ความหลากหลายทางชีวภาพ - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Download Report

Transcript ความหลากหลายทางชีวภาพ - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ดร.นภาพร แก้ วดวงดี (Room 951)
โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ฯ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา
Email:
[email protected]
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มพืช
ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสั ตว์
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
 "ความหลากหลายทางชีวภาพ" หรือ "Biological
Diversity" อาจเรียกสั้ น ๆ ว่ า "Biodiversity"เกิดจากการ
ผสมคา 2 คาเข้ าด้ วยกัน คือ "Biological" หมายถึง "ชีวภาพ"
หรือสิ่ งมีชีวติ กับ "Diversity" ซึ่งหมายถึง ความหลากหลาย
 ดังนั้น Biological Diversity
จึงหมายถึง ความมากมาย
หลากหลายของสิ่ งมีชีวติ ในระบบนิเวศ
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
 หมายความถึง
สิ่ งมีชีวติ ในโลกมีหลากหลายชนิด ซึ่ง
รวมถึงพืช สั ตว์ จุลนิ ทรีย์ สารพันธุกรรมและระบบ
นิเวศของสิ่ งมีชีวติ ตามประวัติศาสตร์ ทางวิวัฒนาการ
พบว่ า สิ่ งมีชีวติ หลายชนิดมีววิ ฒ
ั นาการมาเป็ นเวลานาน
นับพันๆปี โดยปกติแล้ วความหลากหลายทางชีวภาพของ
สิ่ งมีชีวติ มีกลไกการนาไปสู่ ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวติ
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงพันธุ กรรม
(mutation)
ระดับโครโมโซม
(chromosomal mutation)
ระดับยีน
(gene mutation)
ยีนรู ปแบบใหม่ๆ
ที่แตกต่างกัน
ครอสซิ งโอเวอร์ ในสิ่ งมีชีวิตที่มีการ
สื บพันธุ ์แบบอาศัยเพศ
การสลับที่รวมกันใหม่ของยีน
(gene recombination)
พลังกดดันทางวิวฒ
ั นาการ
(evolutionary forces)
ความแตกต่างแปรผันทาง
พันธุ กรรม
(genetic variation)
ความหลากหลายทางพันธุ
กรรม
(genetic diversity)
การเปลี่ยนแปลงแตกต่างในแต่ละประชากรของสปีชี ส์
(species differentiation)
การปรับตัวทางพันธุ กรรมให้
เข้ากับสภาพแวดล้อม
สปิชิ เอชัน (speciation)
ความแตกต่างแปรผันในสภาพแวด
่ าศัย
ล้อมของแหล่งที่อยูอ
(microenvironmental variation)
กระบวนการเปลี่ยนแปลงวิวฒ
ั นาการ
(evolutionary processes)
ความหลากหลายของสปีชี ส์
(species diversity)
ความหลากหลายทางนิ เวศวิทยา
(ecological diversity)
ความหลากหลายทางชี วภาพ
(biological diversity)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ซึ่งสามารถแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่
ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Diversity)
ความหลากหลายของชนิด (Species Diversity)
ความหลากหลายของระบบนิเวส (Ecological Diversity)
ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic
diversity)
 ได้ แก่ ความหลากหลายขององค์ ประกอบทางพันธุกรรมใน
สิ่ งมีชีวติ ซึ่งแสดงออกด้ วยลักษณะ ทางพันธุกรรมต่ างๆ ที่
ปรากฏให้ เห็นโดยทัว่ ไปทั้งภายในสิ่ งมีชีวติ ชนิดเดียวกัน
และระหว่ างสิ่ งมีชีวติ ต่ างชนิดกัน ทุกวิธี
สาเหตุของความแปรผันทางพันธุกรรม
ความแปรผัน
ทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลง
หรือ การนาเข้ าของ
พันธุกรรมใหม่ ๆ
สาเหตุ
ตามธรรมชาติ
สาเหตุ
จากมนุษย์
การรวมกลุ่มในรูปแบบใหม่ ๆ
ของหน่ วยพันธุกรรม (Gene
recombination)
การสื บพันธุ์
แบบอาศัยเพศ
เทคโนโลยี
ทางชีวภาพ
ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของ
สิ่ งมีชีวติ (species diversity)
•ความหลากหลายแบบนีว้ ดั ได้ จากจานวนชนิดของ
สิ่ งมีชีวติ และจานวนประชากรของสิ่ งมีชีวติ แต่ ละชนิด
รวมทั้งโครงสร้ างอายุและเพศของประชากรด้ วย
•สปี ชีส์ คือ กลุ่มสิ่ งมีชีวติ ทีเ่ ป็ นประชากรเดียวกันผสมพันธุ์
กันแล้ วได้ ลูกหลานสื บทอดต่ อไป
 สิ่ งมีชีวต
ิ สปี ชีส์เดียวกันจะมีลกั ษณะเฉพาะตัวที่ต่างไปจากสปี ชีส์
อืน่ แต่ ความหลากหลายภายในสปี ชีส์เดียวกันก็ยงั มีอยู่เป็ นต้ นว่ า...
 ความแตกต่ างระหว่ างสายพันธุ์ เช่ น คนไทย -คนญีป
่ ่ น-คน
อังกฤษ
 ความแตกต่ างระหว่ างเพศ เช่ น เป็ ดมัลลาร์ ดเพศผู้เพศเมีย
 สิ่ งมีชีวต
ิ ที่มีลกั ษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน แต่ มคี วามแตกต่ าง
ทางพฤติกรรมและทางพันธุกรรมมาก จะไม่ จดั เป็ นสปี ชีส์
เดียวกัน ดังทีช่ าร์ ลส์ ดาร์ วนิ พบนกจับแมลง 3 ชนิดมีลกั ษณะ
คล้ ายคลึงกัน แต่ จะมีการผสมพันธุ์แยกเฉพาะในแต่ ละชนิด
เนื่องจากแต่ ละชนิดมีพฤติกรรมและเสี ยงร้ องเป็ นเอกลักษณ์
เฉพาะในการผสมพันธุ์ นก 3 ชนิดนีจ้ งึ จัดเป็ นสั ตว์ คนละสปี
ชีส์กนั
 บางกรณี สิ่งมีชีวติ แต่ ต่างสปี ชีส์ซึ่งมีความใกล้ชิดกันสามารถผสมพันธุ์
กันได้ สุนัขลูกผสม ซึ่งส่ งผลให้ เกิดสิ่ งมีชีวติ หลายชนิดในพืชและสั ตว์
 การเกิดสปี ชีส์ใหม่
 สิ่ งมีชีวต
ิ สปี ชีส์เดียวกันเมื่อแบ่ งกันอยู่เป็ นกลุ่มย่ อยๆด้ วยสาเหตุ
จากสภาพภูมิศาสตร์ หรือเหตุใดๆก็ตามแล้ ว มีผลให้ เกิดการผสม
พันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม กรณีนี้ ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ ในประชากร
แต่ ละกลุ่มจะเปลีย่ นไปจนกลายเป็ นสปี ชีส์ใหม่ ขนึ้ เมือ่ กลับมา
รวมกันอีกครั้งก็ไม่ ผสมพันธุ์กนั หรือผสมพันธ์ อาจได้ ลูกทีเ่ ป็ น
หมัน
 ไม่ สามารถสื บลูกหลานร่ วมกันได้ อกี ดังภาพในหน้ าถัดไป
นักชีววิทยาจาแนกสิ่ งมีชีวิตเป็ น 5 กลุ่มใหญ่ หรือ 5 อาณาจักร
อาณาจักรโมเนรา (Kingdom Monera)
ได้ แก่ สิ่ งมีชีวติ ประเภทสาหร่ ายสี เขียวแกมนา้ เงิน และแบคทีเรีย
 อาณาจักรโปรโตซัว (Kingdom Protista)
ได้ แก่ สิ่ งมีชีวติ ประเภทสาหร่ าย (algae)โปรโตซัว และราเมือก
 อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi)
ได้ แก่ สิ่ งมีชีวติ ประเภทเห็ด รา และยีสต์
 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
ได้ แก่ สิ่ งมีชีวติ ประเภทพืช
 อาณาจักรสั ตว์ (Kingdom Animalia)
ได้ แก่ สิ่ งมีชีวติ ประเภทสั ตว์

ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มพืช
ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคน
ความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงก์ตอน
ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
(ecological
diversity)
 ระบบนิเวศแต่ ละระบบเป็ นแหล่ งของถิน
่ ทีอ่ ยู่อาศัย (habitat)
ของสิ่ งมีชีวติ ชนิดต่ างๆ ซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและชี วภาพที่
เหมาะสมกับสิ่ งมีชีวติ แต่ ละชนิดในระบบนิเวศนั้นสิ่ งมีชีวติ แต่ ละ
ชนิดผ่ านกระบวนการวิวฒ
ั นาการในอดีต และมีขดี จากัดที่จะดารง
อยู่ในภาวะความแปรปรวนของสิ่ งแวดล้ อม ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั ความ
หลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากร และความรุ นแรงของ
ความแปรปรวนของสิ่ งแวดล้ อมด้ วย
ความสาคัญ
ประโยชน์ ทางตรง
 1.เป็ นอาหารของมนุษย์ และสัตว์ เช่น หน่อไม้ เห็ด ผักต่างๆ
 2.เป็ นคลังยา เช่น พืชสมุนไพร
 3.เป็ นคลังเศรษฐกิจ เช่น เก็บของป่ ามาขาย
 4.เป็ นคลังเอนกประสงค์ เช่น สร้างบ้านเรื อน เฟอร์ นิเจอร์

ความสาคัญ
ประโยชน์ ทางอ้ อม
 1.เป็ นแหล่งต้นน้ าลาธาร
 2.เป็ นแหล่งพอกอากาศ คือ ต้นไม้ช่วยผลิตก๊าซอออกซิ เจน
 3.เป็ นกาแพงธรรมชาติ คือ รากของต้นไม้ป้องกันการพังทลายของ
ดิน
 4.เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ธรรมชาติและสิ่ งมีชีวต
ิ
 5.เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ

สาเหตุของความหลากหลายทางพันธุกรรม
 มิวเตชัน
่ เป็ นสาเหตุเบื้องต้นของความหลากหลายทางพันธุกรรม
ซึ่งเมื่อผนวกกับปั จจัยเริ่ มต่างๆ ก็ทาให้เกิดความหลากหลายของ
สิ่ งมีชีวติ และระบบนิเวศได้ นอกจากนี้เทคโนโลยีชีวภาพ
สมัยใหม่ อาทิ การถ่ายทอดหน่วยพันธุกรรมให้แก่เซลล์โดย
เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์ และเทคโนโลยีระดับโมเลกุล ก็เป็ น
วิธีการ รั้งความหลากหลายของกลุ่มหน่วยพันธุกรรมได้
เช่นเดียวกัน
สาเหตุของความหลากหลายของชนิดของสิ่ งมีชีวติ
 การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดสิ่ งมีชีวิตชนิ ดใหม่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ทา
ให้สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่สามารถสื บพันธุ์ได้เฉพาะภายในกลุ่มของตนเอง
แต่ไม่สามารถถ่ายทอดพันธุกรรมให้กบั สิ่ งมีชีวิตต่างชนิดได้ ปัจจัย
สาคัญของการเกิดสิ่ งมีชีวิตชนิดใหม่ จึงได้แก่การพัฒนาระบบและกลไก
การสื บพันธุ์โดยผ่านการคัดเลือกตามธรรมชาติ ซึ่งจะคัดพันธุ์ที่ดอ้ ยกว่า
ในด้านการสื บทอดลูกหลานออกไป
สาเหตุของความหลากหลายของระบบนิเวศ
 ระบบนิ เวศที่ยงั่ ยืนมักจะผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่มา
เป็ นระยะเวลาอันยาวนาน จนกระทัง่ ระบบนั้นมีกลไกทั้งทาง
ชีวภาพและกายภาพที่สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ได้ดี ซึ่งจัดว่าเป็ นระบบนิเวศในภาวะสมดุล คาว่า “สมดุล” ใน
ที่น้ ี หมายถึง ภาวะที่ระบบนิเวศสามารถปรับตัวเข้าภาวะเดิมได้
เมื่อประสบกับการเปลี่ยนแปลง
การสู ญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ
 1.การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์มากเกินไป
 2.การค้าขายสัตว์และพืชป่ าแบบผิดกฎหมาย
 3.การรบกวนแหล่งที่อยูอ่ าศัยตามธรรมชาติและระบบนิ เวศ
 4.การสู ญเสี ยแหล่งที่อยูอ่ าศัยเนื่ องจากการสร้างเขื่อน
 5.การล่าสัตว์ ทาให้สตั ว์สูญพันธุ์
 6.ภาวะมลพิษต่างๆ
สาเหตุของการสู ญเสียความหลากหลาย
การสูญเสีย
ถิน่ ที่อยู่อาศัย
การสูญเสีย
ความ
หลากหลายทาง
พันธุกรรม
จานวน
ประชากรที่
เจริญพันธุ์ได้
มีอยู่น้อย
การอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ

1. จัดระบบนิเวศให้ใกล้เคียงตามธรรมชาติ
โดยให้คงความ
หลากหลายทางชีวภาพไว้มากที่สุด
 2. จัดให้มีศูนย์อนุรักษ์หรื อพิทกั ษ์สิ่งมีชีวิตนอกถิ่นกาเนิ ด เพื่อเป็ น
ที่พกั พิงชัว่ คราวที่ปลอดภัย ก่อนนากลับไปสู่ ธรรมชาติ
 3. ส่ งเสริ มการเกษตรแบบไร่ นาสวนผสม เพื่อให้มีพืชและสัตว์
หลากหลายชนิดมาอาศัยอยูร่ ่ วมกัน ซึ่ งเป็ นการอนุรักษ์ความ
หลากหลายทางชีวภาพได้
สรุป
 ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสาคัญต่ อสิ่ งมีชีวต
ิ มาก ดังนั้น
จึงต้ องมีการรักษาสมดุลของธรรมชาติ โดยใช้ มาตรการและการ
อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม รวมทั้งการพัฒนา
โครงการใดๆ ควรเป็ นการพัฒนาแบบยัง่ ยืน โดยมีการดาเนินการ
อย่ างรัดกุม รอบคอบไม่ ทาลายสิ่ งแวดล้ อม ไม่ ก่อให้ เกิดปัญหาต่ อ
ตนเอง ทั้งทางตรงและทางอ้ อม
การจัดจาแนกสิ่ งมีชีวติ
อนุกรมวิธาน (taxonomy) ซึ่งเป็ นวิชาทีศ่ ึกษาเกีย่ วกับ
การจาแนกประเภทของสิ่ งมีชีวติ ให้ เป็ นหมวดหมู่
(classification) การตรวจสอบสิ่ งมีชีวติ
(identification) และการกาหนดชื่อตามหลักเกณฑ์
สากล (nomenclature) ให้ กบั หมวดหมู่และชนิด
ของสิ่ งมีชีวติ นั้นๆ
การจัดจาแนกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวติ
การจัดจาแนกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวติ มี 3 วิธี คือ
การจัดจาแนกสิ่ งมีชีวติ แบบผิวเผิน (artificial system)
การจัดจาแนกสิ่ งมีชีวติ ตามลักษณะทางพันธุกรรม
(phylogenetic system)
การจัดจาแนกสิ่ งมีชีวติ ตามลักษณะทาง
ธรรมชาติ (natural classification)
หลักเกณฑ์ ทั่วไปที่ใช้ ในการจาแนกสิ่ งมีชีวติ
พิจารณาโครงสร้ างภายนอกและภายใน
พิจารณาถึงความสั มพันธ์ ทางวิวฒ
ั นาการของสิ่ งมีชีวติ
พิจารณาแบบแผนการเจริญของตัวอ่ อน ตั้งแต่ แรกเริ่ ม
พิจารณากระบวนการทางชีวเคมีและสรีรวิทยา
พิจารณาการแพร่ กระจายทางภูมิศาสตร์ และพฤติกรรม
ของสิ่ งมีชีวติ
ลาดับการจาแนกสิ่ งมีชีวติ







Kingdom
Phylum or Division
Class
Order
Family
Genus
species
การกาหนดชื่อวิทยาศาสตร์ ของสิ่ งมีชีวติ
ค.ศ. 1758 Carlorus Linnaeus
บิดาแห่ งวิชาอนุกรมวิธาน
(binomial nomenclature )
กุหลาบ มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Rosa rubra คาว่ า rubra
หมายถึง สี แดง
พริกไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Piper nigrum คาว่ า
nigrum หมายถึง สี ดา
ไวรัส (VIRUS)
ไวรา (Kingdom Vira) มีขนาด 0.01-0.3 ไมครอน อนุภาค
(particle) หรือไวริออน (virion)
•มีโครงสร้ างที่ยงั
ไม่ จดั ว่ าเป็ นเซลล์
เรียกว่ า อนุภาค
•ดารงชีพแบบ
ปรสิ ต
การจาแนกชนิดของสิ่ งมีชีวติ
 ปั จ จุ บ น
ั มี สิ่ง มี ชีวิต ที่ ได้รับการจาแนกชนิ ดประมาณ 2 ล้านชนิ ด โดย
จาแนกออกเป็ นอาณาจักร (Kingdom) ต่างๆ กันถึง 5 อาณาจักร ซึ่ งเป็ น
ระบบที่นิยมกันมากที่สุดในปัจจุบนั
การจาแนกประเภททาเพือ่ อะไร

เพือ่ ความสะดวกในการค้ นคว้ าหาข้ อมูล เช่ นเดียวกับการค้ นหา
หนังสื อในห้ องสมุดสั กเล่ ม หากเจ้ าหน้ าทีจ่ ัดไว้ ให้ เป็ นระบบจะค้ นคว้ า
ได้ อย่างรวดเร็ว

เพือ่ แสดงความสั มพันธ์ ทางวิวฒ
ั นาการของสิ่ งมีชีวติ ชีวิตทุกชีวติ ย่ อมมี
วิวฒ
ั นาการ การจัดหมวดหมู่ในปัจจุบัน จะยึดหลักวิวฒ
ั นาการทั้งสิ้น
การรู้จักวิวฒ
ั นาการ จะช่ วยให้ หาความใกล้เคียงของชนิดสิ่ งมีชีวติ ได้
อาณาจักรสิ่ งมีชีวติ
 เฮคเคล (Haeckel) ชาวเยอรมันได้ จาแนกสิ่ งมีชีวต
ิ เป็ น 5
อาณาจักร
 อาณาจักรโมเนอรา เซลล์ แบบโพรคารีโอต นิวเคลียสไม่ มีเยือ่ หุ้ม
 อาณาจักรโพรทิสตา มีลกั ษณะกึง่ กลาง แยกไม่ ออกว่ าเป็ นพืชหรื อสั ตว์
 อาณาจักรฟังไจ มีลกั ษณะเหมือนพืช คือมีผนังเซลล์ แต่ ไม่ มีคลอโรฟี ลล์
 อาณาจักรพืช มีคลอโรฟี ลล์ มีผนังเซลล์ สร้ างอาหารเอง
 อาณาจักรสั ตว์ ไม่ มีคลอโรฟี ลล์ หาอาหารกินเอง
ชื่อวิทยาศาสตร์
 คาโรลัส ลินเนียส นักวิทยาศาสตร์ ชาวสวีเดน เป็ นคนแรกที่จัดเรียก
สิ่ งมีชีวติ โดยระบบทวินาม
 ชื่ อตัวแรกเป็ นชื่ อสกุล ให้ เขียนนาด้ วยอักษรตัวใหญ่ เสมอ เช่ น
Escherichia, Plasmodium
 ชื่ อตัวหลังเป็ นชื่ อชนิดหรือชื่ อตัวให้ เขียนนาด้ วยตัวเล็กเสมอ เช่ น
coli,vivax,ovale
 ดังนั้นชื่ อระบบทวินามทีถ่ ูกต้ องคือ Escherichia coli
Plasmodium vivax, Plasmodium ovale
ชื่อวิทยาศาสตร์ไตรนาม




ชื่อวิทยาศาสตร์ หากเขียนให้ ครบส่ วนจะมี 3 ชื่อ ซึ่งอาจเป็ นชื่อชนิดย่ อย
(subspecies) หรืออาจเป็ นชื่อผู้ต้งั แต่ จะนิยมเขียนเมือ่ ต้ องการ
แสดงความสมบรูณ์ เช่ น ผลงานวิชาการ ผลงานแสดง หรือต้ องการ
แสดงรายละเอียด หรืออืน่ ๆ
ตัวอย่ างการเขียนไตรนามทีเ่ ป็ นชนิดย่ อย
บรอกโคลี Brassicae oleraceae botrytis
กะหลา่ ดอก Brassicae oleraceae capitata
ชื่อวิทยาศาสตร์ ไตรนาม
 ตัวอย่ างชื่ อวิทยาศาสตร์ ไตรนามทีเ่ ป็ นชื่อผู้ต้งั
 แมลงวันผลไม้ Bactocera
dorsalis Hendel
 สาหร่ ายสี เขียว Cladophora fracta Kutzing
 กุ้งกุลาดา Penaeus monodon Frabicius
 เพลีย้ จักจั่นข้ าว Nilaparvata lugens Stall
 ลิน
้ จี่ Litchi chinensis Sonn
 ลองกอง Dimocarpus longan Lour
ระดับของการจาแนกประเภท

Phylum or Division
Superclass
Class
Subclass
Order
Family
Genus
Species
อาณาจักรโมเนอรา
เป็ นอาณาจักรต่าสุ ด เซลล์แบบโพรคารีโอต ไม่ มีนิวเคลียส ไม่มีไมโท
คอนเดรีย ไม่ มีเอ็นโดพลาสมิกเรติควิ ลัม ไม่ มีกอลจิบอดี แบ่งออกเป็ น 2
ดิวชิ ันคือชิโซไฟตาและไซยาโนไฟตา
 ดิวช
ิ ันชิโซไฟตาได้ แก่แบคทีเรีย ซึ่งมีมากมายและมีรูปร่ างอยู่ 3 แบบคือ
กลม แท่ ง และเกลียว
 ดิวช
ิ ันไซยาโนไฟตาได้ แก่สาหร่ ายสี เขียวแกมนา้ เงิน ซึ่งมีสารสี ไฟโคไซ
ยานินเป็ นองค์ ประกอบหลัก บางชนิดมีเมือกหุ้ม บางชนิดมีปลอกหุ้ม มี
บทบาทสู งมากต่ อระบบนิเวศของโลก

รูปร่ างแบคทีเรีย
(ซ้ าย) ภาพวาดแบคทีเรีย (ขวา) แบคทีเรียรูปแท่ ง
แบคทีเรีย
(ซ้ าย) รูปกลม (ขวา) รูปเกลียว
สาหร่ ายสี เขียวแกมน้าเงิน
สาหร่ ายแอนนาบีนา
สาหร่ ายสี เขียวแกมนา้ เงินอยู่เป็ นกลุ่ม
(ซ้ าย) ครูโอคอกคัส (ขวา) กลีโอแคพซา
สาหร่ ายออสซิลาทอเรียอยู่เป็ นสาย
อาณาจักรโพรทิสตา

สิ่ งมีชีวติ ทีไ่ ม่ สามารถจัดเข้ ากลุ่มใดได้ เนื่องจากมีลกั ษณะกา้ กึง่ ระหว่ างพืชและ
สั ตว์ เซลล์ แบบยูคารีโอต มีนิวเคลียส มีไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี อาจมีหรือไม่
มีคลอโรฟี ลล์ อาจมีหรือไม่ มผี นังเซลล์ แบ่ งออกเป็ น 3 กลุ่มคือสาหร่ ายเซลล์
เดียว ราเมือกและสั ตว์ เซลล์เดียว
 สาหร่ ายเซลล์ เดียวมี 3
ดิวชิ ันคือ ไพโรไฟตา คริสโซไฟตา ยูกลีโนไฟตา
 ราเมือกมี 2 ดิวช
ิ ันคือ มิกโซไมโคตา อะคราซิโอไมโคตา
 สั ตว์ เซลล์ เดียวมี 3 ไฟลัมคือ ซาร์ โคแมสทิโกฟอรา อะพิคอมเพลกซา
และซิลโิ อฟอรา
ไพโรไฟตา
ได้ แก่ไดโนแฟลเจลเลต เช่ นคริพโทโมแนส ไคโลโมแนส โกนีออแลก เซอราเทียม ยิ
มโนไดเนียม กลุ่มนีม้ แี ฟลเจลลา 2 อัน พบทั้งในนา้ จืดและนา้ เค็ม มีบทบาทต่ อ
ระบบนิเวศมาก บางครั้งก่อปัญหาเช่ น ขีป้ ลาวาฬ ทาให้ ปลาและสั ตว์ นา้ เป็ น
อันตรายครั้งละมากๆ
ไพโรไฟตา
(ซ้ าย) ไคโลโมแนส (ขวา) คริพโทโมแนส
ไพโรไฟตา
ยิมโนดิเนียม
คริสโซไฟตา
 สมาชิ กที่สาคัญคือ ไดอะตอม เป็ นสาหร่ ายทีป
่ ระกอบด้ วยฝา 2
ฝา
ประกบกัน ผนังเซลล์มีลวดลายสวยงามมาก เป็ นแหล่งอาหารสาคัญของ
โลก เพราะเป็ นผู้ก่อระบบนิเวศทั้งในนา้ จืดและทะเล นอกจากนีย้ งั
ประกอบด้ วยสาหร่ ายสี นา้ ตาลแกมเหลืองและสาหร่ ายสี เขียวแกมเหลือง
อีกด้ วย
คริสโซไฟตา (ไดอะตอม)
(ซ้ าย) แสดงฝาบนและล่ าง (ขวา)ไดอะตอมชนิดต่ างๆ
ไดอะตอมชนิดต่ างๆ
ยูกลีโนไฟตา
 สมาชิ กที่สาคัญคือสาหร่ ายเซลล์ เดียวสี เขียว มีแฟลเจลลาในการเคลือ่ นที่
มีคลอโรฟี ลล์ มีอาหารสะสมในเซลล์เป็ นพวกแป้งและลิพดิ สมาชิกทีร่ ู้จัก
กันดีคอื ยูกลีนา ฟาคัส
ยูกลีโนไฟตา
ยูกลีนา
ฟาคัส
มิกโซไมโคตา

ได้ แก่ ราเมือกทีย่ งั ไม่ แบ่ งเป็ นเซลล์ พบตามใบไม้ ขอนไม้ ผุ มีโครงสร้ างเรียกว่ า
พลาสโมเดียม มีส่วนสร้ างสปอร์ ได้เรียกว่าฟรุตติงบอดี เช่ นไฟซารัม
มิกโซไมโคตา (Physarum)
(ซ้ าย) ในอาหารเลีย้ งเชื้อ (ขวา) พลาสโมเดียม
อะคราซิโอไมโคตา
 ได้ แก่ ราเมือกทีแ่ บ่ งเป็ นเซลล์ พวกนีส
้ ามารถสร้ างพลาสโมเดียม
เทียมได้ พลาสโมเดียมสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ รากลุ่มนีส้ ร้ างสปอร์ ได้
ตัวอย่ างเช่ น ดิกทีโอสเตเลียม
ราเมือก (ฟรุตติงบอดี)
อะคราซิโอไมโคตา (Dictyostelium)
(ซ้ าย) วัฏจักรชีวติ (ขวา) ฟรุตติงบอดี
ไฟลัมซาร์ โคแมสทิโกฟอรา

ประกอบด้ วยสั ตว์ เซลล์เดียว 2 กลุ่มคือ กลุ่มทีม่ ีแฟลเจลลาในการ
เคลือ่ นทีแ่ ละกลุ่มทีม่ ีตีนเทียมในการเคลือ่ นที่
กลุ่มทีม่ ีแฟลเจลลา เช่ น ไตรโคนิมฟาอยู่ในลาไส้ ปลวก ทริพาโนโซมาก่อ
โรคเหงาหลับอาฟริกนั โรคเหงาหลับอเมริกนั ไกเดียก่อโรคท้ องเสี ย
เรื้อรังในเด็ก ไตรโคโมแนสก่อกามโรคในคน
 กลุ่มทีม
่ ีตีนเทียมเช่ น อะมีบาในนา้ จืด เอนตามีบาก่อโรคบิดในคน ฟอรา
มินิเฟอแรนในทะเล เรดิโอลาเรียน แอกทิโนไฟร์ แอกทิโนสฟี เรียม

กลุ่มทีม่ ีแฟลเจลลา (Trypanosoma)
(ซ้ าย) ภาพถ่ าย (ขวา) ภาพวาด
ไฟลัมอะพิคอมเพลกซา

เป็ นกลุ่มทีไ่ ม่ มีโครงสร้ างในการเคลือ่ นที่ สร้ างสปอร์ ได้ สปอร์ เรียกว่ า
สปอโรซอยต์ ส่ วนใหญ่ จะอาศัยสร้ างสปอร์ ในแมลง เช่ น ยุง หรือสร้ าง
ในเห็บเช่ น เชื้อบาบีเซีย (Babesia) ตัวอย่ างทีน่ ่ ารู้จักคือ พลาสโม
เดียม ก่อโรคมาลาเรียในคน สั ตว์ ปีก
ไฟลัมซิลโิ อฟอรา
 กลุ่มนีม
้ ีขนเซลล์ในการเคลือ่ นที่ มีท้งั ดารงชีพอิสระและปรสิ ต ตัวอย่ างที่
รู้จักกันดีคอื พารามีเซียม นอกจากนีม้ ีสเตนเตอร์ วอร์ ติเซลลา ไดดิเนียม
ทีเ่ ป็ นปรสิ ตเช่ น บาแลนทิเดียม เป็ นปรสิ ตในลาไส้ สุกร สั ตว์ กลุ่มนี้
จัดเป็ นผู้ล่า ก่อเกิดห่ วงโซ่ อาหารในธรรมชาติ
ไฟลัมซิลโิ อฟอรา (พารามีเซียม)
ไฟลัมซิลโิ อฟอรา (สเตนเตอร์ )
วอร์ ติเซลลา
อาณาจักรเห็ดรา
 อาณาจักรเห็ดราประกอบด้ วยเห็ด รา ยีสต์ เป็ นพวกทีไ่ ม่ มีคลอโรฟี ลล์
ผนังเซลล์เป็ นสารไคทิน แต่ บางชนิดเป็ นเซลลูโลสเหมือนพืช บางชนิด
อยู่เป็ นสาย บางชนิดอยู่เดี่ยว มีท้งั ดารงชีวติ แบบแซโพรไฟต์ และปรสิ ต
 อาณาจักรเห็ดราแบ่ งออกเป็ น 5
ดิวชิ ันคือ ไซโกไมโคตา แอสโคไมโคตา
เบสิ ดิโอไมโคตา ดิวเทอโรไมโคตาและเออโอไมโคตา
ดิวชิ ันไซโกไมโคตา
 เป็ นราชั้ นต่า ใยราไม่ มีผนังกั้น สื บพันธุ์ได้ 2
แบบ แบบไม่ อาศัยเพศโดย
การสร้ างอับสปอร์ เรียกว่ า สปอแรงจิโอสปอร์
(sporangiospore) แบบอาศัยเพศโดยการสร้ างไซโกสปอร์
จากใยราทีม่ ีโครโมโซมชุดเดียว ทีร่ ู้จักกันดีทสี่ ุ ดคือ ราขนมปัง
ราขนมปัง
ไซโกไมโคตา
(ซ้ าย) ราขนมปัง (ขวา) รามิวเคอร์
ดิวชิ ันแอสโคไมโคตา
 เป็ นราทีใ่ ยรามีผนังกั้น การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศเกิดจากใยราทีม
่ ี
โครโมโซมชุ ดเดียวมาผสมกัน และสร้ างอับสปอร์ มีลกั ษณะเป็ นถุง
เรียกว่ า แอสโคสปอร์ ตัวอย่ างเช่ นราถ้ วย
 ยีสต์ จัดเป็ นราเซลล์ เดียว การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศโดยการแตกหน่ อ
การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยการสร้ างแอสโคสปอร์ เช่ นเดียวกัน ยีสต์ มี
เอ็นไซม์ เปลีย่ นนา้ ตาลเป็ นแอลกอฮอล์จึงนามาหมักเหล้า เบียร์ ยีสต์ บาง
ชนิดดารงชีวติ แบบปรสิ ต เช่ น แคนดิดา (Candida)
ดิวชิ ันแอสโคไมโคตา
(ซ้ าย) แอสโคสปอร์ (ขวา) เห็ด Morchella
ดิวชิ ันเบสิ ดิโอไมโคตา
 เป็ นราทีม
่ ีผนังกั้น สื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศโดยใยราทีม่ ีโครโมโซมชุด
เดียวมาผสมกัน และสร้ างอับสปอร์ เรียกว่ า เบสิ ดิโอสปอร์ เห็ดที่เรา
มองเห็นนั้นเรียกว่ า ฟรุตติงบอดี ซึ่งเกิดจากใยราอัดกันแน่นจนเกิดเป็ น
ดอกเห็ด
 เห็ดดารงชี วต
ิ แบบแซโพรไฟต์ กินอาหารเหลวที่ย่อยจากอินทรี ย์สาร แต่
มีเห็ดบางชนิดดารงชีวติ แบบปรสิ ตเช่ น ราดา
เห็ด
(ซ้ าย) เบสิ ดิโอสปอร์ (ขวา) ฟรุตติงบอดี
ดิวชิ ันดิวเทอโรไมโคตา
 เป็ นราทีม
่ ีผนังกั้น แต่ ราในกลุ่มนีย้ งั ไม่ พบว่ ามีการสืบพันธุ์แบบอาศัย
เพศ พบแต่ การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ โดยการสร้ างสปอร์ หากพบ
การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศจะต้ องนาไปจัดไว้ ในกลุ่มอืน่
 ตัวอย่ างราทีพ
่ บมากและเป็ นทีร่ ู้จักดีคอื เพนนิซิเลียม นามาทาเป็ นยา
ปฏิชีวนะเพนนิซิลนิ ราแอสเพอร์ จิลลัสเป็ นต้ น
ดิวเทอโรไมโคตา
(ซ้ าย) แอสเพอร์ จิลลัส (ขวา) เพนนิซิเลียม
ดิวชิ ันเออโอไมโคตา
 ราในดิวช
ิ ันนีเ้ ป็ นราทีม่ ีลกั ษณะต่ างจากราทั่วไปคือ ผนังเซลล์มี
ส่ วนประกอบเหมือนพืช การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยการสร้ างเออโอ
สปอร์ การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศโดยการสร้ างซูโอสปอร์ และเป็ นราที่
อยู่ในนา้ หรือทีช่ ื้น
 ราทีร่ ้ ู จักกันดีคอื รานา้ รานา้ ค้ างซึ่งก่ อโรคทีส
่ าคัญในพืชหลายชนิด
เช่ นถั่วเหลือง บรอคโคลี องุ่น ข้ าวโพดและอืน่ ๆ
ราน้าค้ าง
(ซ้ าย) รานา้ ค้ างองุ่น (ขวา) ราน้าค้ าง
ราน้า
(ซ้ าย) เออโอโกเนีย (ขวา) อับสปอร์
หลักเกณฑ์ ทใี่ ช้ ในการพิจารณาให้ อยู่ในอาณาจักรพืช
สามารถสร้ างอาหารเองได้ เพราะมีคลอโรฟิ ลล์เคลือ่ นทีไ่ ม่ ได้ แต่
เคลือ่ นไหวได้ มีการดารงชีวติ แบบผู้ผลิต สามารถเปลีย่ นพลังงาน
แสงเป็ นพลังงานเคมีได้ เซลล์ มีผนังเซลล์ มีการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
ช้ า เพราะไม่ มีระบบประสาท
เซลล์เป็ นแบบ Eukaryotic cell ( มีเยือ่ หุ้มนิวเคลียส )
เราสามารถจาแนกสิ่ งมีชีวติ ในอาณาจักรพืชออกเป็ น 8 ดิวชิ ั่น ดังนี้
อาณาจักรพืช
 อาณาจักรพืชหรือเมตาไฟตาเป็ นอาณาจักรใหญ่ ประกอบไปด้ วย
สิ่ งมีชีวติ ทีม่ ีคลอโรฟี ลล์ วัฏจักรชีวติ จะเป็ นแบบสลับ สื บพันธุ์ได้ ท้งั แบบ
อาศัยเพศและไม่ อาศัยเพศ
 อาณาจักรพืชแบ่ งออกเป็ น 2
กลุ่มคือ กลุ่มทีม่ ีแหล่งกาเนิดในนา้ และ
แหล่งอาศัยบนบก
 กลุ่มสาหร่ ายแบ่ งออกเป็ น 3
ดิวชิ ันคือ โรโดไฟตา ฟี โอไฟตาและคลอโร
ไฟตา
 กลุ่มพืชบกแบ่ งออกเป็ น 10
ดิวชิ ัน ต่าสุ ดคือไบรโอไฟตาพืชไม่ มที ่ อ
ลาเลียง สู งสุ ดคือแอนโทไฟตา พืชมีดอก
ดิวชิ ันโรโดไฟตา
 เป็ นสาหร่ ายทีม
่ ีสารสี ชื่อไฟโคอีรีทรินปนอยู่กบั คลอโรฟี ลล์ทาให้ มองดู
ด้ วยตาจะเป็ นสี แดงเรื่อ ส่ วนใหญ่ จะเป็ นสาหร่ ายทะล มนุษย์ นาเอามาใช้
ประโยชน์ เช่ น เป็ นอาหาร หรือนามาใช้ ประโยชน์ อนื่ ๆ
 สาหร่ ายเจลิเดียมนามาทาเป็ นวุ้นเลีย้ งจุลน
ิ ทรีย์
 สาหร่ ายพอร์ ไฟรา คนจีนเรียกว่ าจีฉ่ายนามาทาอาหารเช่ นใส่ แกงจืด
 สาหร่ ายโรไดมีเนีย คนญีป
่ ุ่ นนามากินเป็ นอาหาร
โ
สาหร่ ายแดง
ร
ไ
ด
มี
เ
เ
จ
นี
ลิ
ย
เ
ดี
พ
สาหร่ ายแดง
พอร์ ไฟรา
ดิวชิ ันฟี โอไฟตา
 เป็ นสาหร่ ายทีม
่ ีสารสี สีนา้ ตาลปนอยู่กบั คลอโรฟี ลล์ เป็ นสาหร่ ายทีม่ ี
ขนาดใหญ่ สุด พบในทะเลและเป็ นส่ วนประกอบของท้ องทะเลในนาม
หญ้ าทะเล (sea weed)
 สาหร่ ายสี นา้ ตาลจะมีรูปร่ างคล้ ายพืชชั้ นสู ง ทีค
่ ล้ายต้ นพืชเรียกว่ า
แทลลัส เนื่องจากไม่ มีราก ลาต้ นและใบ ส่ วนที่คล้ายรากเรียก
Holdfast ส่ วนคล้ายลาต้ นเรียก Stipe ส่ วนคล้ายใบเรียก
Blade
 สาหร่ ายบางชนิดจะมีถุงลมเพือ่ ช่ วยให้ เบลดลอยตัวใกล้ ผวิ นา้ ตัวอย่ าง
ของสาหร่ ายนา้ ตาลเช่ น Postelsia, Macrocystis
Laminaria, Fucus
สาหร่ ายสี น้าตาล
โพลเทลเซียหรือปาล์มทะเล
สาหร่ ายสี น้าตาล
แมโครซิสทิส
สาหร่ ายสี น้าตาล
ลามินาเรีย
สาหร่ ายสี น้าตาล
สาหร่ ายฟิ วคัสโปรดสั งเกตถุงลม
คลอโรไฟตา

สาหร่ ายสี เขียวมีลกั ษณะเช่ นเดียวกับพืชชั้นสู ง นักวิทยาศาสตร์ บางคน
จัดเป็ นพืชสี เขียว ซึ่งเป็ นความคิดเห็นที่แตกต่ างกัน มีสมาชิกมากกว่ า
7,000 ชนิด ส่ วนใหญ่ อาศัยอยู่ในนา้ จืด แต่ ในทะเลก็มีไม่ ใช่ น้อย

สาหร่ ายสี เขียวมีต้งั แต่ สาหร่ ายมีเซลล์เดียวเช่ น คลาไมโดโมแนส หรืออยู่
เป็ นกลุ่ม เช่ นวอลวอกซ์ (Volvox) หรืออยู่เป็ นสายเช่ น สไปโรไจรา
(Spirogyra) หรือเทานา้ หรืออยู่เป็ นแทลลัส เช่ น อัลวา (Ulva)
คอเลอร์ ปา (Caulerpa) เป็ นต้ น
สาหร่ ายสี เขียว
วอลวอกซ์
สาหร่ ายสี เขียว
คอเลอร์ ปา
สาหร่ ายสี เขียว
สไปโรไจรา
สาหร่ ายสี เขียว
อัลวา
ดิวชิ ันไบรโอไฟตา
 เป็ นพืชบกกลุ่มแรกทีข
่ นึ้ มาอยู่บนบก เชื่อกันว่ าวิวฒ
ั นาการมาจาก
สาหร่ ายสี เขียว ดังนั้นจึงยังไม่ มที ่ อลาเลียง ไม่ มีราก ใบ ดอกมีแต่ แทลลัส
ต้ นเล็กมากยังไม่ สามารถอยู่ห่างจากนา้ ได้ มีสมาชิกประมาณ18,600
ชนิด
 มีแกมีโตไฟต์ เจริญดีสปอโรไฟต์ เจริญอยู่บนแกมีโตไฟต์ เป็ นกลุ่มทีเ่ ป็ น
ดัชนีบ่งชี้ให้ ทราบว่าแหล่งใดมีความชื้นสู ง
 สมาชิ กที่สาคัญมี 3
กลุ่มคือ มอสส์ (12,000) ลิเวอร์ เวิร์ต (6,500
ชนิด) และฮอร์ นเวิร์ต (100 ชนิด)
-เป็ นพืชดิวชิ ั่นเดียวทีจ่ ัดว่ าเป็ น พืชไม่ มที ่ อลาเลียง ( Non – vascular plant )
-ไม่ มรี าก ลาต้ น ใบ ทีแ่ ท้ จริงจะมีส่วนทาหน้ าทีค่ ล้ ายราก ลาต้ น ใบราก เรียกว่ า Rhizoid
(ไรซอย) ยึดเกาะ,
Rhizoid (ไรซอย)
สปอร์ โรไฟต์
แกมีโตไฟต์
มอส
ลิเวอร์ เวิร์ท
สปอร์ โรไฟต์ คือช่ วงชีวติ ทีเ่ ซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้ผสมกับเซลล์
สื บพันธุ์เพศเมีย เกิดการงอกเจริญเป็ นต้ นสปอร์ โรไฟต์ จะอยู่บนแกมีโต
ไฟต์ ปลายของสปอร์ โรไฟต์ มีอบั สปอร์ ทาหน้ าที่สร้ างสปอร์
สปอโรไฟต์
แกมีโตไฟต์
มอส
มอสส์
แกมีโตไฟต์ ต้นอ่ อน
แกมีโตไฟต์ เพศผู้
ลิเวอร์ เวิร์ต
แทลลัส
ลิเวอร์ เวิร์ต
แอนเทอริเดีย
ลิเวอร์ เวิร์ต
อาร์ คโี กเนีย
ฮอร์ นเวิร์ต
แกมีโตไฟต์
ฮอร์ นเวิร์ต
สปอโรไฟต์ อ่อน
แทลลัส
ดิวชิ ันไซโลไฟตา
 สมาชิ กได้ แก่ หวายทะนอย (Psilotum) จัดว่ าเป็ นพืชมีท่อลาเลียง
กลุ่มแรก ปัจจุบันมีน้อยชนิดและนับวันมีแต่ จะสู ญพันธุ์ เนื่องจาก
ปรับตัวเข้ าสู่ โลกยุคใหม่ ไม่ ได้
 ระยะสปอโรไฟต์ ไม่ มีใบ มีแต่ ลาต้ น มีแง่ งอยู่ใต้ ดิน สปอโรไฟต์ สร้ างอับ
สปอร์ สปอร์ ตกลงในดินและงอกเป็ นแกมีโตไฟต์ ผสมพันธุ์เจริญ
มาเป็ นสปอโรไฟต์
หวายทะนอย
สปอร์ แรงเจียม
สปอโรไฟต์
อับสปอร์
หวายทะนอย
หวายทะนอย
แกมีโตไฟต์
แกมีโตไฟต์ กาลังงอกสปอโร
ไฟต์
ดิวชิ ันไลโคไฟตา
 เป็ นพืชมีท่อลาเลียงกลุ่มทีส
่ องของโลก มีมากในยุคคาร์ บอนิเฟอรัส
วิวฒ
ั นาการมา 2 สาย สายหนึ่งเป็ นไม้ เนือ้ แข็ง อีกสายหนึ่งเป็ นพวกเอพิ
ไฟท์ เจริญบนต้ นไม้ แต่ ไม่ ใช่ ปรสิ ต สมาชิกทั้งหมดประมาณ 1,000
ชนิด
 พืชกลุ่มอืน
่ อาศัยอยู่ตามพืน้ ดิน จนได้ รับฉายาว่ าสนดิน พบตามป่ าร้ อน
ชื้น สมาชิกที่สาคัญคือ ไลโคโพเดียม และซีแลกจิเนลลา
 สปอโรไฟต์ จะมีโครงสร้ างทีใ่ ช้ สืบพันธุ์เรียกว่ า ใบสร้ างอับสปอร์
(sporophyll)สปอร์ ตกลงบนดินงอกเป็ นแกมีโตไฟต์ มีขนาดเล็ก
Strobilus
มีราก ใบ ลาต้ นที่แท้ จริง บางชนิดมี
ลาต้ นตั้งตรงหรือเลือ้ ยตามพืน้ ดิน มีลา
ต้ นใต้ ดนิ เรียกว่ า Phizoid
ใบมีขนาดเล็ก เรียงซ้ อนกันเรียกว่ า
Porophill ทาหน้ าทีห่ ่ อหุ้ม
รองรับสปอร์ ส่วนปลายยอดจะมี
ลักษณะเป็ นเกล็ดเล็กๆ เรียงซ้ อนกัน
เรียกว่ า Strobilus
ไลโคโพเดียม
สปอโรไฟต์ และสโตรบิลสั
Strobilus ทาหน้ าที่สร้ างสปอร์
เมกะสปอร์ แรงเจียม ( เพศเมีย )
ไมโครสปอร์ แรงเจียม (เพศผู้ )
เมกะสปอร์ แรงเจียม ( เพศเมีย )
ไมโครสปอร์แรงเจียม (เพศผู้ )
ซีแลกจิเนลลา
สปอโรไฟต์
สโตรบิลสั
ซีแลกจิเนลลา
สปอโรไฟต์
ดิวชิ ันสฟี โนไฟตา
 สมาชิ กมีเพียงสกุลเดียว คนไทยเรียกว่ า สนหางม้ า เป็ นพืชยุคคาร์ บอนิ
เฟอรัส ปัจจุบันมีน้อยมากประมาณ 15 ชนิด พบตามบริเวณทีม่ ี
ความชื้น เช่ นริมฝั่งแม่ นา้
 ต้ นที่เห็นชั ดเจนคือ สปอโรไฟต์ สร้ างสปอร์ แกมีโตไฟต์ เจริญมาจาก
สปอร์ มี 2 ต้ นแยกเพศ และอาศัยอยู่ในดินเป็ นอิสระจากต้ นสปอโรไฟต์
Strobilus
หญ้ าถอดปล้อง
Strobilus
สนหางม้ า
สปอโรไฟต์
สโตรบิลสั
มีราก ลาต้ น ใบทีแ่ ท้ จริง
ใบมีขนาดใหญ่ เป็ นใบเดีย่ วหรือใบประกอบ ใบอ่อนจะม้ วนจากปลายใบมายัง
โคนเป็ นวง
ระยะสปอร์ โรไฟต์ จะมีกลุ่มอับสปอร์ อยู่ใต้ ท้องใบเรียกว่ า Sorus
ระยะแกมีโตไฟต์ จะมีลกั ษณะเป็ นแผ่ นสี เขียวบางๆ คล้ ายรู ปหัวใจเรียกว่ า
Prothallus
ตัวอย่ าง พวกเฟิ ร์ น ผักกูด ย่ านลิเภา ผักแว่ น ชายผ้ าสี ดา
ดิวชิ ันเทอโรไฟตา
 ปัจจุบันมีประมาณ 12,000
ชนิดพบแพร่ กระจายอยู่ในเขตร้ อน แต่ ก็
พบในเขตอบอุ่นหลายชนิดเช่ นเดียวกัน
 เฟิ ร์ นจะมีใบเรียกว่ า ฟรอนด์ เป็ นใบประกอบ ปลายใบอ่ อนจะม้ วนงอ
สปอโรไฟต์ ของเฟิ ร์ นจะสร้ างสปอร์ สปอร์ จะตกลงและงอกเป็ นแกมีโต
ไฟต์ รูปหัวใจ แกมีโตไฟต์ จะสร้ างเซลล์สืบพันธุ์มาผสมกัน เกิดเป็ น
สปอโรไฟต์ ใหม่ ต่อไป
เฟิ ร์ น
สปอโรไฟต์
อับสปอร์
เฟิ ร์ น
เฟิ ร์ น
สปอโรไฟต์ งอกใหม่
พวกเฟิ ร์ น
เฟิ ร์ นฮาวาย
เฟิ ร์ นปะการัง
เฟิ ร์ นสยาม
เฟิ ร์ นแววปี กแมลงทับ
เฟิ ร์ นใบมะขาม
ดิวชิ ันโคนิเฟอโรไฟตา

จัดว่ าเป็ นพืชชั้นสู ง มีเมล็ดเป็ นกลุ่มแรก แต่ เมล็ดไม่ มีรังไข่ ห่อหุ้ม จึงเรียกว่ า
พืชเมล็ดเปลือย จัดเป็ นพืชในยุคคาร์ บอนิเฟอรัส (290-360 ล้านปี มาแล้ว)
มีประมาณ 550 ชนิด
 ต้ นสนที่เห็นจัดเป็ นสปอโรไฟต์ แกมีโตไฟต์ เห็นไม่ ชัดเจน เจริญอยู่ใน
ใบสร้ างอับสปอร์ ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของโคน การผสมพันธุ์อาศัยลม
มีราก ลาต้ น ใบทีแ่ ท้ จริง
ใบมีขนาดเล็กเป็ นใบเดีย่ ว มีลกั ษณะเป็ นรู ปเข็ม
ลาต้ นสู งใหญ่ แตกกิง่ ก้ านสาขา มีเนือ้ ไม้ มาก
เป็ นพวกแรกทีอ่ าศัยลมในการผสมพันธุ์
บริเวณปลายกิง่ จะมี Cone หรือ Strobilus เป็ นแผ่นแข็งสี
นา้ ตาลเรียงซ้ อนกันแน่ น ( เพศเมีย )
มีเมล็ดใช้ สาหรับสื บพันธุ์ เมล็ดไม่ มรี ังไข่ ห่อหุ้มจะติดอยู่กบั ส่ วน
Strobilus
ช่ วงชีวติ ที่เด่ นคือ สปอร์ โรไฟต์ ( อาศัยเพศ )
Strobilus
สนสองใบ
สนสามใบ
ดิวชิ ันไซคาโดไฟตา
 ปรง (Cycas) เป็ นพืชเมล็ดเปลือยเช่ นเดียวกับสน รู ปร่ างเหมือน
ปาล์ม แต่ ไม่ ใช่ ปาล์ม (เพราะไม่ มีดอก ปาล์มมีดอก) มีใบสร้ างอับสปอร์
เหมือนสนเพราะใบดัดแปลงไปเพือ่ การผสมพันธุ์
 ดิวช
ิ ันกิงค์ โกไฟตา มีเพียงชนิดเดียวคือ แปะก้วย ใบมีลกั ษณะคล้ายพัด
ในฤดูใบไม้ ร่วงจะผลัดใบ เป็ นพืชยืนต้ นมีท้งั ต้ นผู้และต้ นเมีย
 ดิวช
ิ ันนีโทไฟตา สมาชิกประมาณ 70
ชนิด ปัจจุบันมีเพียง 3 สกุลคือ
Welwitschia อยู่ในทะเลทรายในอาฟริกา Gnetum เป็ น
ไม้ ยนื ต้ นหรือไม้ เลือ้ ย พบในเอเชีย Ephedra เป็ นไม้ พ่มุ พบใน
ทะเลทรายในอเมริกา
มีราก ลาต้ น ใบที่แท้ จริง
ลาต้ นเตีย้ มีขนาดใหญ่ ใบเป็ นใบประกอบ มีขนาดใหญ่
คล้ ายใบมะพร้ าวแต่ เป็ นกระจุกทีส่ ่ วนยอด
มีเมล็ดใช้ ในการสื บพันธุ์มี Cone เมล็ดไม่ มีผนังรัง
ไข่ ห่อหุ้มเหมือนพืชพวกสน
งอกได้ ทันทีไม่ ต้องฟักตัว
ปรง
สปอโรไฟต์
สโตรบิลสั (โคน)
แปะก้ วย
ต้ นและใบ
ต้ นและเมล็ด
แปะก้ วย
Cone
ต้ นปรง
Cone
ไฟลัมแอนโทไฟตา

ได้ แก่พชื ดอกมีสมาชิกมากทีส่ ุ ดในโลกประมาณ 25,000 ชนิดมีดอก
ใบ ผล และเมล็ดอย่ างแท้ จริง สื บพันธุ์โดยใช้ ดอก เมล็ดมีรังไข่ หุ้ม
หลังจากปฏิสนธิ รังไข่ จะพัฒนาไปเป็ นผลหุ้มเมล็ด จัดว่ าเป็ นพืชที่
วิวฒ
ั นาการมาสู งสุ ดในปัจจุบัน

พืชดอกแบ่ งออกเป็ น 2 อันดับคือ พืชใบเลีย้ งเดี่ยว(Order
Monocotyledonae) และพืชใบเลีย้ งคู่ (Order
Dicotyledonae) ซึ่งมีลกั ษณะแตกต่ างกันมากมายหลาย
ประการ เช่ นเส้ นใบ ราก การจัดเรียงตัวของเนือ้ เยือ่ และอืน่ ๆ
มีววิ ฒ
ั นาการสู งทีส่ ุ ดในพวกพืชมีท่อลาเลียง
มีราก ลาต้ น ใบที่แท้ จริง
มีระบบลาเลียงเจริญดี มีท่อลาเลียงนา้ ( Xylem ) และท่ อ
ลาเลียงอาหาร (Phloem)
มีดอกเป็ นอวัยวะสื บพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ ห่อหุ้ม
การปฏิสนธิ เป็ นแบบซ้ อน Double
Fertilization การปฏิสนธิ 2 ครั้ง
( Xylem )
(Phloem)
Double Fertilization
nucleus
พืชมีดอก
ใบเลีย้ งคู่
พืชมีดอก ใบเลีย้ งเดี่ยว
ความแตกต่ างระหว่ างพืชใบเลีย้ งคู่ และพืชใบเลีย้ งเดี่ยว
พืชใบเลีย้ งคู่
1. มีใบเลีย้ ง 2 ใบ
2. เส้ นใบเป็ นแบบร่ างแห
3. ใบเลีย
้ งชู เหนือพืน้ ดิน
4. ระบบรากแก้ ว
5. ระบบท่ อลาเลียงเป็ นวงรอบข้ อ
6. กลีบเลีย
้ ง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 4-5
7. รากจะมีท่อลาเลียงนา้ และท่ อ
ลาเลียงอาหาร 4 แฉก
8. มี Cambium และมีการเจริ ญ
ทางด้ านข้ าง
พืชใบเลีย้ งเดีย่ ว
1. มีใบเลีย้ ง 1 ใบ
2. เส้ นใบเรียงแบบขนาน
3. ใบเลีย้ งไม่ ชูเหนือพืน้ ดิน
4. ระบบรากฝอย
5. ระบบท่ อลาเลียงกระจัดกระจาย
6. กลีบเลีย้ ง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 3
7. รากจะมีท่อลาเลียงนา้ และท่ อ
ลาเลียงอาหารมากกว่ า 4 แฉก
8. ไม่ มี Cambium และไม่ มกี ารเจริญ
ทางด้ านข้ าง
ทดสอบสมอง...ประลองความคิด
1.ส่ วนที่ทาหน้ าทีค่ ล้ ายรากใน ดิวิชั่นไบรโอไฟตา เรียกว่ าอะไร
เฉลย เรียกว่า ไรซอย
2.ดิวชิ ั่นใดทีม่ วี วิ ฒ
ั นาการต่าทีส่ ุ ด
เฉลย ดิวชิ ั่นไซโลไฟตา
3.เฟิ ร์ น ผัดกูด ย่ านลิเภา ผักแว่ น ชายผ้ าสีดา จัดเป็ นพืชในดิช้ ันใด
เฉลย ดิวชิ ั่นเทอโรไฟตา
4.ดิวชิ ั่นใด มีววิ ฒ
ั นาการสู งทีส่ ุ ดใน พวกพืชมีท่อลาเลียง
เฉลย ดิวชิ ั่นแอนโทไฟตา
5.ไซเลม เป็ นท่ อลาเลียงอะไรในพืช
เฉลย ลาเลียงนา้
6.Double Fertilization คืออะไร
เฉลย การปฏิสนธิแบบซ้ อน
7.พืชใบเลีย้ งเดีย่ วมีระบบรากแบบใด
เฉลย ระบบรากฝอย
8.โฟลเอมเป็ นท่ อลาเลียงอะไร ในพืช
เฉลย ท่ อลาเลียงอาหาร
9.ส่ วนทีล่ ูกศรชี้ เรียกว่ าอะไร และทาหน้ าทีอ่ ะไร
เฉลย ไซเลม ทาหน้ าที่ลาเลียงนา้
10.อาณาจักรพืชแบ่ งออกเป็ นกี่ ดิวิชั่น
เฉลย 8 ดิวชิ ั่น