนการสหกรณ์
เป็ นพัฒนาการทีม
่ ม
ี าจากค่านิยมทีไ่ ด ้ทาให ้ขบวนการนีแ
้ ผ่ขยายมานับ
แต่การก่อกาเนิด
เป็ นสว่ นชว่ ยในการขึน
้ รูปโครงสร ้าง และให ้แนวคิดในการสร ้าง
ั
เป้ าหมายของขบวนการทีแ
่ จ่มชด
เป็ นเสมือนคาแนะนาสาหรับสหกรณ์ทงั ้ หลายในการพัฒนาองค์การ
ของตน
เป็ นหลักในการปฏิบต
ั ท
ิ ไี่ ด ้รับการปรุงแต่ง จากประสบการณ์ทส
ี่ ะสมมา
เท่า ๆ กับจากปรัชญาความคิด มีความทันสมัย ยืดหยุน
่ และสามารถ
้ ้กับสหกรณ์หลากหลายประเภท ในหลากหลายสถานการณ์
ปรับใชได
58
เศรษฐกิจ
ศก+
สค -
ศก+
สค+
ศก++
สค++
ศก+++
สค+++
สั งคม
ศกสค59


ื ค ้นประวัตบ
ื ค ้นได ้
การสบ
ิ ค
ุ คล และสหกรณ์รป
ู ต่าง ๆ สามารถสบ
จากแหล่งทาง internet โดยการใช ้ search engine ทีม
่ อ
ี ยู่ ซงึ่
จะเป็ นประโยชน์แก่ผู ้สนใจอย่างมาก ทีจ
่ ะได ้ทัง้ ความรู ้ทาง
สหกรณ์ และภาษาอังกฤษ ไปพร ้อม ๆ กันด ้วย นอกจากนัน
้ ยัง
ื ค ้นข ้อมูลสหกรณ์ของประเทศต่าง ๆ ในปั จจุบน
สามารถสบ
ั ได ้
ด ้วย อย่าคิดแต่จะหาเอกสารทีเ่ ป็ นภาษาไทย เพราะท่านจะอยู่
แต่ในวงจากัด
หากมีคาแนะนา หรือ ต ้องการคาแนะนา ติดต่อที่
E-mail : [email protected]
หรือที่
[email protected]
60
Thank
You
61