Jump to first page

Download Report

Transcript Jump to first page

Jump to first page
หัวข้ อที่จะกล่ าวถึง
• Semen : sperm cell & seminal plasma
• Spermatogenesis
• การเก็บกักและการขนส่ งอสุ จิ
• Spermatozoa metabolism
Jump to first page
ตัวอสุ จิ (sperm cell/ sperm/ spermatozoa)

ถูกสร้ างขึน้ ภายใน seminiferous tubules
รูปร่ างลักษณะของตัวอสุ จิ (sperm morphology)
ส่ วนหัว (sperm head)
• nucleus
• histone, protamines
• Acrosome
ภายในมี enzyme หลาย
ชนิด : proacrosin,
esterase
และ
hyaluronidase,
acid hydrolases
Jump to first page
ส่ วนหางของอสุ จิ (sperm tail) ประกอบด้วย
• Neck
• Middle piece
• Principal piece
annulus
• End
Protoplasmic or Cytoplasmic droplet
• neck region เรี ยก proximal droplet
• อยูใ่ กล้ annulus เรี ยก distal droplet
Jump to first page
สารเคมีทสี่ าคัญภายในตัวอสุ จิ
Acrosome
• Hyaluronidase ย่อย cumulus cells
• Proacrosin ย่อย Zona pellucida
Mitochondrial sheath
• Phospholipid
• Respiratory system&Glycolytic pathway enzyme
• สารที่เป็ นแหล่งพลังงานให้แก่ axoneme เช่น dynein &
tubulin
Jump to first page
ขบวนการสร้ างตัวอสุ จิ
•Bull 15 days
•Boar 9 days
•Ram 10 days
•Horses 12
Jump to first page
ขบวนการสร้ างตัวอสุ จิ
Jump to first page
Spermiogenesis มีการเปลี่ยนแปลง 4 ระยะ (phase)
1. Golgi phase : acrosomal granule ภายใน Golgi
apparatus รวมตัวกัน แล้วเคลื่อนเข้าประชิดส่ วนหน้าของ nucleus ใน
ขณะเดียวกัน centrioles 2 อัน ที่อยูท่ ิศตรงข้ามกับ acrosomal
granule เริ่ มเคลื่อนเข้าชิด nucleus เพื่อสร้าง flagellum
Jump to first page
2. Cap phase
• acrosomal granule กระจายตัวปกคลุมผิว spermatid
1/2-2/3 ของ nucleus
• distal centriole เริ่ มยืดตัวและสร้าง axoneme
Jump to first page
3. Acrosomal phase
• นิวเคลียสยืดตัวยาวและแบนมาก
ขึ้น
• Spermatid หมุนตัวเพื่อให้ส่วน acrosome
ไปชิดด้านผนังของท่อ seminiferous tubule
และให้ส่วนหาง หันออกสู่ lumen
• Cap หรื อ acrosome ปรับรู ปร่ างให้พอดีกบั
นิวเคลียส ซึ่ งมี sertoli cell เป็ นแม่พิมพ์
• Cytoplasm----> manchette
• Chromatoid body ------> annulus
• mitochondria เริ่ มเปลี่ยนรู ปร่ างเป็ น sheath
ล้อมรอบ axoneme ที่บริ เวณ middle piece
Jump to first page
4. Maturation phase
• รูปรางของ
nucleus &
่
acrosome แตกต่างกันตามชนิดสัตว์
• nucleus ถูกล้อมรอบด้วย nuclear
membrane, internal acrosomal
membrane, acrosome body,
external acrosomal membrane และ
plasma membrane หรื อ cytoplasmic
membrane
• coarse fiber 9 อัน รอบ axoneme จาก
neck ถึง สิ้ นสุ ดส่ วน principal piece
• annulus เคลื่อนต่าลงไปอยูจ่ ุดเชื่อม
ระหว่าง middle & principal piece
Jump to first page
Jump to first page
Jump to first page
Jump to first page
Jump to first page
• Spermiation ปลดปล่ อยตัวอสุ จิออกจาก sertoli cells ภายใต้ FSH
• Cycle of the seminiferous epitherium (cross section)
• Spermatogenic wave or wave of the seminiferous
epitherium (ตามยาวของท่ อ)
• Blood-testis barrier (Myoid layer & Sertoli cell
junction)
Jump to first page
ฮอร์ โมนทีค่ วบคุมขบวนการสร้ างอสุ จิ
• FSH--->spermatogonia to
primary spermatocytes
• Testosterone---> primary
spermatocytes to spermatozoa
Fig7-10; Hafez (1993)
Jump to first page
การขนส่ งอสุ จิส่ ู Epididymis
• Bull &Stallion 7 days
• Boar 12 days
อาจเพิม่ ขึน้ 10-20 % ถ้ าความถี่ใน
การ
• Ram 16 days
หลัง่ เพิม่ ขึน้
Fig: testis
Jump to first page
มีการพัฒนาเพือ่ ให้ สามารถเจาะไข่ ได้
• เพิม่ ศักยภาพ progressive motility
• เปลีย่ นแปลง metabolism และโครงสร้ างของหาง (flagella)
• Nucleus แน่ นมากขึน
้
• มีการเคลือ่ นย้ ายและหลุดออกของ protoplasmic droplet
• เปลีย่ นแปลงรู ปร่ างของ Acrosome
Jump to first page
การเก็บกักตัวอสุ จิ (storage of sperm)
• Caudal epididymis ประมาณ 70 %
• Vas deferens ประมาณ 2 %
• มีการเคลื่อนไหวเล็กน้อยเมื่อเคลื่อนถึงส่ วนกลางของ Corpus epididymis
และจะเคลือ
่ นมากขึน
้ เมือ
่ ถึง Cauda epididymis & Vas
deferens
• Epithelial cells ของ Epididymis หลัง่ สาร Immobilin &
Quiescence factor เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิด metabolism ที่ไม่จาเป็ น
และยืดอายุของอสุจ ิ
Jump to first page
การเก็บกักตัวอสุ จิ (storage of sperm)
• บางตัวออกมาพร้ อมนา้ ปัสสาวะ ขณะที่บางส่ วนเมื่อ
สู ญเสี ยความสามารถแล้ วจะถูกย่ อยสลายก่ อนขับออก
• การไม่ หลัง่ นานๆ จะมีอสุ จิที่แก่ ตัว (stale spermatozoa)
อยู่มาก
• Ejaculated sperm ที่มี droplet อยู่จานวนมากแสดงว่า
ตัวอสุ จิยงั ไม่ โตเต็มวัย (immaturity)
Jump to first page
• มีความสาคัญมากในการผสมแบบธรรมชาติ เพราะเป็ นทั้ง
ตัวนา (carrier) และตัวป้องกัน (protector) แก่ ตัวอสุ จิ
โดยเฉพาะพวกที่หลัง่ ที่ vagina เช่ น โคและแกะ ส่ วนม้ า
และหมู ซึ่งหลัง่ ที่มดลูก seminal plasma อาจมีความ
สาคัญน้ อยลง
• ประกอบด้ วยสารที่เป็ นแหล่งพลังงาน (fructose, Sorbitol,
Ergothioneine), hormone (androgen, PG, FSH&LH),
peptide, antimicrobial (seminal plasmin)
Jump to first page
ต่ อมร่ วม (Accessory
glands)
Jump to first page
Jump to first page
• Glycolysis : Glucose, Fructose, Mannose, Sorbitaol
Lactic acid
• Respiration (Oxidative pathway)
(Oxidation phosphorylation)
• Enzyme ที่เกี่ยวข้องกับทั้ง 2 ขบวนการอยูท่ ี่ mitochondria
• Plasmalogen คือแหล่งพลังงานสารองหลักในเซลล์อสุ จิ
Jump to first page
• อุณหภูมิ
• pH ; 6.9-7.5 เหมาะกับการทางานของ enzyme ในขบวนการ
metabolism ทีบ
่ ริเวณ Cauda epididymis มี pH 5.8 ตัว
อสุ จิเคลือ่ นทีน่ ้ อย
• Osmotic
• Gas
Peroxidation --> loss of permeable
• แสง
Jump to first page
Jump to first page