Hydro Power Plant โรงไฟฟ้าพลังน้ำ

Download Report

Transcript Hydro Power Plant โรงไฟฟ้าพลังน้ำ

โรงไฟฟ้าพลังนา้
Hydro Power Plant
Hydro Power Plant
คือ โรงไฟฟ้าที่ใช้ แรงดันของนา้ หมุน
ไปผลักดัน Turbine เป็ นพลังงานกลที่
สามารถควบคุมได้ และต่ อเพลาเข้ ากับ
Generator เพือ่ ผลิตพลังงานไฟฟ้ า
2
Hydro Power Plant
พลังงานศักย์
พลังงานจลน์
พลังงานกล
พลังงานไฟฟ้า
3
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

อาคารรั บน้า Power Intake คือ อาคารที่อยู่ด้านล่ างหลังตัวเขื่อน ตัว
อาคารจะมีท่ อส่ งน้าจากอ่ า งเก็บน้าไปผลัก ดั น Turbine
และหมุ น
Generator ภายในตัวอาคารมีห้องควบคุมนา้ และควบคุมการผลิตไฟฟ้า
4
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

ตระแกรง Screen เป็ นตระแกรงเหล็กมีไว้ สาหรับป้องกันท่ อนไม้ หรื อวัสดุ
อืน่ ใดทีจ่ ะเข้ าไปอุดตันท่ อนานา้ หรือทาความเสี ยหายให้ กบั Turbine
5
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

อุโมงค์ เหนือนา้ Headrace เป็ นช่ องทางทีน่ า้ ไหลเข้ ามายังท่ อส่ งนา้ อยู่ภายใน
ตัวเขื่อน
6
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

ท่ อส่ งน้า Pen stack เป็ นท่ อรับน้าอยู่ในตัวเขื่อนหรือรับน้าจากเขื่อนแล้ วล
ดะดับให้ ต่าลงเพือ่ ทาให้ นา้ มีแรงดันหมุนกังหัน
7
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

ท่ อรับน้า Draft Tube เป็ นท่ อรับน้าที่อยู่ส่วนหลังของกังหัน เพือ่ นาน้าที่
ผ่ านกังหันส่ งออกไปยังท้ ายนา
8
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

ท่ อรับน้า Draft Tube เป็ นท่ อรับน้าที่อยู่ส่วนหลังของกังหัน เพือ่ นาน้า
ทีผ่ ่ านกังหันส่ งออกไปยังท้ ายนา
9
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้
อาคารลดแรงดันน้า Surge Tank เป็ นอาคารหรือถังน้าขนาดใหญ่ สร้ าง
ขึน้ ระหว่ างตัวเขื่อนกับอาคารรั บน้าเพื่อลดแรงดันหรื อแรงอัดน้าไม่ ให้
เกิดอันตรายกับท่ อหรือหัวฉีดนา้ แต่ โรงไฟฟ้าบางชนิดทีต่ ิดตั้งใกล้ กบั ตัว
เขื่อนไม่ จาเป็ นต้ องมีอาคารลดแรงดันนา้
 ประตูนา้ Wicket Gate เป็ นบานประตูทค
ี่ วบคุมการไหลของน้า สามารถ
เปิ ดหรื อปิ ดให้ น้าไหลผ่ านเข้ าไปยังท่ อส่ งน้าเพื่อให้ มี แรงดัน ไปหมุ น
Turbine

10
11
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

กังหัน Turbine เป็ นตัวรับแรงกระทาจากนา้ ทีใ่ ช้ แรงดันมาฉีดหรือผลักดันให้
หมุน Turbine บางชนิดจะต้ องมีหัวฉีดนา้ ควบคู่กนั
12
13
14
15
16
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้

เครื่องกาเนิดไฟฟ้า Generator ขนาดกาลังการผลิตมีหน่ วยเป็ น MWatt
ขนาดของแรงดันไฟฟ้ าที่ Generator ผลิตออกมาตามมาตรฐานทัว่ ไป
Generator
 Generator
 Generator
 Generator
 Generator

3 MVA ขนาดแรงดัน 3.3 kV
5-10 MVA ขนาดแรงดัน 6.6 kV
10-15 MVA ขนาดแรงดัน 11 kV
50-100 MVA ขนาดแรงดัน 13.2 kV
> 100 MVA ขนาดแรงดัน 15.4 /16.5 kV
17
18
ส่ วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้
หม้ อแปลงไฟฟ้า Transformer ใช้ สาหรั บแปลงแรงดันไฟฟ้าให้ เป็ น
High Voltage เป็ นอุปกรณ์ เชื่อมระหว่ าง Generator กับลานไกไฟฟ้า
โดยปกติหม้ อแปลงไฟฟ้าจะมีขนาดเท่ ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
 ทางน้าล้ น Spillway คือทางระบายน้าออกในกรณีที่น้าในอ่ า งเก็บน้ามี
ระดับสู งมากเพื่อป้องกันไม่ ให้ น้าท่ วมล้ นตัวเขื่อน และป้องกันตัวเขื่อน
พังเสี ยหายจากแรงดันนา้ ทีเ่ กินขนาดของเขื่อนรับได้

19
Turbine กังหันน้า

กังหันแบบแรงกระแทก Impulse Turbine
อาศัยแรงฉีดของนา้ จากท่ อส่ งนา้ จากทีส่ ู งหรือจากหัวนา้ สู งไหล ลงมา
ตามท่ อทีล่ ดขนาดลงมายังหัวฉีดกระแทกกังหันให้ หมุน
- Banki Type - Turgo Type – Pelton Type
20
Turbine กังหันน้า

กังหันแบบแรงสะท้ อน Reaction Turbine
อาศัยแรงดันของนา้ ทีเ่ กิดจากการต่ างระดับของนา้ ด้ านหน้ าและด้ าน
ท้ ายของกังหันกระทาต่ อใบพัดระดับด้ านท้ายนา้ จะอยู่สูงกว่ า
ระดับบนของปลายท่ อปล่อยนา้ ออก
Francis Turbine
 Deriaz Turbine
 Kaplan Turbine

21
Francis Turbine เป็ นกังหันแบบที่ใช้ การไหลของปริมาณ
นา้ ในใบพัดเป็ นแบบแฉกและนา้ ไหลออกขนานกับแกน

22
Deriaz Turbine เป็ นกังหันแบบที่มีการไหลของนา้ ในทิศทาง
ทแยงมุมกับแกน ใช้ กบั กรณีทมี่ ีหัวนา้ สู ง

กังหันนา้ กระเปาะ Bulb
23
Kaplan Turbine หรือกังหันแบบใบพัด นา้ จะไหลผ่ านใบพัด
ในทิศทางขนานกับแกนของกังหัน ใช้ กบั กรณีที่มีหัวนา้ ต่า ใบพัดสามารถ
ปรับได้ ตามมุมของซี่ใบพัดโดยอัตโนมัตติ ามแรงอัดหรือแรงฉีดของนา้ โดย
จะสั มพันธ์ กนั กับความแรงทีห่ ัวฉีดนา้

24
สรุปข้ อดี-ข้ อเสี ยของ Hydro Power Plant
 ข้ อดี
 ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานต่า
 ค่ าบารุ งรักษาน้ อย
 ไม่ มีมลภาวะ
 สามารถเดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ รวดเร็ว
 อายุการใช้ งานนาน
 ไม่ จาเป็ นต้ องมีการสารอง Fuel
พลพลอยได้ จากอ่างเก็บนา้
ด้ านอุปโภคและบริโภค

25
สรุปข้ อดี-ข้ อเสี ยของ Hydro Power Plant
 ข้ อเสี ย
 ค่ าใช้ จ่ายในการสร้ างโรงไฟฟ้าและเขื่อนเก็บนา้ สู งมาก
 กาลังการผลิตไฟฟ้าไม่ แน่ นอน ขึน
้ อยู่กบั ปริมาณนา้
 อยู่ห่างไกลจากศู นย์ กลางของ Load
Production ทาให้
เสี ยค่ าใช้ จ่ายสู งในกาสร้ างสายส่ งจ่ ายกาลังไฟฟ้า
 เกิดผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม
26