ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช สัญลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตราประจามหาวิทยาลัย เขียว ทอง ต้ นไม้ ประจามหาวิทยาลัย สีประจามหาวิทยาลัย ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.

Download Report

Transcript ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช สัญลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตราประจามหาวิทยาลัย เขียว ทอง ต้ นไม้ ประจามหาวิทยาลัย สีประจามหาวิทยาลัย ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.

ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
สัญลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ตราประจามหาวิทยาลัย
เขียว
ทอง
ต้ นไม้ ประจามหาวิทยาลัย
สีประจามหาวิทยาลัย
2
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การจัดการศึกษา
มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาเป็ นระบบทวิภาค
1 ปี การศึกษามี 2 ภาคเรียน คือ ภาคการศึกษาปกติ (ภาคต้นและ
ภาคปลาย) และภาคการศึกษาพิเศษ
ภาคการศึ กษาปกตินักศึกษาจะต้ องลงทะเบียนเรียนอย่างน้ อย
1 ชุดวิชา แต่ไม่เกิน 3 ชุดวิชา
ภาคการศึ ก ษาพิ เ ศษนั ก ศึ ก ษาสามารถลงทะเบี ย นเรี ย นได้
1 ชุดวิชา
3
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ระบบการศึกษาทางไกล
4
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ระบบการศึกษาทางไกล
เป็ นระบบการเรียนการสอนที่ไม่ มีชัน้ เรี ยน
ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกัน แต่ สามารถมีกิจกรรมการ
เรียนการสอนร่ วมกันได้ โดยอาศัยสื่อประสม ได้ แก่
สื่อทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ การ
สอนเสริม และมีการอบรมประสบการณ์ วิชาชีพ ณ ที่
ทาการมหาวิทยาลัย ก่ อนสาเร็จการศึกษา
5
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
สื่อหลัก
มหาวิ ท ยาลัย ถ่ า ยทอดความรู้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาผ่ า นสื่ อ หลัก
ได้แก่ ชุดวิชาประกอบด้วย เอกสารการสอน แบบฝึ กปฏิบตั ิ
และซีดี/วีซีดีประจาชุดวิชา
เอกสารการสอน 1 ชุดวิชามีค่าเท่ากับ 6 หน่ วยกิต
1 ชุดวิชา มี 15 หน่ วยการเรียน
1 หน่ วยการเรี ย น ใช้ เ วลาเรี ย นประมาณ 12 ชม.
ต่อสัปดาห์
6
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
สื่อเสริม
มหาวิทยาลัยมีสื่อเสริมเพิ่มเติมความรู้ให้แก่นักศึกษา
หลากหลายรูปแบบ ได้แก่
การสอนเสริม การสอนเสริมทางไกลผ่านดาวเทียม
รายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุโทรทัศน์
เอกสารและสื่อโสตทัศน์ ที่ มุม มสธ.
ชุดการสอนด้วยคอมพิวแตอร์ (Online / Offline)
e- Learning ทางอินเทอร์เน็ ต (www.stou.ac.th)
Media on Demand
7
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
กิจกรรมและการฝึ กเสริมทักษะสาหรับนักศึกษา
กิจกรรมภาคปฏิบตั ิ เสริมประสบการณ์
ได้แก่ การปฏิบตั ิ การในห้องทดลอง การฝึ กงาน การเข้าร่วม
ประชุมสัมมนา การเข้าร่วมในสถานการณ์ จาลอง
การฝึ กปฏิบตั ิ เสริมทักษะ
มีการฝึ กใน 7 สาขาวิชา ได้แก่ นิเทศศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิทยาการ
จัดการ วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ มนุษยนิเวศศาสตร์ เกษตรศาสตร์และสหกรณ์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมประสบการณ์วิชาชีพ
เป็ นการอบรมเชิงปฏิบตั ิ การที่นักศึกษาทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรม
ก่อนสาเร็จการศึกษา
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
8
วิธีการศึกษาด้วยตนเอง
1.มีเป้ าหมายทางการเรียนที่ชดั เจน
2.มีการวางแผนการเรียนที่ดี
3.มีการเรียนตามแผนที่วางไว้
4.มีการติดตามผลการเรียนของตนเอง
5.มีการพัฒนาการเรียนอย่างต่อเนื่ อง
6.มีทกั ษะการเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียน
9
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
เป้ าหมายทางการเรียน
นักศึกษาควรมีเป้ าหมายการเรียนที่ชดั เจน
ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
เรียนทาไม
เรียนเพื่ออะไร
เรียนเพื่อใคร
จะสาเร็จการศึกษาเมื่อไหร่
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
10
การวางแผนการเรียน
การวางแผนการเรี ยนเป็ นกระบวนการตัดสินใจ
ล่วงหน้ าอย่างเป็ นระบบ โดยการนากิจกรรมการเรียน
มาสัม พัน ธ์ ก ับ เวลาและมี ก ารกระท าอย่ า งต่ อ เนื่ อง
จนกว่าจะสาเร็จตามเป้ าหมาย
11
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การวางแผนการเรียนสาหรับการศึกษาด้วยตนเอง
ใช้ มสธ.17 (หน้ า 26) วางแผนการเรี ย นให้
สอดคล้องกับจานวนชุดวิชาตามหลักสูตร
วางแผนการเรียนรายภาคการศึกษา ให้อ่านได้ครบ
ทุกชุดวิชา ทุกหน่ วยการเรียนก่อนสอบ (ดังตัวอย่าง 1)
วางแผนการเรียนรายสัปดาห์และกาหนดช่วง
เวลาในการอ่านให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตนักศึกษา
(ดังตัวอย่าง 2)
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
12
แผนการเรียนรายภาคการศึกษา
สั ปดาห์ ที่ 1
15 กย. / 15 มีค.
เปิ ดภาค
สั ปดาห์ ที่ 5
อ่ านวิชา 1
สั ปดาห์ ที่ 9
อ่ านวิชา 2
สั ปดาห์ ที่ 13
อ่ านวิชา 3
สั ปดาห์ ที่ 2
อ่ านวิชา 1
สั ปดาห์ ที่ 3
อ่ านวิชา 1
สั ปดาห์ ที่ 4
อ่ านวิชา 1
สั ปดาห์ ที่ 6
อ่ านวิชา 2
สั ดาห์ ที่ 7
อ่ านวิชา 2
สั ปดาห์ ที่ 8
อ่ านวิชา 2
สั ปดาห์ ที่ 10
อ่ านวิชา 2
สั ปดาห์ ที่ 14
อ่ านวิชา 3
สั ปดาห์ ที่ 11
อ่ านวิชา 3
สั ปดาห์ ที่ 15
ทบทวน / เตรียม
ตัวสอบ
สั ปดาห์ ที่ 12
อ่ านวิชา 3
สั ปดาห์ ที่ 16
ทบทวน / สอบ
ส.-อ. สุ ดท้ าย มค./กค.
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
แผนการเรียนรายสัปดาห์
วัน / เวลา
จันทร์
05.00-06.30
วิชา.1 / น.1
11.30-13.00
อังคาร
พุธ
วิชา.1 / น.2
22.00-24.00
วิชา.1 / น.1
24.00-02.00
วิชา.1 / น.1
วิชา.1 / น.2
วิชา.1 / น.2
พฤหัสบดี
วิชา.1 / น.2
วิชา.1 / น.3
ศุกร์
วิชา.1 / น.3
เสาร์
วิชา.1 / น.3
วิชา.1 / น.4
อาทิตย์
วิชา.1 / น.4
วิชา.1 / น.4
วิชา.1 / น.4
วิธีการอ่านเอกสารการสอน
ศึกษาแผนการสอนประจาหน่ วย
ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน
ศึกษาแนวคิดและวัตถุประสงค์
ศึกษาเนื้ อหาสาระตามวัตถุประสงค์
ทากิจกรรมท้ายเรื่อง
ศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อเสริม
ทาแบบประเมินผลตนเองหลังเรียน
ดูตวั อย่างการสอนประกอบ
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
15
(ตัวอย่ าง) แผนการสอนประจาหน่ วย
หน่ วยที่ 11
11.1 หลักการบริหารตนเอง
11.2 การบริหารเวลา
แนวคิด
1. การบริหารงานและการบริหารตนเองใช้วิธีหรือหลักการพืน้ ฐานเดียวกัน
ผูท้ ี่สามารถบริหารตนเองได้ย่อมจะสามารถทางานให้สาเร็จได้
2. การบริหารเวลาเป็ นเงื่อนไขที่สาคัญของการบริหารตนเองให้
ประสบความสาเร็จ
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาหน่ วยที่ 11 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายแนวคิดของการบริหารงาน องค์ประกอบของการบริหารงานได้
2. อธิบายแนวความคิดของการบริหารตนเอง องค์ประกอบของการบริหารตนเองได้ 16
เทคนิคการอ่ านหนังสือ มสธ. ให้ สอบได้
ปฏิบตั ิ ตามขัน้ ตอนการอ่านหนังสือ มสธ.
มีความเข้าใจในโครงสร้างของหนังสือ มสธ.
ควรอ่านอย่างต่อเนื่ องและสมา่ เสมอ
ต้องอ่านจับใจความสาคัญให้ได้
พยายามทาความเข้าใจในเนื้ อหาสาระ
ต้องอ่านให้ครบทุกหน่ วยจึงจะมีโอกาสสอบผ่าน
พยายามตอบคาถามจากวัตถุประสงค์เพื่อแสดงถึง
ความเข้าใจ
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
17
ทักษะการเรียนที่จาเป็ นในการเรียน มสธ.
การอ่าน
การจดบันทึก
เทคนิคการทาข้อสอบปรนัย - อัตนัย
นั ก ศึ ก ษาสามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดทัก ษะการอ่ า น
การจดบันทึก และเทคนิคการทาข้อสอบปรนัย–อัตนัย
ได้จาก เอกสารปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
18
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
เอกสารปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ *
ปี การศึกษา 2558
1.ความรูท้ วไปเกี
ั่
่ยวกับ มสธ.
2.เรืม่ ต้นเรียนใน มสธ.
3.ทักษะการเรียนให้ประสบความสาเร็จ
4.การสอบ
5.การลงทะเบียนเรียน
6.การเรียน มสธ. ให้ประสบความสาเร็จ
7.ปัจจัยสนับสนุนความสาเร็จทางการศึกษาใน
ระบบการศึกษาทางไกล
8.ทุนการศึกษา
* นักศึกษาใหม่ทุกคนจะได้รับทางไปรษณี ยพ์ ร้อมการสอบคู่มือนักศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาในภาคการศึกษา
แรก
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
19
เอกสารสาคัญ
เอกสารสาคัญที่ต้องเก็บรักษาตลอดการเป็ นนักศึกษา
ระเบียบการเป็ นนักศึกษาและลงทะเบียนเรียน
คู่มือนักศึกษา
เอกสารปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
หลักสูตรการศึกษา
คู่มือการลงทะเบียนเรียนประจาปี การศึกษา
ใบแจ้งผลสอบ
20
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การประเมินผลการศึกษา
 มหาวิทยาลัยประเมินผลการศึกษาทุกชุดวิชา
โดยการสอบและจัดสอบเฉพาะ วันเสาร์-อาทิตย์
 การประเมินผลการศึกษามี 3 วิธี
1. การสอบประจาภาคการศึกษา
2. การสอบประจาภาคการศึกษาและการให้คะแนน
กิจกรรมหรือฝึ กปฏิบตั ิ
3. การสอบประจาภาคการศึกษาและการมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมวิชาชีพตามที่สาขาวิชากาหนด
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
21
ลาดับขัน้ ความสามารถในการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยมีการวัดผลแบบอิงเกณฑ์และประเมินผลการศึกษา
ตามลาดับขัน้ ความสามารถในการเรียนรู้ ดังนี้
ลาดับขัน้
ความหมาย
H
(HONOUR)
เกียรตินิยม (ได้คะแนนร้อยละ 76 ขึน้ ไป)
S
(SATISFACTORY)
ผ่าน (ได้คะแนนร้อยละ 60 - 75)
U
(UNSATISFACTORY)
ไม่ผา่ น (ได้คะแนนตา่ กว่าร้อยละ 60)
I *
(INCOMPLETE)
ไม่สมบูรณ์
* I หมายถึง นักศึกษาไม่ ได้ เข้ าสอบในภาคการศึกษาปกติ
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
22
การแต่ งกายไปสอบและการติดต่ อกับมสธ.
23
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การแจ้ งผลการสอบ
มหาวิทยาลัยจะแจ้ งผลการสอบให้ นักศึกษา
ทราบหลังจากการสอบประมาณ 30-45 วัน
 ทางไปรษณีย์
 ทาง www.stou.ac.th
 โทรสอบถามที่เบอร์ 0-2504-7799 (อัตโนมัต)ิ
24
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
บริการการศึกษา
การแนะแนวการศึกษาและอาชีพ
ทุนการศึกษาและทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.)
การจัดส่ งวัสดุการศึกษา และเอกสารต่ างๆ
การบริการ one stop service
ของมหาวิทยาลัยและศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ.
การตอบคาถามผ่ านศูนย์ สารสนเทศ หน่ วยงานอื่นๆ
ผ่ านโทรศัพท์ และ www.stou.ac.th
25
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
7 ประการ
1. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม
2. มีความรอบรู้และมีประสบการณ์
3. คิดเป็ นแก้ปัญหาได้
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีมนุษยสัมพันธ์ดี
6. มีความสามารถในการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
7. มีทกั ษะการศึกษาทางไกลและสามารถศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง
26
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
คุณธรรม จริยธรรม ของนักศึกษา มสธ.
1. เป็ นผูท้ ี่ตรงต่อเวลา
2. มีความรับผิดชอบ มีวินัยต่อตนเอง พึ่งตนเอง
3. มีความมุ่งมัน่ ขยันหมันเพี
่ ยรในการเรียน ด้วยความอดทน
4. มีการวางแผน ปฏิบตั ิ ตามแผน ติดตาม ประเมินผล และ
พัฒนาการเรียนด้วยตนเองอย่างสมา่ เสมอ
5. มีการเสียสละประโยชน์ ส่วนตน เพื่อประโยชน์ ส่วนรวม
6. มีความซื่อสัตย์สจุ ริต ประพฤติปฏิบตั ิ ตนแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์
7. ปฏิบตั ิ ตนตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด
27
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
โครงการบัณฑิตไทยไม่โกง
• สร้างค่านิยมความรับผิดชอบต่อสังคมในแง่ความซื่อสัตย์สจุ ริต
• ปลูกฝังจิตสานึ ก เรื่องความซื่อสัตย์สจุ ริตไม่ทจุ ริตคอรัปชัน่
28
นักศึกษา มสธ.
บัณฑิตไทยไม่โกง
• ไม่ทจุ ริตต่อการสอบ
• ไม่ทจุ ริตในการทางาน
• ไม่ติดสินบนเจ้าหน้ าที่
• สร้างค่านิยม “ความซื่อสัตย์สจุ ริต” ในครอบครัว ที่ทางาน
สังคมรอบข้าง
• ใช้คณ
ุ ธรรม จริยธรรม เป็ นหลักในการดาเนินชีวิต
• มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
29
การติดต่อกับมหาวิทยาลัย
1. โทรศัพท์
- ศูนย์สารสนเทศ 02 504 7788
- สานักทะเบียนและวัดผล 02 504 7231-6
- หน่ วยจัดส่งเอกสารการสอน 02 504 7623-4,7626
- ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา 02 504 7631-7
2. http://www.stou.ac.th
3. ศูนย์สารสนเทศ E-mail:[email protected]
4. ติดต่อด้วยตนเอง (มสธ./ศูนย์วิทยพัฒนา)
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
30
การฝึ กปฏิบตั ิ การอ่านจับใจความสาคัญ
31
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ใจความสาคัญ คือ...
ความคิ ดส าคัญ อั น เป็ นแก่ น หรื อ หั ว ใจ
ของเรื่ อ ง ที่ ผู้เ ขี ย นมุ่ ง สื่ อ มาให้ ผู้อ่ า นได้ เ ข้ า ใจ
อาจเป็ นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นหรืออย่างใด
อย่างหนึ่ ง ซึ่งผู้อ่านต้องจับสาระ ความสาคัญของ
เรือ่ ง และหยังรู
่ ค้ วามหมายที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่ได้
32
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ลักษณะของใจความสาคัญ
1. เป็ นส่ ว นส าคัญ ที่ ผู้เ ขี ย นมุ่ ง เน้ นมากที่ สุ ด เพราะ
ถือเป็ นแก่นของข้อความส่วนอื่นๆ ถือว่าเป็ นส่วนขยาย
2. อาจปรากฎให้ เ ห็น เป็ นประโยคชัด เจน หรื อ อาจ
ไม่ปรากฎให้เห็นได้ชดั เจน ผูอ้ ่านต้องประมวลความคิดเอง
33
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ประโยคใจความสาคัญ
มีเพียง 1-2 ประโยคในแต่ละย่อหน้ า
บางย่อหน้ าอาจไม่พบประโยคใจความสาคัญ
ย่อหน้ าใดที่มีประโยคใจความสาคัญชัดเจน มักจะอยู่ต้น
หรือท้ายย่อหน้ า
ผูเ้ ขียนอาจจะวางประโยคใจความนัน้ ในตา่ แหน่ งต่างๆ กัน
อาจจะอยู่ต้น กลาง ท้าย หรืออยู่ต้นหรือท้ายย่อหน้ าก็ได้
34
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ประโยคแสดงใจความรอง (ประโยคขยายความ)
ในแต่ละย่อหน้ าอาจมีได้หลายประโยค
ประโยคเหล่านี้ ช่วยทาให้ผอู้ ่านเข้าใจความคิด
ของผูเ้ ขียนได้ชดั เจนยิ่งขึน้ โดยการให้
รายละเอียด ให้นิยาม หรือคาจากัดความ
แสดงเหตุผล ยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ
35
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
การฝึ กปฏิบตั ิ การอ่านจับใจความสาคัญ
วิทยากรฝึ กปฏิบตั ิ การอ่านจับใจความ
จากตัวอย่างในเอกสารประกอบการปฐมนิเทศ
นักศึกษาใหม่ (หน้ า 19 - 22)
36
ฝ่ ายแนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช