การวัดการป่วยและการตาย

Download Report

Transcript การวัดการป่วยและการตาย

การวัดการป่ วยและการตาย
Measures of Morbidity
and Mortality
การวัดทางระบาดวิทยา: 3 ประเด็น
การวัดขนาดของโรค (Measure of magnitude or frequency) เช่นการ
วัดเพือ่ ตอบคาถามว่า โรค A เกิดขึ้ นกับคนในชุมชนนี้ มากน้อยเท่าไร
โรค D มีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน
 การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง ปั จจัยที่ศึกษา และ โรค (Measure of
association) เช่น การเกิดมะเร็งในช่องปากมีความเกีย่ วข้องกับการสูบ
บุหรี่อย่างไร การไม่ออกกาลังกายทาให้คนเราเป็ นโรคหัวใจมากขึ้ นหรือ
เปล่า
 การวัดผลกระทบของปั จจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค (Measure of impact)
เช่น วัคซีน HIV ที่ผลิตขึ้ นมาใหม่นี้ มีประสิทธิภาพดีแค่ไหน การสอน
ไม่ให้คนอีสานรับประทานปลาดิบ จะช่วยลดปั ญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับ
ได้มากเพียงใด

การวัดการป่ วยการตาย

เป็ นสิง่ สาคัญในทางระบาดวิทยา:
– ได้ทราบว่าผูป้ ่ วยในแต่ละโรคของแต่ละชุมชนมีจานวนมากน้อยเพียงใด
– ได้ทราบการเกิด การกระจาย และแนวโน้ม (Trend) ของโรคในท้องที่ต่างๆ
– เป็ นประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรค การวางแผนด้านการรักษาพยาบาล
การให้บริการด้านสาธารณสุขต่างๆ การจัดสรรด้านทรัพยากรด้านสาธารณสุข
การวางแผนด้านนโยบาย เป็ นต้น
– เป็ นประโยชน์ในการค้นหาสาเหตุของโรค
– ใช้เปรียบเทียบสภาวะอนามัยระหว่างชุมชนต่างๆ
(ปกติในการเปรียบเทียบทางระบาดวิทยามักนิยมใช้อตั รามากกว่าจานวนเนื่องจาก
จานวนความหนาแน่นของประชากรในแต่ละชุมชนไม่เท่ากัน)
ความรูเ้ บื้ องต้นเกีย่ วกับ อัตรา อัตราส่วน และสัดส่วน

อัตรา (Rate) เป็ นการเปรียบเทียบจานวนความถีข่ องโรคหรือเหตุการณ์
บางอย่างต่อหน่วยประชากรที่เฝ้ าสังเกตุ โดยที่ตวั ตั้งและตัวหารเป็ น
กลุ่มที่แตกต่างกัน ตัวตั้งไม่จาเป็ นต้องเป็ นกลุ่มย่อยของตัวหารเสมอไป
 Rate = ตัวตั้ง (Numerator)
N1
ตัวหาร (Denominator) N2
ตัวอย่าง อัตราตายต่อปี (annual mortality rate)
 ตัวหาร N2 = อาจจะได้มาจากการสามะโนประชากรเพือ่ การประมาณ
จานวนประชากรทั้งหมดที่พนที
ื้ ่กาหนด และ...
 N1 = จานวนผูท้ ี่ตายในปี ที่กาหนด ซึ่งอาจจะได้มาจากแหล่งอื่นๆ
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ อัตรา อัตราส่ วน และสั ดส่ วน

สัดส่วน (Proportion) เป็ นการเปรียบเทียบเฉพาะกลุ่ม โดยที่ตวั ตั้งเป็ น
กลุ่มย่อย (subset) ของตัวหาร ผลของการเปรียบเทียบของสัดส่วนจะมีค่า
ระหว่าง 0.0 - 1.0 หรือ กรณีเป็ นร้อยละ จะมีค่าระหว่าง 0.0 - 100.00 %
 Proportion = ตัวตั้ง (Numerator)
n
ตัวหาร (Denominator) N
ตัวอย่าง สัดส่วนคนตายด้วยโรควัณโรค
 ตัวหาร N = จานวนคนตายทั้งหมด (ทุกสาเหตุ) และ...
 n = จานวนผูท้ ี่ตายด้วยโรควัณโรค
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ อัตรา อัตราส่ วน และสั ดส่ วน
ข้อแตกต่างระหว่างสัดส่วน (Proportion) และ อัตรา (Rate)
 แตกต่างกันที่ตวั หาร ตัวหารของอัตราเป็ นกลุ่มประชากรทั้งหมด แต่ตวั หารของสัดส่วนเป็ น
จานวนเหตุการณ์ท้ งั หมด เช่นจานวนคนตายทั้งหมด
 ข้อจากัดของสัดส่วนทางระบาดวิทยา
– ดัชนีประเภทสัดส่วนขาดการอ้างอิงถึงประชากรที่เสีย่ งต่อการเกิดโรค
– เมือ่ ตัวหารมีค่าน้อยกว่า 20 ทาให้ค่าความเชื่อถือได้นอ้ ยลง
– ในการเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชนไม่สมารถทาได้โดยสัดส่วน
– การประเมินผลด้วยสัดส่วนต้องทาด้วยความระมัดระวัง เช่นการที่สดั ส่วนคนตายด้วย
โรคหนึง่ โรคใดเพิม่ ขึ้ น ไม่ได้หมายความว่าไม่ได้มีคนตายด้วยโรคนั้นเพิ่มขึ้ น แต่อาจ
เนือ่ งจากสาเหตุการตายด้วยโรคอื่นๆน้อยลง
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ อัตรา อัตราส่ วน และสั ดส่ วน

อัตราส่วน (Ratio) เป็ นการเปรียบเทียบความแตกต่างของจานวน
หนึง่ กับอีกจานวนหนึง่ เช่นการเปรียบเทียบจานวนผูท้ ี่ป่วยกับผูท้ ี่ไม่
ป่ วย ผูป้ ่ วยเพศชายกับเพศหญิง เป็ นต้น
ตัวอย่าง
ถ้าความเสีย่ งในกลุ่มคนที่สูบบุหรี่แล้วเป็ นมะเร็งปอด = 3/100,000 และ
ความเสีย่ งในคนที่ไม่สูบบุหรี่ = 1/100,000 ดังนั้นอัตราส่วนของ
ความเสีย่ งดังกล่าว เท่ากับ 0.00003/0.00001 = 3
อัตราส่ วน
 X/Y*k, k=1
 X/Y
 X:Y
 ทาให้ ค่าใดค่ าหนึ่ง (X or Y) มีค่าเท่ ากับ 1 โดยการนา
ค่ าทีน่ ้ อยทีส่ ุ ด หารตลอด
ตัวอย่ าง

พ.ศ. 2553 จังหวัด ก มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้ เลือดออก จานวน
5,000 ราย เป็ นเพศชาย 3000 ราย เพศหญิง 2000 ราย จงหา
อัตราส่ วนระหว่ างเพศของผู้ป่วย

เพศหญิง ต่ อ เพศชาย 2000 : 3000 = 2000/2000 : 3000/2000
= 1 : 1.5
การวัดการป่ วย (Measures of Morbidity)

ดัชนีหลักที่ใช้วดั การป่ วยที่สาคัญมี 2 ชนิด
– ดัชนีที่ใช้วดั ผูป้ ่ วยใหม่
เรียกว่า อุบตั ิการณ์ของโรค (Incidence)
 วัดอัตราผูป
้ ่ วยใหม่ เรียกว่า อัตราอุบตั ิการณ์ของโรค (Incidence rate)
 วัดจานวนผูป
้ ่ วยใหม่
– ดัชนีที่ใช้วดั ผูป้ ่ วยใหม่และเก่า
เรียกว่า ความชุกของโรค (Prevalence)
 วัดอัตราผูป
้ ่ วยใหม่และเก่า เรียกว่า อัตราความชุกของโรค (Prevalence
rate)
 วัดจานวนผูป
้ ่ วยใหม่และเก่า
อุบัตกิ ารณ์ และอัตราอุบัตกิ ารณ์ ของโรค

อุบตั ิการณ์ของโรค (Incidence) คือ จานวนของผูป้ ่ วยใหม่ที่เกิดขึ้ นในช่วงเวลาใด
เวลาหนึง่ ที่กาหนด (ส่วนใหญ่ 1 ปี ปฏิทิน)
 อัตราอุบตั ิการณ์ของโรค (Incidence Rate) เป็ นการวัดจานวนผูป
้ ่ วยใหม่ (new
cases) ที่เกิดขึ้ นในชุมชน ในช่วงเวลาหนึง่ ( a period of time) ที่กาหนดต่อหน่วย
ประชากรทั้งหมดของชุมชนที่เสีย่ งต่อการเกิดโรค (population at risk) ในช่วงเวลา
เดียวกัน
 Incidence Rate = จานวนผูป
้ ่ วยใหม่ที่เกิดขึ้ นในช่วงเวลาที่กาหนด
*k
จานวนประชากรที่เสีย่ งต่อการเกิดโรคในช่วงเวลาเดียวกัน
หรือประชากรกลางปี (กรณีระยะเวลาเป็ น 1 ปี )
k = ค่าคงที่ของหน่วยประชากร อาจมีค่าเท่ากับ 100, 1,000, 10,000 หรือ
100,000 ตามความเหมาะสม
อุบัตกิ ารณ์ และอัตราอุบัตกิ ารณ์ ของโรค
ตัวอย่าง
 ในปี พ.ศ. 2545 จังหวัด ค มีรายงานผูป
้ ่ วยด้วยโรคชนิดหนึง่ จานวน 350 ราย
มีประชากรกลางปี เท่ากับ 250,000 คน จงคานวณหาอัตราอุบตั ิการณ์ของโรค
ดังกล่าวต่อหน่วยประชากร 100,000 คน
Incidence Rate = จานวนผูป้ ่ วยใหม่ที่เกิดขึ้ นในช่วงเวลาที่กาหนด
*k
จานวนประชากรกลางปี นั้น
= 350
= 140/100,000
ประชากร
*100,000
250,000
ความสาคัญของอัตราอุบัตกิ ารณ์ ของโรค
ทาให้ ทราบถึงโอกาสหรือความเสี่ ยงของคนในชุ มชนทีจ่ ะเกิดโรคใน
ช่ วงเวลาหนึ่ง
 ใช้ ศีกษาหาสาเหตุของโรค
 ใช้ เป็ นเครื่องบ่ งชี้ถึงมาตรการที่จะใช้ ในการป้ องกันควบคุมโรค
 ใช้ ประเมินผลการดาเนินงานป้ องกันและควบคุมโรค

อุบัตกิ ารณ์ และอัตราอุบัตกิ ารณ์ ของโรค

บางครั้งอัตราอุบตั ิการณ์สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด เนือ่ งจากโรคภัยไข้
เจ็ บต่างๆส่วนมากผูป้ ่ วยอาจเป็ นซ้ าได้หลายครั้งภายในช่วงเวลาที่
กาหนด ดังนั้นสามารถคิดได้จากจานวนครั้ง (episode หรือ spell) ที่ป่วย
หรือคิดจากจานวนบุคคล (person)
– อัตราอุบตั ิการณ์ของโรค (บุคคล)
= จานวนบุคคลที่ป่วยใหม่ในช่วงเวลาที่กาหนด
*k
จานวนประชากรที่เสีย่ งทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน
– อัตราอุบัตกิ ารณ์ ของโรค (ครั้ง)
= จานวนครั้งทีป่ ่ วยใหม่ ในช่ วงเวลาทีก่ าหนด
จานวนประชากรทีเ่ สี่ ยงทั้งหมดในช่ วงเวลาเดียวกัน
*k
ความชุกและอัตราความชุกของโรค

ความชุกของโรค (Prevalence) คือ จานวนของผูป้ ่ วยทั้งหมดทั้งใหม่
และเก่าที่มีอยู่ในประชากร ณ จุดเวลาที่กาหนดหรือในช่วงเวลาใดเวลา
หนึง่ ที่กาหนด

อัตราความชุกของโรค (Prevalence Rate) เป็ นการวัดจานวนผูป้ ่ วยทุก
รายทั้งใหม่และเก่าที่เกิดขึ้ นในชุมชน ณ จุดเวลาใดเวลาหนึง่ (a point of
time) หรือ ช่วงเวลา (a period of time) ต่อหน่วยประชากรทั้งหมดหรือ
ประชากรเฉลีย่ ที่จุดเวลาใดเวลาหนึง่ หรือในช่วงเวลาเดียวกันที่กาหนด
อัตราความชุกของโรค แบ่ งได้ 2 ชนิด

อัตราความชุกของโรคในจุดเวลาหนึง่ (Point prevalence rate) เป็ นการวัด
จานวนผูป้ ่ วยทุกรายที่มีอยู่ต่อหน่วยประชากรทั้งหมดที่จุดเวลาเดียวกัน
Point prevalence rate = จานวนผูป้ ่ วยทั้งหมดที่มีอยู่ที่จุดเวลาที่กาหนด
*k
จานวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น

อัตราความชุกของโรคในช่วงเวลาหนึง่ (Period prevalence rate) เป็ นการวัด
จานวนผูป้ ่ วยทุกรายที่มีอยู่ต่อหน่วยประชากรในช่วงเวลาเดียวกัน
Period prevalence rate = จานวนผูป้ ่ วยทั้งหมดที่มีอยู่ในช่วงเวลาที่กาหนด
*k
จานวนประชากรเฉลีย่ ในช่วงเวลานั้น
k = ค่าคงที่ของหน่วยประชากร อาจมีค่าเท่ากับ 100, 1,000, 10,000 หรือ
100,000 ตามความเหมาะสม
ความสาคัญของอัตราความชุกของโรค

ใช้บอกปั ญหาโรคภัยไขัเจ็ บที่มีอยู่ในขณะนั้น
 ใช้บ่งบอกถึงความชุกของโรค (ขนาดของปั ญหา)
 เป็ นแนวทางในการจัดบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขให้กบ
ั ข
ชุมชน เช่น กิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรค การ
รักษาพยาบาล กาลังเจ้าหน้าที่ จานวนเตียง เครื่องมือ อุปกรณ์ การ
สังคมสงเคราะห์ การดูแล และ อื่นๆ
 มีประโยชน์ในการศึกษาโรคเรื้ อรัง
ตัวอย่ าง
31 ธ.ค.
1 ม.ค.
S
S
S
S
S
E
E
S
E
E
E
เส้นขวางแต่ละเส้นแทนผูป้ ่ วย 1 ราย
S = แสดงวันเริ่ มป่ วย
E = แสดงวันสุ ดท้ายของการป่ วย
สมมุติวา่ ผูป้ ่ วยทั้ง 7 รายนี้ เกิดขึ้นในชุมชนที่มีประชากร 10,000 คน
ให้ คานวณอัตราต่ อประชากร 100,000 คน:
Prevalence rate ของวันที่ 1 มกราคม
 Prevalence rate ของวันที่ 31 ธันวาคม
 Prevalence rate ระหว่ างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม
 Incidence rate ระหว่ างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม

Prevalence rate ของวันที่ 1 มกราคม
= 3
= 30 / 100,000
* 100,000
10,000
 Prevalence rate ของวันที่ 31 ธันวาคม
= 3
= 30 / 100,000
* 100,000
10,000
 Prevalence rate ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม
= 7
= 70 / 100,000
* 100,000
10,000
 Incidence rate ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม
= 4
= 40 / 100,000
* 100,000
10,000

ความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตราอุบัตกิ ารณ์ และ
อัตราความชุกของโรค
ในสภาวะทีม่ คี วามสมดุลและไม่ มกี ารเปลีย่ นแปลง เช่ น ไม่ มกี ารระบาดของ
โรคเกิดขึน้ ความสั มพันธ์ ของอัตราดังกล่ าวเป็ นดังนี้
P=I*D
P = Prevalence rate
I = Incidence rate
D = Duration of the disease (ระยะเวลาของโรค)
การเปลีย่ นแปลงของความชุ ก อาจเนื่องจาก
- อุบัตกิ ารณ์ ของโรค
- ระยะเวลาของโรค
- อุบัตกิ ารณ์ ของโรคและระยะเวลาของโรค

ความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตราอุบัตกิ ารณ์ และ
อัตราความชุกของโรค
INCIDENCE
PREVALENCE
DEATH
(ตาย)
RECOVERY
(หาย)
ความแตกต่ างระหว่ างอัตราอุบัตกิ ารณ์ และ
ความชุกของโรค
หัวข้อ
ตัวตั้งหรือตัวเศษ
ตัวหารหรือตัวส่วน
หน่วย
อัตราอุบตั ิการณ์
อัตราความชุก
จานวนผูป้ ่ วยใหม่
จานวนผูป้ ่ วยทั้งใหม่และเก่า
จานวนประชากรที่เสีย่ ง
จานวนประชากรทั้งหมดที่
ต่อการเกิดโรค
จุดเวลาใดเวลาหนึง่
(Population at risk หรือ
(Population at a point in
mid-interval population)
time)
จานวนประชากรต่อช่วง
จานวนประชากรที่จุดเวลา
เวลา รายต่อแสนต่อปี
รายต่อแสนต่อปี
ความแตกต่ างระหว่ างอัตราอุบัตกิ ารณ์ และ
ความชุกของโรค
หัวข้อ
ความสาคัญ
อัตราอุบตั ิการณ์
1. เป็ นตัวบ่งชี้ โดยตรง
ของโอกาสของการเกิด
ของโรค
2. ใช้ประเมินผลการป้องกัน
โรคว่าดีหรือไม่
วิธีการค้นหา
(Ascertainment)
การศึกษาระยะยาว
(Longitudinal study)
อัตราความชุก
1. ไม่จาเป็ นต้องแสดงถึง
โอกาสของการเกิดของ
โรค
2. เป็ นดัชนีที่แสดงถึงการ
บริการด้านการรักษา
พยาบาล
การศึกษาระยะสั้น
(Cross-sectional study)
ความแตกต่ างระหว่ างอัตราอุบัตกิ ารณ์ และ
ความชุกของโรค
หัวข้อ
ตัวอย่าง
อัตราอุบตั ิการณ์
อัตราอุบตั ิการณ์ต่างๆ
จากการเฝ้ าระวังของโรค
อัตราความชุก
อัตราความชุกของโรคต่ างๆ
จากการสารวจ
อัตราป่ วย (Attack rate)
Attack rate เป็ นอัตราอุบตั ิการณ์ (Incidence rate) ซึ่งมักใช้กบั โรคติด
เชื้ อเฉียบพลันหรือกรณีมีการระบาดของโรค โดยปกตินิยมใช้หน่วยเป็ น
ร้อยละ
Attack rate = จานวนผูป้ ่ วยด้วยโรคติดเชื้ อเฉียบพลันหรือ
เมือ่ มีการระบาดของโรคในช่วงเวลาหนึง่
*k
จานวนประชากรทั้งหมดที่เสีย่ งต่อการเกิดโรค
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 100 (อาจจะเป็ น 1,000 ก็ได้)
ความสาคัญของ attack rate เช่นเดียวกับ Incidence rate

ตัวอย่ างอัตราป่ วย (Attack rate)

ในการระบาดของโรค A ในชุ มชนแห่ งหนึ่ง มีผ้ ปู ่ วยทั้งหมด 25 คน จาก
จานวนผู้ทเี่ กีย่ วข้ องทั้งหมด 150 คน ให้ คานวณ attack rate
Attack rate
= 25
150 * 100
= 16.67 %
อัตราป่ วยจาเพาะ (Specific attack rate)

Specific attack rate เป็ นการวัดจานวนผูป้ ่ วยด้วยลักษณะเฉพาะอย่าง เช่น
อายุ เพศ และสาเหตุ ในกลุ่มประชากรเดียวกันทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง
Specific attack rate = จานวนผูป้ ่ วยด้วยลักษณะเฉพาะอย่าง
ในช่วงเวลาหนึง่
*k
จานวนประชากรกลุ่มเดียวกันทั้งหมด
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 100 (อาจจะเป็ น 1,000 ก็ได้)
ความสาคัญของอัตราป่ วยจาเพาะ (Specific attack rate)
 ใช้ เปรียบเทียบระหว่ างชุ มชน
 ใช้ เปรียบเทียบระหว่ างกลุ่มประชากรต่ างๆในชุ มชนเดียวกัน
อัตราป่ วยจาเพาะอายุ (Age-specific attack rate)

Age-specific attack rate = จานวนผูป้ ่ วยเฉพาะอายุ
ในช่วงเวลาหนึง่
*k
จานวนประชากรกลุ่มอายุเดียวกันทั้งหมด
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 100 (อาจจะเป็ น 1,000 ก็ได้)
อัตราป่ วยจาเพาะเพศ (Sex-specific attack rate)

Sex-specific attack rate = จานวนผูป้ ่ วยเฉพาะเพศ
ในช่วงเวลาหนึง่
จานวนประชากรเพศเดียวกันทั้งหมด
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 100 (อาจจะเป็ น 1,000 ก็ได้)
*k
อัตราป่ วยจาเพาะเหตุ (Cause-specific attack rate)

Cause-specific attack rate = จานวนผูป้ ่ วยเฉพาะเหตุ/โรค
ในช่วงเวลาหนึง่
จานวนประชากรทั้งหมด
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 100 (อาจจะเป็ น 1,000 ก็ได้)
*k
ตัวอย่ าง
เพศ
จานวนผู้ป่วย
ชาย
หญิง
รวม
20
10
30
จานวนประชากร
100
50
150
ให้ คานวณ อัตราป่ วยจาเพาะเพศชาย เพศหญิง และอัตราป่ วยจาเพาะทั้งหมด

อัตราป่ วยจาเพาะเพศชาย
= 20
* 100
100
อัตราป่ วยจาเพาะเพศหญิง
= 10
* 100
50
 อัตราป่ วยจาเพาะทั้งหมด
= 30
* 100
150
= 20%

= 20%
= 20%
การวัดการตาย (Measures of Mortality)

อัตราตายอย่างหยาบ (Crude death rate) เป็ นอัตราสรุปที่บอกถึง
จานวนคนตายทั้งหมดด้วยทุกสาเหตุในชุมชนในช่วงเวลาหนึง่ ต่ อจานวน
ประชากรทั้งหมด/ประชากรกลางปี ในช่วงเวลาเดียวกัน
Crude death rate = จานวนคนตายทั้งหมดในปี ที่กาหนด
จานวนประชากรกลางปี
* 1000
ความสาคัญของอัตราตายอย่ างหยาบ
บ่ งบอกถึงสภาวะอนามัยของชุ มชน
 จะมีค่าสู งในกลุ่มประชากรทีม
่ สี ภาวะเศรษฐกิจและสั งคมตา่ และมีการบริการ
ด้ านสาธารณสุ ขและการแพทย์ ไม่ ดี
 บ่ งบอกถึงระดับการครองชีพของชุ มชน
 เป็ นอัตราทีแ่ ท้ จริงของการตายทีเ่ กิดขึน
้ ในชุ มชนนั้นๆ

หมายเหตุ อัตรานีไ้ ม่ สามารถนามาเปรียบเทียบดูสภาวะอนามัยของชุ มชนในแต่
ละแห่ งได้ เนื่องจากยังไม่ ได้ ปรับปัจจัยต่ างๆที่มีอทิ ธิพลทาให้ อตั ราตายนีส้ ู งขึน้
เช่ น ความแตกต่ างในเรื่องอายุของประชากรในแต่ ละชุ มชน ประเทศ เป็ นต้ น
การวัดการตาย (Measures of Mortality)

อัตราตายจาเพาะ (Specific death rate, SDR) เป็ นการวัดการตายด้วย
ลักษณะเฉพาะอย่าง เช่น กลุ่มอายุ เพศ และสาเหตุ หรือ โรค ในกลุ่ม
ประชากรที่กาหนดในช่วงเวลาหนึง่
Specific death rate = จานวนคนตายด้วยลักษณะเฉพาะอย่าง
ในช่วงเวลาหนึง่
*k
จานวนประชากรกลุ่มเดียวกันทั้งหมด
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 1,000, 10,000, หรือ 100,000
ความสาคัญของอัตราตายจาเพาะ

ใช้บ่งถึงสภาวะอนามัย บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
สิง่ อานวยความสะดวกด้านสุขภาพอนามัย สภาวะเศรษฐกิจและสังคม
และอนามัยสิง่ แวดล้อมของชุมชน
 ใช้เปรียบเทียบกันได้ดีกว่าอัตราตายอย่างหยาบ
 บอกลักษณะเฉพาะของโรคหรือการเสีย
่ งต่อการตายด้วยโรคได้ดี
อัตราตายจาเพาะอายุ (Age-specific death rate)

Age-specific death rate = จานวนคนตายเฉพาะอายุ
ในปี ทีก่ าหนด
*k
จานวนประชากรกลางปี กลุ่มอายุเดียวกันใน
ช่ วงเวลาเดียวกัน
k = 1000, 10,000 หรือ 100,000 ก็ได้
อัตราตายจาเพาะเพศ (Sex-specific death rate)

Sex-specific death rate = จานวนผูต้ ายเฉพาะเพศ
ในช่วงปี ที่กาหนด
จานวนประชากรกลางปี เพศเดียวกัน
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 1000, 10,000 หรือ 100,000 ก็ได้
*k
อัตราตายจาเพาะเหตุ/โรค (Cause-specific death rate)
Cause-specific death rate = จานวนผูต้ ายเฉพาะเหตุ/โรค
ในช่วงปี ทีกาหนด
*k
จานวนประชากรกลางปี
ในช่วงเวลาเดียวกัน
k = 1000, 10,000 หรือ 100,000 ก็ได้
การเปรียบเทียบอัตราตายจาเพาะโรคในอดีตและปั จจุบนั จะต้องนึกถึงปั จจัย
ต่างๆซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อความแตกต่างของอัตราตาย เช่น การเปลี่ยนแปลง
ของโครงสร้างประชากรที่มีคนชรามากขึ้ น การเปลีย่ นแปลงวิธีการแยก
ประเภทของโรค การวินิจฉัยโรคที่ดีขึ้น เป็ นต้น

การวัดการตาย (Measures of Mortality)

อัตราผูป้ ่ วยตาย (Case fatality rate or ratio, CFR) เป็ นการวัดจานวนผูท้ ี่
ตายด้วยสาเหตุใดสาเหตุหนึง่ ต่อจานวนผูป้ ่ วยด้วยสาเหตุน้นั มีหน่วยเป็ นร้อย
ละ
Case fatality rate = จานวนคนตายด้วยโรคเฉพาะ
* 100
จานวนผูป้ ่ วยด้วยโรคนั้นทั้งหมด
ความสาคัญ :
1. ใช้บ่งชี้ ความรุนแรงของโรค
2. ใช้บ่งชี้ คุณภาพของการบริการทางการแพทย์ การรักษา พยาบาล
การวัดการตาย (Measures of Mortality)
อัตราตายมาตรฐาน (Adjusted or Standardized mortality rate) เป็ นอัตรา
ตายทีไ่ ด้ ปรับผลของความแตกต่ างของประชากรหรือองค์ ประกอบอืน่ ๆทีจ่ ะมี
ผลต่ อการเปรียบเทียบ ตัวแปรทีต่ ้ องทาการปรับส่ วนใหญ่ ได้ แก่ อายุ เพศ หรือ
เชื้อชาติ
 การปรับทาได้ โดย :
– การปรับวิธีตรง (Direct method) โดยอาศัยประชากรมาตรฐานมาปรับ
ความแตกต่ าง
– การปรับโดยทางอ้ อม (Indirect method) โดยอาศัยอัตราตายจาเพาะตาม
อายุมาปรับความแตกต่ าง

การวัดการตาย (Measures of Mortality)
การปรับความแตกต่ างโดยวิธีตรง (Adjustment by direct method)
เป็ นการปรับโดยอาศัยประชากรมาตรฐานมาช่ วยปรับความแตกต่ างในเรื่องของ
อายุประชากร หรือตัวแปรอืน่ ๆทีต่ ้ องการปรับให้ เหมือนกัน ประชากร
มาตรฐานอาจมาจาก:
– ประชากรที่ได้ จากการรวมกันของประชากรที่ต้องการเปรียบเทียบในแต่
ละกลุ่มอายุ
– ประชากรทีเ่ ลือกมาใหม่ ซึ่งมีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับประชากรที่ต้องการ
เปรียบเทียบ

วิธีการปรับโดยวิธีตรง
1. เลือกประชากรมาตรฐาน
2. หาจานวนคนตายทีป่ รับใหม่ โดยนาจานวนประชากรมาตรฐานคูณกับอัตรา
ตายจาเพาะตามกลุ่มอายุของกลุ่มประชากรที่ต้องการเปรียบเทียบ
3. คานวณหาอัตราตายมาตรฐานในกลุ่มประชากรทีเ่ ปรียบเทียบ โดยนาจานวน
คนตายทั้งหมดทีค่ านวนได้ ของประชากรแต่ ละกลุ่มหารด้ วยจานวนประชากร
มาตรฐาน
วิธีการปรับโดยวิธีทางอ้อม (adjustment by indirect method)

โดยทัว่ ไปการปรับความแตกต่ างของอายุและตัวแปรอืน่ ๆ นิยมใช้ วธิ ีการปรับ
โดยตรง กรณีทอี่ ตั ราตายจาเพาะตามอายุของประชากรแต่ ละกลุ่มทีจ่ ะทาการ
เปรียบเทียบไม่ ทราบหรืออัตราตายหามาจากจานวนน้ อย ซึ่งไม่ ค่อยน่ าเชื่อถือ
จึงต้ องปรับโดยวิธีอ้อม
วิธีการปรับโดยวิธีทางอ้ อม
1. เลือกอัตราตายมาตรฐานจาเพาะตามอายุ (age-specific death rate) โดย
เลือกจากประชากรทั่วไป หรือ เลือกจากประชากรใดประชากรหนึ่ง
2. หาจานวนคนตายทีป่ รับใหม่ โดยนาเอาอัตราตายมาตรฐานจาเพาะตามอายุคูณ
กับจานวนประชากรของแต่ ละกลุ่ม
3. คานวณหาอัตราส่ วนมาตรฐาน (standarzed mortality ration, SMR) ของ
ประชากรแต่ ละกลุ่ม
4. เปรียบเทียบ SMR ของประชากรในแต่ ละกลุ่ม
SMR = จานวนคนตายที่เกิดขึน้ จริง (observed deaths)
*100
จานวนคนตายที่คาดว่ าจะเกิด (expected deaths)
ข้ อดี และข้ อเสี ย ของอัตราตายอย่ างหยาบ
อัตราตายจาเพาะ และ อัตราตายมาตรฐาน