สหกรณ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Download Report

Transcript สหกรณ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พืน
้ ฐาน สาหรับ MCE 11
วันเสาร์ท ี่ 15 กันยายน 2555
09.00-12.00 น.
ผู ้ชว่ ยศาสตราจารย์ นุกล
ู กรยืนยงค์
ภาควิชาสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วท.บ.(เศรษฐศาสตร์สหกรณ์)
เกียรตินย
ิ มอันดับหนึง่ มก.
พบ.ม. (การบริหารการเงิน)
เกียรตินย
ิ มดีมาก NIDA
Dip. in Agri. Coop. Management
เกิดทีน
่ นทบุรี ปั จจุบน
ั อายุ 57 ปี
http://pirun.ku.ac.th/~fecongk
สหกรณ์ คือ อะไร?
สถานภาพของสหกรณ์ เป็ นอะไร?
การสหกรณ์ (Co-operation)
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์ (Cooperative Economics)
วิสาหกิจสหกรณ์ (Cooperative Enterprises)
ทาไมต ้องเรียนรู ้และเข ้าใจเรือ
่ งสหกรณ์
ทาไมต ้องมีหลักการสหกรณ์
บทบาทของสหกรณ์ในประชาคมโลก
้ างไรบ ้าง
มีการนาเอาวิธก
ี ารสหกรณ์ไปใชอย่
รูปแบบองค์การทางธุรกิจของสหกรณ์ทม
ี่ ก
ี ารพัฒนาไปแล ้ว
ตอนที่ 1 บทนา
ตอนที่ 2 มูลเหตุของการสหกรณ์
และปฐมาจารย์ทางสหกรณ์
ตอนที่ 3 กาเนิดสหกรณ์แห่งแรกของโลก
ตอนที่ 4 กาเนิดสหกรณ์เครดิต
และสหกรณ์แปรรูปทางการเกษตร
ตอนที่ 5 หลักการสหกรณ์
 สถานการณ์ปัจจุบน
ั ของสหกรณ์ทั่วโลก
 ความหมาย
คานิยาม
 สานั กความคิดทางสหกรณ์
 ตัวแบบพืน
้ ฐานของสหกรณ์ และตัวแบบใหม่ ๆ
 เหตุผลทีต
่ ้องเรียนรู ้ประวัตพ
ิ ัฒนาการของสหกรณ์
ั ันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ
 สมพ
 The
International Cooperative Alliance : ICA
• เป็ นองค์การอิสระ ประเภท NGO ก่อตัง้ เมือ
่ ปี ค.ศ.1895
• มีสหกรณ์ในระดับประเทศ และสหกรณ์ระหว่างประเทศ
ิ 274 แห่งใน 98 ประเทศทุกภูมภ
เป็ นสมาชก
ิ าคทัว่ โลก
ิ รายบุคคลรวมกันกว่า 1000 ล ้านคน
มีสมาชก
(จากจานวน 194 ประเทศ ประชากร >7 พันล ้านคน)
• Homepage www.ica.coop
http://2012.coop/en/ica/co-operative-facts-figures
ั ันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ
 สมพ
 The
International Cooperative Alliance : ICA
• เป็ นองค์การอิสระ ประเภท NGO ก่อตัง้ เมือ
่ ปี ค.ศ.1895
ิ 274 แห่งใน 98 ประเทศ
• มีสหกรณ์ในระดับประเทศ และสหกรณ์ระหว่างประเทศ เป็ นสมาชก
ิ รายบุคคลรวมกันกว่า 1000 ล ้านคน
ทุกภูมภ
ิ าคทั่วโลก มีสมาชก
(จากจานวน 194 ประเทศ ประชากร >7พันล ้านคน)
• Homepage www.ica.coop http://2012.coop/en/
ิ ICA อยู่ 2 องค์การ คือ
• ในไทย มีองค์การทีเ่ ป็ นสมาชก
ั นิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย (Co-operative League of
 สน
Thailand : CLT) และ
ี (Association of Asian
 สหพันธ์เครดิตยูเนียนแห่งเอเชย
Confederations of Credit Unions :ACCU)
ได ้มีการให ้ความหมายของ สหกรณ์ อาจมีได ้หลายแบบทัง้ ทีม
่ ี
ความหมายอย่างแคบจนถึงอย่างกว ้าง ตัวอย่าง 2 นิยาม คือ


สหกรณ์เป็ นวิธจ
ี ัดการรูปหนึง่ ซงึ่ บุคคลหลายคนรวมกันเข ้าโดย
ความสมัครใจของตนเอง ในฐานะทีเ่ ป็ นมนุษย์เท่านัน
้ และโดย
ิ ธิเสมอหน ้ากันหมด เพือ
ความมีสท
่ จะบารุงตัวเองให ้เกิดความ
จาเริญในทางทรัพย์ (น.ม.ส.)
Cooperation is a form of organization where in persons
voluntarily associate together as human beings, on the
basis of equality, for the promotion of economic interests,
of themselves.


สหกรณ์เป็ นองค์การอิสระของบุคคลซงึ่ รวมกันด ้วยความสมัครใจ
เพือ
่ สนองความต ้องการ และความมุง่ หมายร่วมกันทางเศรษฐกิจ
สงั คม และวัฒนธรรม โดยการดาเนินวิสาหกิจทีเ่ ป็ นเจ ้าของร่วมกัน
และควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตย
A co-operative is an autonomous association of persons
united voluntarily to meet their common economic, social,
and cultural needs and aspirations through a jointly-owned
and democratically-controlled enterprise.
(ICA- Statement on the Co-operative Identity, September 1995)





สหกรณ์มค
ี วามเป็นอิสระ ซงึ่ หมายถึง เป็ นอิสระจากรัฐ และ
องค์การธุรกิจอืน
่ เท่าทีค
่ วรจะเป็ นได ้
เป็ นการรวมกันของ บุคคล ซงึ่ เปิ ดโอกาสให ้สหกรณ์สามารถ
กาหนดความหมายของบุคคลได ้อย่างเสรี ตามนัยแห่งกฎหมาย
ทีร่ ับรอง ทัง้ ปัจเจกบุคคล และ บุคคลตามกฎหมาย
บุคคลเหล่านัน
้ มารวมกันด ้วย ความสม ัครใจ
เพือ
่ สนองความต้องการและความมุง
่ หมายร่วมก ัน ทาง
เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม
สหกรณ์เป็ น “วิสาหกิจทีเ่ ป็นเจ้าของร่วมก ัน และควบคุมตาม
แนวทางประชาธิปไตย”




สาน ักจ ักรภพสหกรณ์
(The Cooperative Commonwealth School)
สาน ักวิสาหกิจสหกรณ์
(The Cooperative Enterprise School)
สาน ักภาคสหกรณ์
(The Cooperative Sector School)
สาน ักอืน
่ ๆ



เป็ นแนวความคิดทางสหกรณ์ดงั ้ เดิมทีเ่ ป็ นรากฐานแนวความคิดและ
ปรัชญาทางสหกรณ์ทก
ี่ อ
่ ตัวขึน
้ ท่ามกลางการเติบกล ้าอย่างรวดเร็วของ
ระบบทุนนิยม และต ้องการปฏิรป
ู (Reformation) ระบบทุนนิยม ให ้มี
ความเป็ นธรรมมากขึน
้
โดยลดกระแสทุนนิยมแบบ ปัจเจกบุคคลนิยม (Individualism)
่ วามเป็ นสมาคมนิยม (Associationism)
ไปสูค
โดยเห็นว่า สมาคมสหกรณ์ควรมีลก
ั ษณะแบบเบ็ดเสร็จสมบูรณ์แบบ
(Integral) ในตัวเอง กล่าวคือ มีทัง้ การผลิต การจาแนกแจกจ่าย และ
การบริโภค ทีส
่ ามารถพึง่ พาตนเองได ้โดยสมบูรณ์ และเข ้าไปแทนที่
หน่วยธุรกิจแบบทุนนิยมทัง้ หมดในระบบเศรษฐกิจ นักสหกรณ์ทเี่ ป็ น
ต ้นแบบในสานักความคิดนีค
้ อ
ื โรเบอร์ต โอเวน (Robert Owen)


เป็ นแนวความคิดทางสหกรณ์ทส
ี่ ามารถปฏิบต
ั ไิ ด ้อย่างเป็ นรูปธรรม และ
อยูใ่ นโลกของความเป็ นจริงมากกว่าสานักจักรภพสหกรณ์ กล่าวคือ
แนวความคิดของสานักวิสาหกิจสหกรณ์นัน
้ เห็นว่า สหกรณ์สามารถดาเนิน
ธุรกิจอยูร่ ว่ มกับองค์การธุรกิจอืน
่ ๆ ในระบบเศรษฐกิจทีม
่ อ
ี ยูไ่ ด ้ โดยไม่
จาเป็ นต ้องเข ้าไปแทนทีห
่ น่วยธุรกิจเหล่านัน
้ ทัง้ หมด
ในสว่ นใดทีห
่ น่วยธุรกิจทั่วไปไม่สามารถเข ้าไปประกอบการได ้ สหกรณ์
สามารถดาเนินการได ้ ถ ้าเป็ นความต ้องการของประชาชนทีจ
่ ะเป็ นสมาชกิ
หรืออีกนัยหนึง่ คือ สหกรณ์สามารถเลือกดาเนินธุรกิจเฉพาะเพียงบางเรือ
่ ง
ทีจ
่ าเป็ นและเป็ นทีต
่ ้องการเท่านัน
้ ไม่จาเป็ นต ้องเป็ นองค์การทีส
่ มบูรณ์
แบบในตัวเอง


สานักภาคสหกรณ์นี้ เป็ นสานักความคิดทีพ
่ ัฒนาขึน
้ ภายหลัง โดย ดร.ยอร์ช
ื ชอ
ื่ The Co-operative Sector
โฟเกต์ ได ้เสนอแนวคิดนีใ้ นหนังสอ
จัดว่าเป็ นสานักความคิดทีไ่ ด ้รับการยอมรับสูงในปั จจุบน
ั กล่าวได ้ว่าเป็ น
ื เนือ
พัฒนาการทางความคิด ทีส
่ บ
่ งมาจากสานักวิสาหกิจสหกรณ์ คือเป็ น
การพิจารณาถึงโครงสร ้างหรือสว่ นประกอบในระบบเศรษฐกิจ ทีแ
่ ต่เดิมจะให ้
ความสาคัญแก่สว่ นประกอบ 2 สว่ น คือ ภาครัฐบาล (Public Sector) และ
ภาคเอกชน (Private Sector) เท่านัน
้ โดยสหกรณ์จะได ้รับการพิจารณาให ้
อยูใ่ นภาคเอกชนด ้วย

ดร. โฟเกต์ ได ้ให ้แนวคิดทีส
่ าคัญว่า ในระบบเศรษฐกิจใด ๆ นัน
้
ควรจะมีการจัดองค์ประกอบเป็ น 3 สว่ น คือ
ภาคร ัฐบาล (Public Sector)
ภาคเอกชน (Private Sector) และ
ภาคสหกรณ์ (Co-operative Sector) หรือ
ภาคประชาชน People Sector (NGO’s)
สว่ นประกอบในโครงสร ้างเศรษฐกิจ
ภาครัฐ
Public Sector
ภาคเอกชน
Private Sector
ภาคสหกรณ์
Co-op Sector
ภาคประชาชน
People Sector



จาก แถลงการณ์วา่ ด ้วยเอกลักษณ์ของการสหกรณ์
(ICA- Statement on the Co-operative Identity,
September 1995)ได ้กาหนดค่านิยมทางสหกรณ์ไว ้ดังนี้
สหกรณ์อยูบ
่ นฐานค่านิยมของการพึง่ พาและรับผิดชอบ
ตนเอง ประชาธิปไตย ความเสมอภาค ความเทีย
่ งธรรม และ
ความสามัคคี
ิ สหกรณ์ตงั ้ มั่นอยูใ่ นค่านิยมทางจริยธรรมแห่งความ
สมาชก
ื่ สต
ั ย์ เปิ ดเผย รับผิดชอบต่อสงั คม และเอือ
ซอ
้ อาทรต่อผู ้อืน
่
ื ทอดมาจากผู ้ริเริม
ตามแบบแผนทีส
่ บ
่ การสหกรณ์
รูปแบบองค์การทางธุรกิจของสหกรณ์ทม
ี่ อ
ี ยูใ่ นปั จจุบน
ั มี 5 ลักษณะ คือ

ตัวแบบดัง้ เดิม (Traditional co-operative)

สหกรณ์แบบมีหุ ้นสองแบบ (Participation share co-operative)

สหกรณ์แบบมีกจิ การในเครือ (Co-operative with subsidiary)


สหกรณ์ทม
ี่ ห
ี ุ ้นขายเปลีย
่ นมือได ้บางสว่ น (Proportional
tradable share co-op) or New Generation Co-op : NGCs
สหกรณ์ในรูปกิจการมหาชน (PLC co-operative)




โลกเปลีย
่ นแปลงตลอดเวลา
อิทธิพลจากปั จจัยภายนอกคุกคามความคิดพืน
้ ฐานทาง
สหกรณ์ทม
ี่ ม
ี านาน
มีคาวิพากษ์ วจ
ิ ารณ์ขบวนการสหกรณ์จาก “คนนอก”หรือ
ึ ษาสหกรณ์ หรือไม่ได ้เกีย
“คนอืน
่ ” ทีไ่ ม่ได ้ศก
่ วข ้องโดยตรง
่
อยูเ่ สมอ เชน
เป็ นองค์การแบบโบราณไม่ทน
ั สมัย ไม่มเี งินทุนมากพอ
เป็ นประชาธิปไตยมากไปไม่เหมาะกับการดาเนินธุรกิจ
เป็ นแค่เครือ
่ งมือของรัฐ ฯลฯ
แต่..... เหตุใดสหกรณ์จงึ เป็ นรูปแบบวิสาหกิจทีม
่ อ
ี ายุยน
ื
ื ต่อกันกว่า 160 ปี และบทบาทของสหกรณ์ใน
ยาน สบ
ประเทศต่าง ๆ มีอยูอ
่ ย่างไร?
ตอนที่ 2
มูลเหตุของการสหกรณ์
และปฐมาจารย์ทางสหกรณ์
 สหกรณ์แห่งแรกในโลกในสมัยปั จจุบน
ั
 ด ้านสถานการณ์
แรงผลักดัน
 ด ้านตัวบุคคล
เหตุการณ์สาคัญทีเ่ ป็ น
ปฐมาจารย์ทางสหกรณ์
 จุดเริม
่ ต ้นของขบวนการสหกรณ์สมัยปั จจุบน
ั
ถือว่า
เริม
่ ต ้นจากการก่อกาเนิดของ สหกรณ์รอชเดล หรือ
สมาคมของผู ้นาอันเทีย
่ งธรรมแห่งเมืองรอชเดล
(The Rochdale Society of Equitable Pioneers)
เมือ
่ ค.ศ.1844 (พ.ศ.2387) ในประเทศอังกฤษ
ึ ษาเพือ
การศก
่ ทาความเข ้าใจเกีย
่ วกับกาเนิดการ
ึ ษาถึงสถานการณ์ทเี่ ป็ นอยู่ ก่อน
สหกรณ์นัน
้ จึงต ้องศก
ปี ค.ศ.1844
ทีเ่ ป็ นสาเหตุตอ
่ เนือ
่ งกันมา
จนกระทั่งมีการก่อตัง้ สหกรณ์แห่งแรกขึน
้
 ดังนั น
้
 มูลเหตุทางด ้านเหตุการณ์/สถานการณ์แวดล ้อมทีเ่ ป็ น
แรงผลักดัน กับทางด ้านบุคคลและแนวความคิดทาง
สหกรณ์ในขณะนัน
้




กลางคริสต์ศตวรรษ ที่ 18 ได ้มีการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ าคัญ คือ
การปฏิว ัติทางอุตสาหกรรม (The Industrial
Revolution) ซงึ่ ต่อเนือ
่ งถึง
้ นเครือ
• การใชเป็
่ งจักรในโรงงานอุตสาหกรรม
(โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการทอผ ้าในอังกฤษ)
้ นเครือ
• การใชเป็
่ งจักรไอน้ าสาหรับรถไฟ ในการคมนาคมทางบก
้ นเครือ
• การใชเป็
่ งจักรสาหรับเรือกลไฟ ในการคมนาคมทางน้ า
เป็ นทีม
่ าของการประกอบการขนาดใหญ่ มีการลงทุนสูงกว่า
อุตสาหกรรมในครัวเรือน หรือการประกอบการขนาดเล็ก
ผู ้ประกอบการ/เจ ้าของกิจการ จึงเป็ นกลุม
่ นายทุน คหบดี
เป็ นรอยต่อระหว่าง ระบบทุนนิยม ก ับ ระบบพาณิชยนิยม




มีผู ้นาทางความคิดในการประกอบการอย่างเสรี
่ อด ัม สมิธ (Adam Smith:
หลายคน เชน
1723-1790)
ื ชอ
ื่ ความมง่ ั คง่ ั ของ
เขียนหนังสอ
ประชาชาติ (The Wealth of Nations)
ในปี 1776
สนับสนุนการประกอบการอย่างเสรีโดยเอกชน
การแบ่งงานกันทาตามความถนัดโดยทีร่ ัฐบาล
ควรมีบทบาทแต่น ้อย
ื ทีม
จัดว่าเป็ นหนังสอ
่ อ
ี ท
ิ ธิพลต่อการ
เปลีย
่ นแปลงอย่างมาก


เดวิด ริคาโด
(David Ricardo : 1772-1823)
กับแนวความคิดเกีย
่ วกับค่าเชา่
โรเบอร์ต มัลทัส
(Thomas Robert
Malthus :1766-1834)
กับแนวคิดด ้านประชากร
ิ
บุคคลเหล่านี้ ทางเศรษฐศาสตร์จัดไว ้เป็ นนักเศรษฐศาสตร์สานักคลาสสค
(The Classical School)




ในปี ค.ศ.1789 ได ้เริม
่ มีการปฏิวต
ั ท
ิ างการเมืองในประเทศ
ฝรั่งเศส เปลีย
่ นแปลงการปกครอง
ิ ธิราช เป็ น ระบอบประชาธิปไตย
จาก ระบอบสมบูรณาญาสท
ึ ถึงเสรีภาพมากขึน
ทาให ้ประชาชนมีความรู ้สก
้
การประกอบการโดยเสรีทป
ี่ ราศจากการแทรกแซงของรัฐ
กลายเป็ นเรือ
่ งทีม
่ ค
ี วามสาคัญและผลักดันให ้เกิดความ
กระตือรือร ้นในกลุม
่ เอกชน
แนวความคิดของระบบทุนนิยม (Capitalism) จึงเติบกล ้าอย่าง
รวดเร็ว
การปฏิว ัติทาง
อุตสาหกรรม
การประกอบการ
อย่างเสรี
การปฏิว ัติ
ฝรง่ ั เศส
แนวความคิดระบบทุนนิยม
(Capitalism) จึงเติบกล ้า
อย่างรวดเร็ว
่ งปลายศตวรรษที่ 18
 ชว
 จนถึงต ้นศตวรรษที่ 19
 (~~~1770~~~1830)

ั
ก่อให้เกิดปัญหาทางสงคมที
ห
่ ม ักหมม
และ ต้องแก้ไข ตามมา

ั
ปัญหาทางสงคม
ทีห
่ ม ักหมม และ
ต้องแก้ไข


ปั ญหาการว่างงาน
อันเนือ
่ งมาจากการใช ้
เครือ
่ งจักรแทนแรงงานคน
ปั ญหาการเอารัดเอาเปรียบของนายจ ้าง
ต่อลูกจ ้าง
เนือ
่ งจากมีแรงงานสว่ นเกิน
จานวนมาก
ื่ มโทรมของสงั คม
ปั ญหาความเสอ
อันเนือ
่ งมาจากการว่างงาน
เด็กอนาถา อาชญากรรม
หาทางออก


่ เี ฉพาะในกลุม
ผลกระทบดังกล่าวมิใชม
่ คนงานในโรงงาน
อุตสาหกรรมเท่านัน
้ เพราะแม ้แต่ชาวประมง และเกษตรกร ก็
่ นีม
พลอยได ้รับผลกระทบไปด ้วย สถานการณ์เชน
้ อ
ี ยูท
่ วั่ ไปใน
ื่ ว่าเป็ น
ยุโรป แต่รน
ุ แรงมากทีส
่ ด
ุ ในประเทศอังกฤษ ซงึ่ ได ้ชอ
ศูนย์กลางของการปฏิวต
ั ท
ิ างอุตสาหกรรม
จากสถานการณ์ดงั กล่าวข ้างต ้น กลุม
่ คนงานทีไ่ ด ้รับผลกระทบได ้
มีการเคลือ
่ นไหวอย่างต่อเนือ
่ ง เพือ
่ การแก ้ไขปั ญหาปากท ้อง
ของตน


ื่
มีผู ้นาทางความคิดหลายคนเกิดขึน
้ มีกลุม
่ ต่าง ๆ เกิดขึน
้ มีชอ
เรียกต่าง ๆ กันและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ กัน เกิดความพยายาม
หลายด ้าน หลายแบบ แต่กจิ กรรมทัง้ หมดดูเหมือนมุง่ ทีจ
่ ะ
ิ้
ดาเนินไปเพือ
่ ต ้านกระแสการเติบกล ้าของระบบทุนนิยมทัง้ สน
หากจะจัดกลุม
่ ใหญ่ ๆ ในแนวความคิดต ้านกระแสทุนนิยมใน
ขณะนัน
้ อาจจัดออกได ้เป็ น 2 กลุม
่ คือ
กลุม
่ แรก – ปฏิวต
ั ริ ะบบทุนนิยม
กลุม
่ ทีส
่ อง -- ปฏิรป
ู ระบบทุนนิยม


กลุม
่ แรก เป็ นกลุม
่ ทีเ่ ห็นว่าทุนนิยมเป็ นความชวั่ ร ้ายของสงั คม
ิ้ ไป
ทีค
่ วรทาลายล ้างให ้หมดสน
เรียกว่าเป็ นกลุม
่ ทีม
่ ี ความคิดในเชงิ ปฏิว ัติ (Revolution)
ซงึ่ เป็ นรากเหง ้าของลัทธิสงั คมนิยมแบบมาร์คซ-์ เลนิน


กลุม
่ ทีส
่ อง เป็ นกลุม
่ ทีย
่ งั มองเห็นสว่ นดีของทุนนิยมว่าเป็ น
ระบบทีเ่ กือ
้ หนุน ต่อการพัฒนาความคิดริเริม
่ สร ้างสรรค์
แต่ควรปรับเปลีย
่ นรูปแบบให ้เหมาะสม จากความคิดทีเ่ ป็ น
่ วามคิดทีเ่ ป็น
ปัจเจกบุคคลนิยม (Individualism) ไปสูค
สมาคมนิยม (Associationism)

กลุม
่ นีจ
้ ัดเป็ นกลุม
่ ทีม
่ ค
ี วามคิดในเชงิ ปฏิรป
ู (Reformation)
ซงึ่ เป็ นพืน
้ ฐานของความคิดแบบสหกรณ์นย
ิ ม
(Cooperativism)


กลุม
่ บุคคลทีม
่ ค
ี วามคิดในเชงิ ปฏิรป
ู ระบบทุนนิยมให ้มีความ
เหมาะสมกับสถานการณ์เป็ นกลุม
่ สายกลางระหว่างทุนนิยมกับ
สงั คมนิยม เรียกว่าพวกสมาคมนิยม นัน
้ มีความต ้องการทีจ
่ ะ
กาจัดปั ญหาความขัดแย ้งระหว่าง นายทุนก ับคนงาน หรือ
นายจ้างก ับลูกจ้าง อันเนือ
่ งมาจากผลประโยชน์ทข
ี่ ด
ั กัน
ความคิดหลัก คือการรวมกลุม
่ คนงานเพือ
่ เป็ นผู ้ประกอบการเอง
เป็นเจ้าของกิจการ(นายจ้าง)พร้อม ๆ ก ับเป็นลูกจ้างของ
ตนเองด้วย เพือ
่ ให ้นายทุน-คนงาน รวมอยูใ่ นคนเดียวกัน เมือ
่
นายจ ้าง-ลูกจ ้างเป็ นคน ๆ เดียวกันแล ้ว ปั ญหาการเอารัดเอา
เปรียบก็จะหมดไป
ในขณะนัน
้ มีหลายท่าน แต่จะกล่าวถึงเพียงบางท่านอย่างย่อ ๆ คือ
 โรเบอร์ต
 ชาร์ลส
โอเวน (Robert Owen : 1771-1858)
ฟูรเิ อ (Charles Marie Fourier : 1772-1837)
 นายแพทย์วล
ิ เลียม
คิง (Dr.William King : 1786-1865)




เป็ นชาวเวลส ์ เกิดทีเ่ มืองนิวทาวน์
บิดาเป็ นชา่ งทาอานม ้า -พ่อค ้าเครือ
่ งเหล็ก
เป็ นผู ้ทีต
่ ้องต่อสูกั้ บชวี ต
ิ มาตัง้ แต่เด็ก โดย
เป็ นลูกจ ้างในร ้านค ้าของเอกชน มาตัง้ แต่
อายุ 10 ขวบ
ด ้วยเหตุทเี่ ป็ นคนฉลาดและมีเพือ
่ นมากจึง
มีความคิดก ้าวหน ้าในทีส
่ ด
ุ ได ้เป็ นหุ ้นสว่ น
กิจการโรงงานปั่ นฝ้ ายทีแ
่ มนเชสเตอร์และ
เป็ นผู ้จัดการโรงงานทอผ ้า
ประสบการณ์ทเี่ ขาได ้รับทีเ่ มือง
แมนเชสเตอร์ มีอท
ิ ธิพลต่อโอเวนอย่าง
มาก ทัง้ ในเรือ
่ งอุตสาหกรรมการทอผ ้า
และปั ญหาในโรงงาน




โอเวนแต่งงานกับบุตรสาวเจ ้าของโรงงานทอผ ้าทีเ่ มืองลานาร์คในสก็อตแลนด์
เมือ
่ ปี 1799 และในปี 1800 ก็ได ้ไปเป็ นผู ้จัดการโรงงานทอผ ้าทีน
่ วิ ลานาร์ค
้
และได ้ใชโรงงานของเขาเป็
นทีท
่ ดลองความคิดเกีย
่ วกับ คนกับสภาพแวดลอม
้
โดยการปรับสภาพแวดล ้อมในการทางานและการความเป็ นอยูข
่ องคนงานใหม่
ื่ ว่า คนจะดีหรือเลวขึน
้ อยูก
โอเวนเชอ
่ ับสภาพแวดล้อม
การทดลองของเขาได ้ผลเป็ นทีน
่ ่าพอใจ จนโรงงานทอผ ้าทีน
่ วิ ลานาร์คมี
ื่ เสย
ี งและมีผู ้สนใจมาศก
ึ ษาวิธก
ชอ
ี ารทางานอยูเ่ ป็ นประจาแต่ผลในทางปฏิบต
ั ม
ิ ี
น ้อยมาก
โอเวนเห็นว่าการหาทางให ้นายทุนชว่ ยเหลือคนงานนัน
้ เป็ นเรือ
่ งทาได ้ยาก
ควรให ้คนงานชว่ ยตนเองจะเหมาะกว่าจึงเสนอโครงการตามความคิดดังกล่าว
ต่อสภาจังหวัดลานาร์ค คือ โครงการก่อตัง้ นิคมสหกรณ์ (Cooperative
Communities)



โครงการนิคมสหกรณ์ของโอเวน คงเป็ นเพียงโครงการในกระดาษอยู่
จนถึงปี ค.ศ. 1824 มีขา่ วประกาศขายทีด
่ น
ิ ในอเมริกา โอเวนจึงสนใจ
ื้ ไว ้ด ้วยเงินถึง 125,000 ดอลลาร์ทา่ มกลางการคัดค ้านของหุ ้นสว่ น
และซอ
นิคมสหกรณ์ทน
ี่ วิ ฮาร์โมนี (New Harmony : 1825-1827)
รัฐอินเดียนา จึงได ้ก่อตัวขึน
้ โดยโอเวนลงทุนเอง แต่สด
ุ ท ้ายก็ต ้อง
ล ้มเลิกไปพร ้อมกับการขาดทุนอย่างมาก จนโอเวนต ้องถอนตัวจาก
หุ ้นสว่ นโรงงานทอผ ้า เนือ
่ งจากหุ ้นสว่ นของโอเวนไม่พอใจ
ในเวลาไล่เลีย
่ กันได ้มีนค
ิ มสหกรณ์ทก
ี่ อ
่ ตัง้ ขึน
้ ตามแนวความคิด
ั ้ ๆ เชน
่ Orbiston 1825-1827,
ของโอเวนอีกหลายแห่งแต่ก็มอ
ี ายุสน
Ralahine 1831-1833 Queenwood 1839-1845 โดยกลุม
่ ทีเ่ รียกว่า
ิ ย์ของโอเวน (Owenite)
สานุศษ









ื่ มัน
เมือ
่ งานด ้านนิคมสหกรณ์ไม่ได ้ผลอย่างทีต
่ งั ้ ใจ แต่ความเชอ
่ ไม่ได ้ลดลง
โอเวนก็ได ้เดินทางกลับมาลอนดอนและทางานเป็ นนักเขียน
ื พิมพ์ของตนเอง ชอ
ื่ The Crisis เพือ
มีหนังสอ
่ เผยแพร่ความคิดของตน
โดยเฉพาะด ้านแรงงาน ได ้แสดงปาฐกถาใน ทีต
่ า่ ง ๆ และได ้เสนอ
แนวความคิดในเรือ
่ ง
สาน ักงานแลกเปลีย
่ นแรงงานอ ันเทีย
่ งธรรม
(The Equitable Labour Exchange) และ
บ ัตรแรงงาน (Labour Notes) ขึน
้
เพือ
่ การขจัดกาไรด ้วยความคิดทีว่ า่
กาไร เป็นบ่อเกิดของความเลวร้ายทงปวง
ั้
้ นตราเป็ นสอ
ื่ กลางในการแลกเปลีย
และทีม
่ าของกาไรเกิดจากการใชเงิ
่ น
แม ้จะมีการทดลองตัง้ สถานแลกเปลีย
่ นแรงงานขึน
้ แต่การดาเนินงานตาม
แนวความคิดของโอเวนก็ไม่ประสบความสาเร็จในทางปฏิบต
ั ิ
โอเวนมีงานเขียนทีส
่ าคัญหลายเล่ม คือ

A New View of Society

Report to the County of Lanark

The Book of the New Moral World

The Life of Robert Owen,
Written by himself
(four essays on the formation of the human character);
London, 1816
Glasgow, 1821
London, 1844
London 1857;

ื ค ้นข ้อมูลได ้จาก
สามารถสบ

http://robert-owen.midwales.com

The Robert Owen Museum,
The Cross, Broad Street, Newtown, Powys, SY16
2BB, U.K.
The Museum tells the remarkable story of
Robert Owen, born in Newtown (Powys) in 1771.
A village boy who hobnobbed with royalty,
A shop assistant who became a factory manager,
An educator with little education,
A rich man who fought for the poor,
A capitalist who became the first "socialist",
An individualist who inspired the Co-operative movement


ในชว่ งท ้ายของชวี ต
ิ โอเวนทุม
่ เทชวี ต
ิ ของเขาให ้กับงานด ้าน
้
แรงงาน
จนได ้รับการยกย่องนับถือจากกลุม
่ ผู ้ใชแรงงาน
เป็ นคนสาคัญคนหนึง่ กลุม
่ ผู ้นาสหภาพแรงงาน (Trade Union)
หลังจากโอเวนถึงแก่กรรมและมีการก่อตัง้ สหภาพสหกรณ์ขน
ึ้
แล ้วสหภาพสหกรณ์ของประเทศอังกฤษ ได ้จารึกข ้อความ
บนหลุมศพของ โอเวนว่า the Father of Co-operatives
อันเป็ นการยกย่องโอเวนในฐานะทีเ่ ป็ นผู ้ปลูกฝั งความคิดทาง
ื้ ยีสต์ในขนมปั ง
สหกรณ์ประดุจเป็ นเชอ









Charles Fourier เป็ นชาวฝรั่งเศส เกิดทีเ่ มืองเบซวั ซอง (Besançon)
ั ้ กลาง
เป็ นคนในตระกูลชนชน
เมือ
่ อายุได ้ 18 ปี มีการปฏิวต
ั ใิ นฝรั่งเศส ฟูรเิ อต ้องหนีเอาชวี ต
ิ รอด
ี ทรัพย์สน
ิ ไปมากมาย ต ้องใชช้ วี ต
สูญเสย
ิ ในประเทศต่าง ๆ ในยุโรป และ
กลับมาเป็ นทหารทีก
่ รุงปารีส
ฟูรเิ อ เป็ นผู ้มีประสบการณ์ชวี ต
ิ มาก เนือ
่ งจากการเดินทางไปต่างประเทศ
ได ้รู ้ได ้เห็นสภาพบ ้านเมืองขณะนัน
้
ได ้รับรู ้ถึงความเห็นแก่ตวั ของพ่อค ้า (เอาพืชอาหารไปทิง้ เพือ
่ ให ้ราคาสูงขึน
้ )
ผิดหวังกับการปฏิบต
ั ฝ
ิ รั่งเศสทีไ่ ม่มอ
ี ะไรดีขน
ึ้
ั
จึงเกิดความเบือ
่ หน่ายและมีความปรารถนาทีจ
่ ะได ้เห็น สงคมแบบใหม่
คนแบบใหม่ ทีม
่ เี สรีภาพ และ มีความเข้าใจก ัน




ฟูรเิ อ ได ้เสนอความคิดเกีย
่ วกับ
ฟาล ังก์สแตร์ (Phalanstere)
ซงึ่ มีลก
ั ษณะคล ้ายนิคมสหกรณ์ของ
โอเวน
แต่ตา่ งกันทีก
่ ารยอมรับนับถือใน
ิ ธิใ์ นทรัพย์สน
ิ ของเอกชน
กรรมสท
หรือความแตกต่างของบุคคล
ฟูรเิ อมีระดับการยอมรับมากกว่าโอเวน




ฟูรเิ อ มีความคิดทีจ
่ ะให ้คนงานและเจ ้าของกิจการเป็ นคนเดียวกัน เพือ
่ ให ้
คนงานมีความพอใจทีจ
่ ะไปทางาน(เพือ
่ ตนเอง) –ไม่ใชไ่ ปทาให ้คนอืน
่ --ึ ว่าการไปทางานเหมือนไปงานเลีย
ให ้รู ้สก
้ ง เป็ นแรงงานทีน
่ า
่ พิสม ัย
(Attractive Labour)
แนวความคิดของฟูรเิ อ จัดเป็ นสงั คมนิยมทีต
่ า่ งออกไปจาก Karl Marx
และมีการกล่าวถึงความคิดของฟูรเิ อในข ้อเขียนของ Karl Marx ด ้วย
Karl Marx also referred to Fourier in his writings, although he
rejected Fourier's works as ideological without any method of action;
Marx said Fourier was merely able to 'reject it [capitalism] as evil'
without justifying why.


ความคิดของฟูรเิ อ ได ้มีการนาไปทดลองปฏิบต
ั โิ ดยตัง้ ฟาลังก์
สแตร์ท ี่ บรูคฟาร์ม ในรัฐแมตซาซูเสต สหรัฐอเมริกาแม ้จะไม่
ประสบความสาเร็จเท่าทีค
่ วร
แต่ความคิดของฟูรเิ อก็มอ
ี ท
ิ ธิพลอย่างมากในการตัง้ สหกรณ์
คนงานในระยะต่อมา ซงึ่ มีความก ้าวหน ้ามากในประเทศฝรั่งเศส





นายแพทย์คงิ
เป็ นแพทย์อยูท
่ เี่ มืองไบรก์ตน
ั Brighton
เป็ นผู ้ทีส
่ นใจสถานการณ์บ ้านเมือง และ
คลุกคลีอยูก
่ บ
ั คนงานในโรงงาน
อุตสาหกรรมมาก
เป็ นผู ้หนึง่ ทีส
่ นใจติดตามความคิดของ
โอเวนมาตลอด
และมีความเห็นว่า แม ้ความคิดของ
โอเวนในเรือ
่ งนิคมสหกรณ์จะเป็ นเรือ
่ งดี
แต่ยังไม่ถก
ู ต ้องตามวิธป
ี ฏิบต
ั ิ




นายแพทย์คงิ เห็นว่าโอเวนนัน
้ ทาการใหญ่เกินไปในครัง้ เดียว
ไม่ชอบด ้วยวิธป
ี ฏิบต
ั ิ ควรจะค่อยเป็ นค่อยไป
ิ ค้าเล็ก ๆ ทีม
นายแพทย์คงิ เสนอว่า ควรก่อตัง้ เป็ น สมาคมจาหน่ายสน
่ ี
การสะสมทุนขึน
้ เองภายในก่อน (ซงึ่ ไม่มอ
ี ยูใ่ นความคิดของโอเวน) แล ้ว
จึงค่อยขยายไปเป็ นนิคมสหกรณ์ตามแบบของโอเวนในโอกาสต่อไป
ในปี 1827 นายแพทย์คงิ ได ้ร่วมมือกับคนงานทีเ่ มืองไบรก์ตน
ั ก่อตัง้
The Brighton Cooperative Benevolent Association และ
The Cooperative Trading Association


นอกจากนัน
้ ยังสง่ ถ่ายแนวคิด
ื พิมพ์
เป็ นบทความลงในหนังสอ
ื่ น ักสหกรณ์
ชอ
(The Cooperator)
ซงึ่ ถือว่า เป็ นนิตยสารทาง
สหกรณ์เล่มแรก ซงึ่ ได ้รับความ
นิยมแพร่หลายมากในชว่ งปี
1828-1830



ความคิดและการทดลองของนายแพทย์คงิ ในเรือ
่ งการตัง้ ร ้าน
ิ ค ้า จัดว่ามีความสาคัญ และมีอท
จาหน่ายสน
ิ ธิพลต่อการตัง้ ร ้าน
สหกรณ์รอชเดลในระยะต่อมาเป็ นอย่างมาก
กล่าวกันว่าในวงการสหกรณ์ผู ้บริโภค (ร ้านสหกรณ์) ยกย่อง
ี อีก
นายแพทย์คงิ มากกว่าโอเวนเสย
เมือ
่ ก่อตัง้ ร ้านสหกรณ์รอชเดลนัน
้ ผู ้นารอชเดลมีการนาเอา
แนวคิดของโอเวน และนายแพทย์คงิ มาเป็ นแนวทางและแก ้ไข
จุดบกพร่อง จนสามารถดาเนินงานได ้ผลดี
ตอนที่ 3
กาเนิดสหกรณ์แห่งแรกของโลก





สมาคมของผูน
้ าอ ันเทีย
่ งธรรมแห่งเมืองรอชเดล
The Rochdale Society of Equitable Pioneers
ี ร์
เมืองรอชเดล (Rochdale) อยูใ่ นมณฑลแลงคัชเชย
ทางเหนือของเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
เป็ นเมืองเล็ก ๆ ทีม
่ อ
ี ต
ุ สาหกรรมการทอผ ้า
และได ้รับผลกระทบจากการปฏิวต
ั ท
ิ างอุตสาหกรรม
่ เดียวกับเมืองอืน
เชน
่ ๆ
ชาวเมืองรอชเดลได ้ดิน
้ รนต่อสูกั้ บความยากลาบากมาตลอด
ตัง้ แต่ปลายคริสศตวรรษที่ 18 จนถึงกลางคริสศตวรรษที่ 19
่ ด
ปั ญหาต่าง ๆ ทวีความรุนแรงขึน
้ และเข ้าสูจ
ุ วิกฤตใน
ชว่ งเวลาของ ทศวรรษแห่งความอดอยาก หิวโหย
(The Hungry Forties) คือ ทศวรรษ 1840s





ื่
ก่อนหน ้าทีจ
่ ะมีการก่อตัง้ สมาคมสหกรณ์ทรี่ ู ้จักกันดีในชอ
สหกรณ์รอชเดล ขึน
้ มานัน
้
ชาวเมืองรอชเดลได ้เข ้าร่วม
่
กิจกรรมหลายอย่าง เชน
สมาคมกรรมกร (Trade Union)
สมาคมสงเคราะห์เพือ
่ น (Friendly Society) และ
ขบวนการทางการเมืองอืน
่ ๆ เพือ
่ การแก ้ปั ญหาทีป
่ ระสบอยู่
ิ ค ้า
นอกจากนัน
้ ยังมีประสบการณ์ในการตัง้ ร ้านจาหน่ายสน
ตามแนวความคิดของนายแพทย์คงิ ถึงสองครัง้ ในเมืองนี้
แม ้ว่าจะไม่ประสบความสาเร็จแต่ก็เป็ นประสบการณ์และ
รากฐานทางความคิดทีส
่ าคัญ ในเวลาต่อมา



ื่ มั่นในแนวความคิด
ทีส
่ าคัญก็คอ
ื ชาวเมืองรอชเดลยังมีความเชอ
เกีย
่ วกับนิคมสหกรณ์ตามแนวของโอเวนอยู่ และมีการนาเอาเรือ
่ งนี้
มาปรึกษาหารือกันเสมอ เพือ
่ เป็ นแนวทางในการแก ้ปั ญหา ทัง้ นี้
เพือ
่ ให ้พวกคนงานมีโรงงานทอผ ้า ทีน
่ า บ ้านพัก และโรงเรียน เป็ น
ิ ต ้องการมาเองโดย
ของชุมชนเอง สามารถจัดหาสงิ่ ของทีส
่ มาชก
ไม่ต ้องตกอยูใ่ ต ้อานาจกดขีข
่ องคนอืน
่ หรือต ้องไปทางานเพือ
่ หา
กาไรให ้แก่นายจ ้างทีเ่ ป็ นนายทุนหากแต่ได ้ทางานในโรงงานของ
ตนเอง เป็ นนายตนเอง
่ นัน
คนงานเหล่านีท
้ ราบดีวา่ พวกเขาไม่มท
ี น
ุ พอทีจ
่ ะดาเนินการ เชน
้
ได ้ทันที เพราะรายได ้ตา่ จนไม่มค
ี วามสามารถในการออม
การนัดหยุดงานเพือ
่ ต่อรอง ค่าแรงกับนายจ ้างก็ไม่ได ้ผลเพราะมีคน
ว่างงานทีต
่ ้องการทางานอยูม
่ าก


่ นัน
ทางออกเฉพาะหน ้าในเวลาทีค
่ บ
ั ขันเชน
้ ก็คอ
ื ต ้องหาทางที่
จะใชจ่้ ายเงินค่าจ ้างทีไ่ ด ้รับมาให ้เป็ นประโยชน์มากทีส
่ ด
ุ
ิ ค ้ามีราคาแพงเกินจริง คุณภาพเลว
ท่ามกลางภาวะตลาดทีส
่ น
ื้ สน
ิ ค ้าจากร ้านค ้าทีเ่ จ ้าของ
ซ้ายังปลอมปน หรือการจายอมซอ
ื่ (ให ้เชอ
ื่ นาน ๆ และดอกเบีย
โรงงานตัง้ ขึน
้ และขายเป็ นเงินเชอ
้
ื้ จากเงินค่าจ ้างทีไ่ ด ้รับ)
แพง หรือบังคับให ้ซอ
้ ใน
ทางทีเ่ ป็นไปได้คอ
ื การตงร้
ั้ านขายของของตนเองขึน
้ งต้น และขยายงานไปตามแนวทางทีก
เบือ
่ าหนดเพือ
่ เป็น
นิคมสหกรณ์ในทีส
่ ด
ุ

ผู ้นาของรอชเดลในขณะนัน
้ มีอยูห
่ ลายคน ทีม
่ บ
ี ทบาท
มากได ้แก่ James Smithies และ Charles Howarth
ซงึ่ มีความมั่นคง ในแนวความคิดทางสหกรณ์มาก และ
้
ั จูงอธิบายคนงานให ้
มักพยายามใชโอกาสที
ม
่ ใี นการชก
เข ้าใจ และเลือ
่ มใสวิธก
ี ารสหกรณ์ ทัง้ ยังได ้ร่าง
โครงการของรอชเดล (The Rochdale
Programme) หรือ Law First ขึน
้ เพือ
่ เป็ นแนวทางใน
การทางานด ้วย



โครงการของรอชเดล (The Rochdale Programme) หรือ
Law First
ิ ค ้า
บอกถึงกิจกรรมทีจ
่ ะทาเป็นลาด ับไป เริม
่ ต ้นจากการตัง้ ร ้านจาหน่ายสน
ั
ทีจ
่ าเป็ นในการอุปโภคบริโภคก่อน จากนัน
้ จะดาเนินการจัดสร ้างทีอ
่ ยูอ
่ าศย
ิ จัดหาทีด
ให ้สมาชก
่ น
ิ ทา การเกษตรกรรม โรงงานอุตสาหกรรม เพือ
่ ให ้
ิ มีงานทา สุดท ้ายคือการจัดระบบการผลิต การแจกจ่าย การบริโภค
สมาชก
หรือก็คอ
ื การเปลีย
่ นวิธก
ี ารทางเศรษฐกิจทีม
่ อ
ี ยูเ่ วลานัน
้ ให ้เป็ นวิธก
ี ารสหกรณ์
ในรูปของนิคมสหกรณ์ ตามแนวของนายแพทย์คงิ และ โอเวนนั่นเอง
ิ
นอกจากนัน
้ ยังมีเป้ าหมายทีจ
่ ะสง่ เสริมการงดเว ้นการดืม
่ สุรายาเมาแก่สมาชก
ิ ค ้าเมือ
โครงการนีไ้ ด ้มีการประกาศให ้ทราบทั่วกัน ในวันเปิ ดร ้านจาหน่ายสน
่
วันที่ 21 ธันวาคม 1844 ด ้วย



เมือ
่ มีโครงการแน่นอนแล ้ว ผู ้นารอชเดลก็เริม
่ ดาเนินการสะสมทุน
ิ ค ้า
เพือ
่ ก่อตัง้ ร ้านจาหน่ายสน
ิ คนละ 2 เพนนีตอ
ั ดาห์ มีเป้ าหมายว่า
โดยเก็บสะสมจากสมาชก
่ สป
ิ คนละ 4 ปอนด์
จะให ้ได ้เงินทุนเบือ
้ งต ้นจากสมาชก
ิ ทีร่ ว่ มโครงการ
แต่หลังจากเก็บสะสมอยูถ
่ งึ 2 ปี ก็ปรากฏว่ามีสมาชก
นีเ้ พียง 28 คน และสะสมทุนได ้คนละ 1 ปอนด์ เป็ นเงินทุนรวม 28
ปอนด์เท่านัน
้
(ลองเทียบกับเงินลงทุนในนิคมของโอเวน $125,000 )

ิ มีขน
การประชุมใหญ่สมาชก
ึ้ เมือ
่ เดือนสงิ หาคม 1844

จดทะเบียนเป็ นสมาคม ได ้ในเดือนตุลาคม 1844


ยังไม่สามารถเปิ ดดาเนินการได ้เพราะมีปัญหาเรือ
่ งทีต
่ ัง้ ร ้านค ้า
ั ้ ล่างของตึกเก่า ๆ ในตรอกคางคก
จนกระทั่งสามารถเชา่ ห ้องชน
ิ ค ้าได ้เมือ
(Toad Lane) ได ้ จึงสามารถเปิ ดร ้านจาหน่ายสน
่ วันที่
21 ธันวาคม 1844
ิ ค ้าจาหน่าย 5 ชนิด คือ เนยอ่อน น้ าตาล แป้ ง
ในครัง้ นัน
้ มีสน
ข ้าวโอ๊ต และเทียนไข


ิ ค ้าของนักสหกรณ์รอชเดล
แม ้การเปิ ดร ้านจาหน่ายสน
จะนามาซงึ่ การเย ้ยหยันจากผู ้คนรอบข ้าง แต่ด ้วยความมุง่ มั่น
และอดทนของผู ้นาทัง้ 28 คน ร ้านค ้าแห่งนัน
้ จึงเป็ นกาเนิด
ของสหกรณ์แห่งแรกของโลกในสมัยปั จจุบน
ั ทีย
่ ังดารงอยูจ
่ น
ทุกวันนี้
ในระยะเวลา 3 เดือนแรกของการดาเนินงาน ร ้านสหกรณ์แห่งนี้
ื้ ได ้ถึง 3 เพนนีตอ
ื้ 1
สามารถเฉลีย
่ คืนตามยอดซอ
่ ยอดซอ
ื้ สน
ิ ค ้าจาก
ปอนด์ ซงึ่ เป็ นการเริม
่ ต ้นให ้เห็นคุณค่าของการซอ
ร ้านสหกรณ์ และอาจกล่าวได ้ว่าสงิ่ นีเ้ ป็ นกุญแจแห่ง
ความสาเร็จของร ้านสหกรณ์รอชเดล
ซงึ่ ต่อมาม ักเรียกว่า หล ักสหกรณ์รอชเดล ได้แก่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ี ง)
การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คน หนึง่ เสย
ิ (สมัครใจ)
การมีเสรีภาพในการเข ้าเป็ นสมาชก
การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
ื้
การเฉลีย
่ คืนตามสว่ นแห่งการซอ
ิ ค ้าเป็ นเงินสด ไม่ปลอมปน ไม่โกงตาชงั่
การขายสน
ึ ษาในหมูส
ิ
การสง่ เสริมการศก
่ มาชก
การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
่ ลักการสหกรณ์สากล
หลักเหล่านีเ้ ป็ นต ้นทางของการพัฒนาไปสูห
ในระยะต่อ ๆ ไป


เมือ
่ ร ้านสหกรณ์รอชเดลดาเนินงานอย่างได ้ผลดี ในเวลา
ต่อมาก็มรี ้านสหกรณ์ในลักษณะเดียวกันเกิดขึน
้ อย่างรวดเร็ว
เป็ นจานวนมาก และอิงกับสหกรณ์รอชเดลในฐานะทีเ่ ป็ น
ต ้นแบบ
ในปี 1850 ร ้านสหกรณ์รอชเดลจึงตัง้ แผนกขายสง่ ขึน
้ เพือ
่
ทาหน ้าทีข
่ ายสง่ ให ้สหกรณ์อน
ื่ แต่การดาเนินงานไม่ได ้ผลดี
ื้ สน
ิ ค ้าจากพ่อค ้าสง่ อยูเ่ ชน
่ เดิม ทางทีจ
นักเพราะยังต ้องซอ
่ ะ
่ เป็นสหพ ันธ์ของร้าน
ได ้ผลดีคอ
ื ต ้องมี สหกรณ์ขายสง
สหกรณ์ แต่กว่าจะจัดให ้มีสหกรณ์ขายสง่ ได ้อย่างถูกต ้อง
ก็ถงึ ปี 1863 เพราะก่อนนัน
้ กฎหมายไม่เปิ ดโอกาสให ้ทาได ้


จนถึงปี 1862 จึงมีการแก ้ไขกฎหมายให ้มีการตัง้ สหพันธ์
ื่ ว่า
สหกรณ์ได ้ สหกรณ์ขายสง่ แห่งแรกทีต
่ งั ้ ขึน
้ มีชอ
่ แห่งภาคเหนือของอ ังกฤษ
สหกรณ์ขายสง
(The North of England Co-operative Wholesale Society
Ltd.) เริม
่ ดาเนินงานตัง้ แต่ปี 1864 และในปี 1872 ได ้เปลีย
่ น
่
ื่ เป็ น สหกรณ์ขายสง
ชอ
(The Co-operative Wholesale Society : C.W.S.)
ิ ค ้า
ในเวลาต่อมาไม่เพียงทาหน ้าทีข
่ ายสง่ เท่านัน
้ แต่ยังผลิตสน
เองด ้วยจัดว่าเป็ นสหกรณ์ขายสง่ ทีใ่ หญ่ทส
ี่ ด
ุ แห่งหนึง่

สหกรณ์ขายสง่ ถือว่าเป็ นสหพันธ์สหกรณ์ คือเป็ นองค์การ ขัน
้ สูง
ิ เป็ นร ้านสหกรณ์) ซงึ่ ทาหน ้าที่
ของสหกรณ์ผู ้บริโภค (มีสมาชก
ทางด ้านธุรกิจเท่านัน
้ ดังนัน
้ เพือ
่ ให ้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน
้ บรรดาร ้าน
สหกรณ์ตา่ ง ๆ จึงได ้ร่วมกันจัดตัง้
สหภาพสหกรณ์ (Co-operative Union)
ขึน
้ ในปี 1873 เป็ นองค์การขัน
้ สูงทีท
่ าหน ้าทีท
่ ไี่ ม่เกีย
่ วกับธุรกิจ
การค ้า ได ้แก่ การเผยแพร่กจิ การสหกรณ์ การปกป้ องคุ ้มครอง
ึ ษาอบรม การกาหนด
ผลประโยชน์ของสหกรณ์การให ้การศก
ิ
แนวนโยบายสว่ นรวมสาหรับสหกรณ์สมาชก


www.co-op.co.uk
The Co-operative Group
the Co-operative Group
Customer Relations
Freepost MR9473
Manchester M4 8BA
www.co-operative.coop
www.coop.co.uk
United.coop
United Co-operatives Limited
Sandbrook Park
Sandbrook Way
Rochdale
OL11 1RY

http://www.co-op.ac.uk

http://museum.co-op.ac.uk

The Rochdale Pioneers Museum was opened
in April 1931 at 31 Toad Lane, Rochdale in the
building where the Rochdale Equitable
Pioneers Society opened their first store on
21st December 1844.
ตอนที่ 4
กาเนิดสหกรณ์เครดิต
และสหกรณ์แปรรูปทางการเกษตร


กาเนิดสหกรณ์เครดิตในประเทศเยอรมัน
กาเนิดสหกรณ์แปรรูปทางการเกษตรใน
ประเทศเดนมาร์ค

ประเทศเยอรมันเป็ นต ้นกาเนิดของสหกรณ์เครดิต ซงึ่ ทาหน ้าที่
ิ เชอ
ื่ ให ้แก่สมาชก
ิ เพือ
หลักในการบริการทางการเงินประเภทสน
่
วัตถุประสงค์ตา่ ง ๆ ซงึ่ ต่อมาได ้มีการขยายตัวไปในรูปของ
สหกรณ์ออมทรัพย์ (และเครดิต) เครดิตยูเนียน และสหกรณ์
การเกษตร (สหกรณ์หาทุน) ทีม
่ แ
ี พร่หลายอยูท
่ ั่วโลก สาหรับ
สหกรณ์เครดิตทีเ่ กิดขึน
้ ในประเทศเยอรมันนัน
้ มี 2 รูป คือ

• สหกรณ์เครดิตในเมือง (Urban Credit Society)
• สหกรณ์เครดิตในชนบท (Rural Credit Society)


เฮอร์ม ัน ชูลส ์ เดลิทซ ์ (Hermann Schulze Delitzsch)
เป็ นผู ้ริเริม
่ สหกรณ์เครดิตในเมืองหรือ ธนาคารประชาชน
(People’s Bank)
เฟรดริค วิลเฮม ไรฟไฟเซน (Friedrich Wilhelm
Raiffeisen) เป็ นผู ้ริเริม
่ สหกรณ์เครดิตในชนบท และสหกรณ์
้
รูปนี้ คือรูปแบบทีม
่ ก
ี ารนามาใชในประเทศไทย
เป็ นครัง้ แรกที่
เรียกว่า สหกรณ์หาทุน
และเป็ นต ้นทางของ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์
รวมถึง เครดิตยูเนียน ในประเทศไทย





สหกรณ์รป
ู นีม
้ ก
ี าเนิดขึน
้ ในย่าน
ธุรกิจด ้านตะวันออกของ
ประเทศเยอรมัน
ี )
(ขณะนัน
้ เรียกว่า ปรัสเซย
ใน ปี 1852
ทีเ่ มืองเดลิทซ ์ (Delitzsch)
โดยการริเริม
่ ของชูลส ์ เดลิทซ ์
ิ รัฐสภาปรัสเซย
ี
ซงึ่ เป็ นสมาชก
Franz Hermann Schulze-Delitzsch
(August 29, 1808 - April 29, 1883)


ในปี 1848 ชูลส ์ เดลิทซ ์ ได ้เป็ นประธานกรรมาธิการสอบสวน
ภาวะของกรรมกรชา่ งฝี มือ และผู ้ประกอบการค ้าขนาดเล็กของ
ตนเอง จากการทางานในหน ้าทีด
่ งั กล่าว ทาให ้เขารับทราบถึง
ิ ความคิดทีจ
้ น
ต ้นเหตุของปั ญหาทีเ่ กิดขึน
้ ว่ามาจาก ภาวะหนีส
่ ะ
ตัง้ สมาคมให ้กู ้ยืมแก่บค
ุ คลเหล่านีจ
้ งึ เกิดขึน
้
ในระยะแรกเริม
่ ต ้นได ้ก่อตัง้ ในลักษณะการสงเคราะห์กอ
่ น แต่การ
ดาเนินการไม่ได ้ผลดีจงึ มีการปรับรูปแบบให ้บรรดาชา่ งฝี มือ
กรรมกร แลผู ้ประกอบการ ขนาดเล็ก รวมตัวกันเป็ นสมาคมของ
ตนในลักษณะการชว่ ยตนเองและชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน ซงึ่ เป็ น
ต ้นแบบของสหกรณ์เครดิตในเมือง



ิ กู ้ยืมในอัตราดอกเบีย
ด ้วยเหตุทม
ี่ ก
ี ารจัดหาเงินทุนให ้สมาชก
้
ิ จึงเรียกกันว่าเป็ น
พอควรจึงเท่ากับเป็ นธนาคารของสมาชก
ธนาคารประชาชน (People’s Bank)
ิ ไม่จากัดแต่ต ้องเป็ นผู ้มีความ
สหกรณ์แบบนี้ จะรับสมาชก
ื่ ถือของสมาชก
ิ อืน
้ ก
ประพฤติดเี ป็ นทีเ่ ชอ
่ ในระยะแรกใชหลั
ความรับผิดไม่จากัด ต่อมาเมือ
่ กฎหมายเปิ ดโอกาสให ้จึงหันมา
้ กความรับผิดจากัด และเป็ นสหกรณ์ชนิดทีม
ใชหลั
่ ห
ี ุ ้น
ั ้ และต ้องมีหลักประกันอาจเป็ น
การกู ้ยืมสว่ นมากเป็ นระยะสน
บุคคลหรือหลักทรัพย์ก็ได ้



ี ตะวันตก
สหกรณ์รป
ู นีม
้ ก
ี าเนิดในซก
ของเยอรมันแถบแคว ้นไรน์ ซงึ่ เป็ น
ด ้านเกษตรกรรมในชนบท
โดยไรฟไฟเซนซงึ่ เป็ น
นายกเทศมนตรีเมืองเฮดเดรสดอฟ
(Heddesdorf) (ปั จจุบน
ั คือเมือง
Neuwied )
Raiffeisen เป็ นนายกเทศมนตรีอยู่
หลายเมือง ในชว่ งปี 1845-1865
Friedrich Wilhelm Raiffeisen
(May 3, 1818 – May 11, 1888)

เริม
่ ต ้นได ้สนับสนุนให ้มีการตัง้ สมาคมจาหน่ายมันฝรั่งและ ขนมปั ง
แก่คนยากจนในราคาถูก คือ the “Verein für Selbstbeschaffung
von Brod und Früchten” (Society for bread and grain supply).
ขึน
้ ก่อน ในชว่ งปี 1847-1848 เพือ
่ ชว่ ยสงเคราะห์คนจน อันเป็ นผล
จากภาวะวิกฤติทางการเกษตร ในปี 1846-1847 (ทศวรรษแห่งความ
หิวโหย)
่ ารให ้เงินกู ้และจัดหาปั จจัยการ
แล ้วจึงขยายผลแนวความคิดไปสูก
ผลิตมาจาหน่าย เนือ
่ งจากพบพบว่าความต ้องการทีแ
่ ท ้จริงของผู ้คน
ิ เชอ
ื่ (เงินทุน)
ขณะนัน
้ คือ สน


อย่างไรก็ตามการดาเนินงานตามแนวนีพ
้ บว่าไม่ได ้ผล
ี ใหม่
อย่างถาวร ไรฟไฟเซนจึงมีการปรับปรุงวิธก
ี ารเสย
้ ก
ให ้เกษตรกรมีการรวมตัวกันชว่ ยตนเองโดยใชหลั
ื่ มั่นแก่เจ ้าหนี้
ความรับผิดไม่จากัดเป็ นประกันความเชอ
สหกรณ์เครดิตในชนบทสมาคมแรกทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะเป็ น
สหกรณ์ ทีแ
่ ท ้จริงตัง้ ขึน
้ ที่ อ ันเฮาเซนซงึ่ เป็ นหมูบ
่ ้านเล็ก
ๆ ในเขตเวสเตอร์วล
ั (Westerwald) เมือ
่ ปี 1862 และเป็ น
ต ้นแบบของสหกรณ์รป
ู นีต
้ อ
่ มา

หลังจากมีสหกรณ์เครดิตในระดับเมืองแล ้ว
ปี 1872 ก็ได ้ตัง้ ธนาคารสหกรณ์ระดับภาค (regional
cooperative bank)

ปี 1876 ตัง้ เป็ นระดับชาติ


ปี 1877 ก็รวมเข ้าเป็ นระบบเดียวกัน ซงึ่ คือจุดเริม
่ ต ้นของ
เครดิตยูเนียน (Credit Union) ทีม
่ ก
ี ารขยายตัวในเวลาต่อมา
ในประเทศต่าง ๆ ทัง้ เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์


สหกรณ์แปรรูปนมเนยในเดนมาร์กตัง้ ขึน
้
ทีเ่ มือง Hjedding ปี ค.ศ. 1882
ผลของทศวรรษแห่งความหิวโหย (The
Hungry Forties) มีผลกระทบต่อ
การเกษตรของเดนมาร์คซงึ่ เป็ นแหล่งปลูก
ข ้าวสาลีของยุโรปอย่างมาก จนเป็ นเหตุให ้
ั ว์แทน โดย
เดนมาร์คหันมาทาการปศุสต
พืน
้ ฐานสาคัญมาจาก Folk High
Schools ซงึ่ ก่อตัง้ ครัง้ แรกเมือ
่ ปี 1844 ที่
เมือง Rødding โดย Kristen Kold ตาม
แนวคิดของ Bishop Grundtwig
(Nikolaj Frederik Severin Grundtvig)
Bishop Grundtwig
1783-1882



ั ว์ของเกษตรกร ได ้ความรู ้จากโรงเรียนดังกล่าว
การทาปศุสต
ั ้ ต่างกันออกไป)
(ปั จจุบน
ั มีอยูก
่ ว่า 100 แห่ง มีหลักสูตรระยะสน
ในระยะแรกยังมีลก
ั ษณะต่างคนต่างทา โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
เลีย
้ งโคนม เพือ
่ นาน้ านมมาทาเนย ทีเ่ ป็ นการทาแต่ละ
ครัวเรือน
ตามประวัตก
ิ ล่าวว่า วันหนึง่ ในปี 1881 มีชายคนหนึง่ เข ้าไปใน
หมูบ
่ ้านทีเ่ มือง Hjedding พร ้อมกับประกาศว่าให ้ชาวบ ้านมา
ชุมนุมกัน จะบอกวิธท
ี าเนยแข็งคุณภาพดีให ้ เมือ
่ ชาวบ ้านมา
รวมตัวกันแล ้วชายคนนัน
้ กลับบอกว่า การทีต
่ า่ งคนต่างทาที่
บ ้าน จะไม่ได ้เนยทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพดีพอ ทัง้ ยังมีความแตกต่างกัน
ทาให ้จาหน่ายได ้ในราคาตา่ ควรจะรวมก ันแล้วจ้างผู ้
ชานาญมาให้คาแนะนาจะได้ผลผลิตทีด
่ ก
ี ว่า


ผลจากคาแนะนาครัง้ นัน
้ ทาให ้เกษตรกรในเมือง Hjedding
ซงึ่ มีพน
ื้ ฐานทีด
่ ม
ี าจาก the folk high school ไม่ได ้รวมกัน
ี่ วชาญมาให ้คาแนะนา หากแต่ได ้มีการรวมตัว
เพือ
่ จ ้างผู ้เชย
กัน ตัง้ โรงงานเพือ
่ แปรรูปผลผลิตนมเป็ นเนยแข็ง ทาให ้ได ้
เนยทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพเดียวกัน และสามารถจาหน่ายได ้ในราคาดี
สหกรณ์แปรรูปทางการเกษตรแห่งแรก จึงถือกาเนิดขึน
้ ใน
ประเทศเดนมาร์ค ในรูปสหกรณ์แปรรูปนมเนย ในปี 1882
่ หกรณ์แรกของประเทศเดนมาร์ค เพราะก่อนหน ้า
(แต่ไม่ใชส
นีม
้ ส
ี หกรณ์ร ้านค ้าเกิดขึน
้ แล ้ว ทีเ่ มือง Thisted ในปี 1866)
ตอนที่ 5
หล ักการสหกรณ์
Cooperative Principles
 พัฒนาการของหลักการสหกรณ์
 หลักสหกรณ์สากล



หลักการสหกรณ์ กาเนิดมาพร ้อมกับกาเนิดของสหกรณ์แห่งแรก
ของโลก คือ สมาคมของผู ้นาอันเทีย
่ งธรรมแห่งเมืองรอชเดล
เมือ
่ ค.ศ.1844 หรือกว่า 160 ปี มาแล ้ว
ในวาระของกาเนิดสหกรณ์รอชเดลนัน
้ ผู ้นารอชเดลได ้มีการ
กาหนดหลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดลไว ้หลายประการเพือ
่ เป็ น
แนวทางสาหรับสหกรณ์อน
ื่ ๆ ทีเ่ กิดขึน
้ ในระยะต่อมา
หลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดลเหล่านี้ ต่อมาได ้มีการประมวลไว ้
เป็ นหลักสาคัญรวม 7 ประการ ซงึ่ เป็ นทีม
่ าของหลักสหกรณ์สากล


เมือ
่ มีหลักปฏิบต
ั ข
ิ องนักสหกรณ์รอชเดล 7 ประการ แล ้ว
้ นแนวปฏิบต
ตัง้ แต่ปี ค.ศ.1844 ก็ได ้ใชเป็
ั ข
ิ องสหกรณ์
ต่าง ๆ ทีก
่ าเนิดขึน
้ ในระยะต่อมาเรือ
่ ยมา
ั พันธภาพสหกรณ์ระหว่าง
ต่อมาเมือ
่ มีการก่อตัง้ สม
ประเทศ (International Cooperative Alliance : ICA)
ขึน
้ ในปี ค.ศ.1895 ICA จึงเริม
่ เข ้ามามีบทบาทในการ
้
รับรองหลักการสหกรณ์สากล โดยใชแนวปฏิ
บต
ั ข
ิ อง
สหกรณ์รอชเดลเป็ นหลักในการพิจารณาความเป็ น
ิ
“สหกรณ์” ของประเทศต่าง ๆ ทีส
่ มัครเข ้าเป็ นสมาชก
ของ ICA
 หลักสหกรณ์รอชเดล
1844
่ ลักสหกรณ์
 การปรับปรุงหลักสหกรณ์รอชเดลไปสูห
สากล
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 1 : ค.ศ. 1937
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 2 : ค.ศ. 1966
• การปรับปรุงหลักสหกรณ์สากล ครัง้ ที่ 3 : ค.ศ. 1995
 หลักสหกรณ์สากลในปั จจุบน
ั
ิ ทัว่ ไป
1. การเปิ ดรับสมาชก
Open Membership
ี ง)
2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คนหนึง่ เสย
Democratic Control (One Man, One Vote)
ื้
3. การเฉลีย
่ คืนสว่ นเกินตามสว่ นแห่งการซอ
Distribution of Surplus in Proportion to Trade
4. การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
Payment of Limited Interest on Capital
5. การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
Political and Religious Neutrality
6. การทาการค ้าด ้วยเงินสด
Cash Trading
ึ ษา
7. การสง่ เสริมการศก
Promotion of Education
หลักมูลฐาน Fundamental Principles 4 ประการ
หลักประกอบ Subsidiary Principles 3 ประการ
หลักมูลฐาน Fundamental Principles
ิ ทั่วไป
1.การเปิ ดรับสมาชก
Open Membership
ี ง)
2.การควบคุมแบบประชาธิปไตย (หนึง่ คนหนึง่ เสย
Democratic Control (One Man, One Vote)
ื้
3.การเฉลีย
่ คืนสว่ นเกินตามสว่ นแห่งการซอ
Distribution of Surplus in Proportion to Trade
4.การจ่ายดอกเบีย
้ แก่เงินทุนในอัตราจากัด
Payment of Limited Interest on Capital
หลักมูลฐาน Fundamental Principles
หลักประกอบ Subsidiary Principles
หลักประกอบ Subsidiary Principles 3 ประการ
5.การเป็ นกลางทางการเมืองและศาสนา
Political and Religious Neutrality
6.การทาการค ้าด ้วยเงินสด
Cash Trading
ึ ษา
7.การสง่ เสริมการศก
Promotion of Education
ิ ด ้วยความสมัครใจ และไม่กด
ิ
1.การเป็ นสมาชก
ี กันการเข ้าเป็ นสมาชก
Voluntary Membership ; unrestricted membership wherever
possible;
2.การควบคุมตามหลักประชาธิปไตย และการดาเนินงานเป็ นอิสระ
Democratic control (one member, one vote) ; autonomy;
3.การจากัดดอกเบีย
้ ทีใ่ ห ้แก่ทน
ุ เรือนหุ ้น
Limited interest on share capital, if any return is involved;
4.
5.
6.
4.การจัดสรรเงินสว่ นเกินเพือ
่ การพัฒนาสหกรณ์ เพือ
่ จัดบริการเพือ
่ สว่ นรวม
ิ ตามสว่ นแห่งธุรกิจทีท
และ เฉลีย
่ คืนแก่สมาชก
่ ากับสหกรณ์
The economic results to be devoted to the development of the
cooperative, to the provision of the common services, or to
bedistributed to members in proportion to their transactions with
the society;
ึ ษาอบรมทางสหกรณ์
5.การสง่ เสริมการศก
Measures for the provision of education;
6.การร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ทัง้ ปวง
Cooperation among cooperatives at all levels;
หล ักสหกรณ์ 1995
ิ ทั่วไปและด ้วยความสมัครใจ
1.การเปิ ดรับสมาชก
Voluntary and Open Membership
ิ ตามหลักประชาธิปไตย
2.การควบคุมโดยสมาชก
Democratic Member Control
ิ
3.การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชก
Member Economic Participation
4.การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
Autonomy and Independence
ึ ษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
5.การศก
Education, Training and Information
6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
Co-operation among Co-operatives
7.ความเอือ
้ อาทรต่อชุมชน
Concern for Community

ั พันธภาพ
ก่อนหน ้าทีจ
่ ะมีแถลงการณ์ปี ค.ศ.1995 นัน
้ สม
สหกรณ์ระหว่างประเทศได ้ให ้การรับรองหลักสหกรณ์สากล
6 ประการ ไว ้เมือ
่ คราวประชุมสมัชชาครัง้ ที่ 23 ทีก
่ รุง
เวียนนา ประเทศออสเตรีย เมือ
่ วันที่ 8 กันยายน 2509
้
(ค.ศ.1966) และถือใชมาเป็
นเวลาเกือบ 30 ปี โดยได ้
นิยามหลักการสหกรณ์ไว ้ว่า “วิธป
ี ฏิบ ัติอ ันจาเป็นทีไ่ ม่อาจ
หลีกเลีย
่ งได้โดยเด็ดขาด ต่อการบรรลุความมุง่ หมาย
ของสหกรณ์”

ผู ้คนสว่ นใหญ่มก
ั มีความเข ้าใจว่า “หลักการสหกรณ์”
เป็ นเสมือน “กฎเหล็ก”ทีต
่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามแบบคาต่อคา ใน
ทัศนะหนึง่ อาจจะเป็ นการถูกต ้องเมือ
่ หลักการสหกรณ์ใช ้
เป็ นเครือ
่ งวัดมาตรฐาน(ของความเป็ นสหกรณ์) แต่ในอีก
ทัศนะหนึง่ ก็ต ้องมีความจากัด หรือยกเว ้นการปฏิบัตต
ิ ามนัน
้
บางอย่าง เมือ
่ ต ้องการกระตุ ้นให ้เกิดการปฏิบต
ั อ
ิ น
ื่ ๆ
(อย่างได ้ผล)


หลักการสหกรณ์ กล่าวได ้ว่าไม่ได ้เป็ นแต่เพียงข ้อบัญญัต ิ แต่ยงั
ิ ใจ การให ้
เป็ นแนวทางในการวินจ
ิ ฉัยพฤติกรรมและการตัดสน
ความสนใจเพียงว่าสหกรณ์นป
ี้ ฏิบต
ั ต
ิ ามข ้อกาหนดของหลักการ
สหกรณ์หรือไม่ คงไม่เป็ นการเพียงพอ หากแต่ควรสนใจถึงจิต
่ เดียวกับทีต
วิญญาณของสหกรณ์ด ้วย เชน
่ ้องสนใจว่าหลักการ
สหกรณ์แต่ละข ้อได ้รับการปฏิบต
ั อ
ิ ยูต
่ ลอด เวลาทัง้ ในระดับ
ิ โดยรวม
ปั จเจกบุคคลและมวลสมาชก
่ งิ่ ทีเ่ ขียนไว ้บนกระดาษเพือ
ด ้วยเหตุนห
ี้ ลักการสหกรณ์จงึ ไม่ใชส
่
ทบทวนเป็ นระยะ ๆ เพียงเพือ
่ ให ้มีความเหมาะสมตามกาลสมัย
แต่เป็ นสงิ่ ทีช
่ ว่ ยสร ้างข่ายในการรวมอานาจ สร ้างพลังให ้แก่
ทุกสว่ นทีส
่ หกรณ์จะเกาะเกีย
่ วไปได ้ในอนาคต


หลักการสหกรณ์ ถือเป็ นหัวใจของวิสาหกิจสหกรณ์
โดยทีแ
่ ต่ละข ้อจะเป็ นอิสระจากข ้ออืน
่ ๆ มิได ้
ั พันธ์ซงึ่ กันและกัน
ทุกข ้อล ้วนมีความสม
หากหลักการข ้อหนึง่ ข ้อใด ถูกละเลยจะเป็ นผลให ้หลักการ
ข ้ออืน
่ ๆ ลดความสาคัญลงด ้วย
“สหกรณ์” จึงไม่อาจได ้รับการวินจ
ิ ฉัย (ว่าเป็ นสหกรณ์) โดย
พิจารณาจากหลักการสหกรณ์ทล
ี ะข ้อ ๆ ได ้ หากแต่ต ้อง
พิจารณาจากการผนึกแน่นกับหลักการสหกรณ์ทก
ุ ข ้อโดยรวม
พร ้อมกัน

หลักการสหกรณ์ ตามทีป
่ รากฏในแถลงการณ์วา่ ด ้วยเอกลักษณ์
ของการสหกรณ์ในปี 1995 มีด ้วยกัน 7 ประการ ประกอบด ้วย
ิ ทั่วไปด ้วยความสมัครใจ หลักการควบคุมแบบ
หลักการเปิ ดรับสมาชก
ิ หลักการมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยมวล
ประชาธิปไตยโดยมวลสมาชก
ิ หลักการปกครองตนเองและความมีอส
ึ ษา
สมาชก
ิ ระ หลักการให ้การศก
การฝึ กอบรม และข่าวสาร หลักการร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ และหลักการ
เอือ
้ อาทรต่อชุมชน

หล ักสามประการแรก
ถือว่าเป็ นสภาพพลวัตภายในทีม
่ ี
ี่ ระการหล ัง
ความสาคัญมากสาหรับแต่ละสหกรณ์ สว่ นหล ักสป
ั พันธ์ท ี่
จะเกีย
่ วข ้องทัง้ กับการดาเนินงานภายใน และความสม
สหกรณ์มก
ี บ
ั ภายนอกด ้วย
ิ ทั่วไปและด ้วยความสมัครใจ
1.การเปิ ดรับสมาชก
Voluntary and Open Membership
ิ ตามหลักประชาธิปไตย
2.การควบคุมโดยสมาชก
Democratic Member Control
ิ
3.การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชก
Member Economic Participation
4.การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
Autonomy and Independence
ึ ษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
5.การศก
Education, Training and Information
6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
Co-operation among Co-operatives
7.ความเอือ
้ อาทรต่อชุมชน
Concern for Community


ในชว่ งปี ค.ศ.1970 ถึง 1995
เศรษฐกิจแบบตลาดได ้มี
ั
การขยายตัวอย่างสูงและมีผลกระทบไปทัว่ โลกอย่างเห็นได ้ชด
ข ้อจากัดหรือการกีดกันทางการค ้าทีม
่ อ
ี ยูเ่ ดิมได ้มีการ
เปลีย
่ นแปลงอย่างมาก
่ การกาหนดเขตการค ้าเสรี
การเปลีย
่ นแปลงดังกล่าวนัน
้ เชน
ิ ค ้าเกษตรกรรมของรัฐบาล การทบทวน
การลดการอุดหนุนสน
กฎเกณฑ์ในอุตสาหกรรมการเงิน ล ้วนแต่คก
ุ คามโครงข่ายทาง
เศรษฐกิจทีเ่ คยครอบคลุมกิจกรรมของสหกรณ์ตา่ ง ๆ ที่
ดาเนินมานานติดต่อกันหลายทศวรรษ
ิ หน ้ากับการแข่งขันทีร่ น
สหกรณ์ต ้องเผชญ
ุ แรงและเข ้มข ้นขึน
้
ื่ สารทีท
การใชข้ ้อได ้เปรียบจากระบบการสอ
่ น
ั สมัย ทาให ้
“เงินทุน” มีอท
ิ ธิพลเหนือโลกได ้ (โดยมีการรบกวนเพียง
เล็กน ้อย) เพือ
่ แสวงหาลูท
่ างการลงทุนทีด
่ ี เมือ
่ มองผลทาง
เศรษฐกิจย่อมหมายความว่า สหกรณ์ทงั ้ หลายกาลังพบว่า
ิ หน ้ากับธุรกิจข ้ามชาติขนาดใหญ่ ทีม
ตนเองกาลังเผชญ
่ ค
ี วาม
ิ ธิทางกฎหมาย ซงึ่ สหกรณ์
ได ้เปรียบทัง้ ในด ้านเงินทุนและสท
ทัง้ หลายไม่ม ี


ิ หน ้ากับ “สอ
ื่ ” และ
สหกรณ์ทงั ้ หลายก็กาลังเผชญ
ึ ษา” นานาชาติ ทีล
“สถาบันการศก
่ ้วนแต่เน ้นย้าถึงธุรกิจที่
เป็ นเจ ้าของโดยนักลงทุน(เท่านัน
้ )
่ ารวิพากษ์ วจ
ประเด็นนีน
้ าไปสูก
ิ ารณ์ถงึ คุณค่าของวิสาหกิจ
่ สหกรณ์) ใน
ทีม
่ ก
ี ารควบคุมแบบประชาธิปไตย(อย่างเชน
เรือ
่ งการจัดสรรผลประโยชน์แก่ประชาชน (ว่ามีอยู่
อย่างไร?)


ึ เหิมของวิสาหกิจทุนนิยม ได ้สน
ั่ คลอนความเชอ
ื่ มัน
การเติบโตฮก
่
ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นระบบสหกรณ์อย่างรุนแรง โดยเฉพาะในประเทศแถบแอ
ิ หน ้าเชน
่ นี้ จาเป็ นทีจ
ตแลนติคเหนือ การเผชญ
่ ะต ้องสร ้างความ
ั เจนว่า “สหกรณ์” มีคณ
ชด
ุ ค่าและมีเอกลักษณ์อย่างไร
ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก
การผ่อนคลายของระบบ
เศรษฐกิจทีค
่ วบคุมจากสว่ นกลางทาให ้ประเด็นเกีย
่ วกับบทบาท
ของสหกรณ์ได ้รับการกล่าวถึงมากขึน
้ แต่จะอย่างไร ก็ตาม แม ้
โอกาสในการกาเนิดสหกรณ์ใหม่ ๆ จะเปิ ดกว ้างรออยู่ แต่กจ
็ ะไม่
ั เจนว่า
สามารถมีสหกรณ์เกิดขึน
้ ได ้ หากไม่มค
ี วามเข ้าใจทีช
่ ด
จะต ้องดาเนินการอย่างไร หรือจะได ้รับการสนับสนุนอย่างไร

ี
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมภ
ิ าคเอเชย
กลุม
่ ลาตินอเมริกาบางสว่ น และอาฟริกา ได ้ก่อให ้เกิดความ
แตกต่างในโอกาสของการเติบโตของสหกรณ์ แท ้จริงแล ้ว
ั ้ นาในกลุม
ั เจน
สหกรณ์ชน
่ ประเทศเหล่านี้ ได ้ให ้ภาพทีช
่ ด
และสดใสสาหรับการเคลือ
่ นตัวของขบวนการสหกรณ์ใน
อนาคต







การเปลีย
่ นแปลงพืน
้ ฐานทีเ่ กีย
่ วข ้องกับเงือ
่ นไขของบุคคลที่
เกิดขึน
้ ทัว่ โลก ได ้แก่
การเพิม
่ ขึน
้ อย่างรวดเร็วของประชากรโลก
การเติบโตของสงิ่ ทีก
่ ระทบต่อสงิ่ แวดล ้อม
การเพิม
่ การกระจุกตัวของผู ้กุมอานาจทางเศรษฐกิจทีอ
่ ยูใ่ นมือ
ของคนกลุม
่ น ้อยเมือ
่ เทียบกับประชากรโลก
ความขัดแย ้งในชุมชนทีม
่ ค
ี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม
วงจรของความยากจนทีฝ
่ ั งรากลึกในทุกภูมภ
ิ าคของโลก
ตลอดจนการกระทบกระทัง่ กันในปั ญหาระหว่างชนชาติ






้ ้ไขปั ญหาทีก
สหกรณ์ นัน
้ แม ้ว่าโดยตัวเองจะไม่สามารถใชแก
่ ล่าวถึงข ้างต ้นได ้
ทัง้ หมดแต่ก็สามารถชว่ ยในหาทางออกบางอย่างได ้
สหกรณ์สามารถมีบทบาทในการผลิตอาหารคุณภาพดีจาหน่ายในราคายุตธิ รรม
สามารถแสดงบทบาทในการอนุรักษ์สงิ่ แวดล ้อม หรือแสดงบทบาทในการ
กระจายอานาจทางเศรษฐกิจได ้อย่างกว ้างขวางและเป็ นธรรม
สามารถมีบทบาทในชุมชนทีส
่ หกรณ์ตงั ้ อยู่ สามารถชว่ ยเหลือผู ้คนให ้รอดพ ้น
จากปั ญหาความยากจน
สามารถผนึกกาลังของผู ้คนทีม
่ ค
ี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม หลากหลาย
ื่ ทางศาสนาและการเมือง ให ้เข ้าเป็ นกลุม
ความเชอ
่ ก ้อนเดียวกันได ้
ิ ผ่านทางการปฏิบต
นักสหกรณ์ทงั ้ หลายนาเสนอความต ้องการของมวลสมาชก
ั ท
ิ ี่
ิ ธิภาพและเต็มไปด ้วยสานึกเหล่านัน
มีประสท
้
ิ ทั่วไปและด ้วยความสมัครใจ
1.การเปิ ดรับสมาชก
Voluntary and Open Membership
ิ ตามหลักประชาธิปไตย
2.การควบคุมโดยสมาชก
Democratic Member Control
ิ
3.การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชก
Member Economic Participation
4.การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
Autonomy and Independence
ึ ษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
5.การศก
Education, Training and Information
6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
Co-operation among Co-operatives
7.ความเอือ
้ อาทรต่อชุมชน
Concern for Community
สหกรณ์เป็ นองค์การแห่งความสมัครใจทีเ่ ปิ ดรับบุคคล
้ การของสหกรณ์ และเต็มใจ
ทัง้ หลายทีส
่ ามารถใชบริ
ิ เข ้าเป็ นสมาชก
ิ โดย
รับผิดชอบในฐานะสมาชก
ื้ ชาติ การเมือง
ปราศจากการกีดกันทางเพศ สงั คม เชอ
หรือศาสนา
สหกรณ์เป็ นองค์การประชาธิปไตยทีค
่ วบคุมโดย
ิ ผู ้มีสว่ นร่วมอย่างแข็งขันในการกาหนด
มวลสมาชก
ิ ใจ บุรษ
นโยบายและการตัดสน
ุ และสตรีผู ้ทีไ่ ด ้รับ
ิ ต ้องรับผิดชอบต่อ
การเลือกเป็ นผู ้แทนสมาชก
ิ ในสหกรณ์ ขัน
ิ มีสท
ิ ธิในการ
มวลสมาชก
้ ปฐมสมาชก
ี งเท่าเทียมกัน (สมาชก
ิ หนึง่ คนหนึง่ เสย
ี ง)
ออกเสย
สาหรับ สหกรณ์ในระดับอืน
่ ให ้ดาเนินไปตามแนวทาง
่ กัน
ประชาธิปไตยด ้วยเชน
ิ สหกรณ์ พึงมีความเทีย
สมาชก
่ งธรรมในการให ้ และควบคุมการ
้ นทุนในสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของ
ใชเงิ
ิ สว่ นรวมของ
สหกรณ์อย่างน ้อยสว่ นหนึง่ ต ้องเป็ นทรัพย์สน
ิ จะได ้รับผลตอบแทนสาหรับเงินทุนตาม
สหกรณ์ สมาชก
ิ ภาพในอัตราทีจ
ิ
เงือ
่ นไขแห่งสมาชก
่ ากัด(ถ ้ามี) มวลสมาชก
เป็ นผู ้จัดสรรผลประโยชน์สว่ นเกินเพือ
่ จุดมุง่ หมายประการใด
ประการหนึง่ หรือทัง้ หมด จากดังต่อไปนี้ คือ เพือ
่ การพัฒนา
สหกรณ์ของตนโดยจัดให ้เป็ นทุนของสหกรณ์ ซงึ่ สว่ นหนึง่ ของ
ิ
ทุนนีต
้ ้องไม่นามาแบ่งปั นกัน เพือ
่ เป็ นผลประโยชน์แก่สมาชก
ตามสว่ น ของปริมาณธุรกิจทีท
่ ากับสหกรณ์ และเพือ
่ สนับสนุน
ิ เห็นชอบ
กิจกรรมอืน
่ ใดทีม
่ วลสมาชก
สหกรณ์เป็ นองค์การทีพ
่ งึ่ พาและปกครองตนเอง
ิ ในกรณีทส
โดยการควบคุมของสมาชก
ี่ หกรณ์จาต ้องมี
ข ้อตกลงหรือผูกพันกับองค์การอืน
่ ๆ รวมถึงองค์การ
ของรัฐ หรือต ้องแสวงหาทุนจากแหล่งภายนอก
สหกรณ์ต ้องกระทาภายใต ้เงือ
่ นไขอันเป็ นทีม
่ น
ั่ ใจได ้ว่า
ิ จะยังคงไว ้ซงึ่ อานาจในการควบคุมตาม
มวลสมาชก
แนวทางประชาธิปไตย และยังคงดารงความเป็ นอิสระ
ของสหกรณ์
ึ ษาและการฝึ กอบรมแก่
สหกรณ์พงึ ให ้การให ้การศก
ิ
มวลสมาชก
ผู ้แทนจากการเลือกตัง้ ผู ้จัดการ
พนักงาน เพือ
่ บุคคลเหล่านัน
้ สามารถมีสว่ นชว่ ย
ิ ธิผล และ
พัฒนาสหกรณ์ของตนได ้อย่างมีประสท
สามารถให ้ข่าวสารแก่สาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิง่
แก่เยาวชนและบรรดาผู ้นาทางความคิด ในเรือ
่ ง
คุณลักษณะและคุณประโยชน์ของสหกรณ์ได ้
ิ ได ้อย่างมี
สหกรณ์สามารถให ้บริการแก่สมาชก
ิ ธิผลสูงสุด และเสริมสร ้างความเข ้มแข็งให ้แก่
ประสท
ขบวนการสหกรณ์ได ้ โดยการประสานความร่วมมือ
กันในระดับท ้องถิน
่ ระดับชาติ ระดับภูมภ
ิ าค และ
ระดับนานาชาติ
สหกรณ์พงึ ดาเนินกิจกรรมเพือ
่ การพัฒนาที่
ิ ให ้
ยัง่ ยืนของชุมชน ตามนโยบายทีม
่ วลสมาชก
ความเห็นชอบ
หล ักการสหกรณ์ นัน
้





เป็ นเสมือนโลหิตทีห
่ ล่อเลีย
้ งชวี ต
ิ ของขบวนการสหกรณ์
เป็ นพัฒนาการทีม
่ ม
ี าจากค่านิยมทีไ่ ด ้ทาให ้ขบวนการนีแ
้ ผ่ขยายมานับ
แต่การก่อกาเนิด
เป็ นสว่ นชว่ ยในการขึน
้ รูปโครงสร ้าง และให ้แนวคิดในการสร ้าง
ั
เป้ าหมายของขบวนการทีแ
่ จ่มชด
เป็ นเสมือนคาแนะนาสาหรับสหกรณ์ทงั ้ หลายในการพัฒนาองค์การ
ของตน
เป็ นหลักในการปฏิบต
ั ท
ิ ไี่ ด ้รับการปรุงแต่ง จากประสบการณ์ทส
ี่ ะสมมา
เท่า ๆ กับจากปรัชญาความคิด มีความทันสมัย ยืดหยุน
่ และสามารถ
้ ้กับสหกรณ์หลากหลายประเภท ในหลากหลายสถานการณ์
ปรับใชได



ทัง้ หมดนีต
้ ้องการการพิจารณาของนักสหกรณ์ทเี่ กีย
่ วข ้อง
่
เพิม
่ เติมอีก เชน
ในประเด็นว่าด ้วย คุณลักษณะแบบประชาธิปไตยขององค์การ
ี กลุม
บทบาทของผู ้มีสว่ นได ้เสย
่ ต่าง ๆ และ
การจัดสรรสว่ นเกินทีเ่ กิดขึน
้
เหล่านีเ้ ป็ น “คุณภาพ” ทีจ
่ าเป็ นมาก ทีจ
่ ะทาให ้การสหกรณ์
เกิดดอกออกผล และเอกลักษณ์เฉพาะของสหกรณ์ตลอดจน
ขบวนการสหกรณ์เป็ นสงิ่ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าขึน
้ มา.



ื ค ้นประวัตบ
ื ค ้นได ้
การสบ
ิ ค
ุ คล และสหกรณ์รป
ู ต่าง ๆ สามารถสบ
จากแหล่งทาง internet โดยการใช ้ search engine ทีม
่ อ
ี ยู่ ซงึ่
จะเป็ นประโยชน์แก่ผู ้สนใจอย่างมาก ทีจ
่ ะได ้ทัง้ ความรู ้ทาง
สหกรณ์ และภาษาอังกฤษ ไปพร ้อม ๆ กันด ้วย นอกจากนัน
้ ยัง
ื ค ้นข ้อมูลสหกรณ์ของประเทศต่าง ๆ ในปั จจุบน
สามารถสบ
ั ได ้
ด ้วย อย่าคิดแต่จะหาเอกสารทีเ่ ป็ นภาษาไทย เพราะท่านจะอยู่
แต่ในวงจากัด
หากมีคาแนะนา หรือ ต ้องการคาแนะนา ติดต่อที่
E-mail : [email protected]
หรือที่
[email protected]
ื ค ้นได ้ที่ http://pirun.ku.ac.th/~fecongk
ข ้อมูลอืน
่ ๆ อาจสบ
Thank
You