กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
โดย
ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม
คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์
19 มิถุนายน 2556
ณ ห้องประชุม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เหตุผลและควำมจำเป็ นของกำรก่อตั้ง
กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
 ระบบครอบครัวในสังคมเมือง ประสบการณ์ของตะวันตก
 อายุยน
ื ยาวมากขึ้น
 การพัฒนาตลาดทุน และการออมระยะยาว
 ระบบบานาญและการบริ หารการคลัง
 การจัดระบบการออมแกมบังคับ
เงินออมเพือ่ ใช้ ยำมชรำ
 กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ
 กองทุนประกันสังคม
 กองทุนสารองเลี้ยงชีพ
Pension Funds ในประเทศต่างๆมีการลงทุนข้ามประเทศ
ก่อให้เกิด International Capital Flows
แหล่ งเงินกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
เงินที่จ่ายเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพ
 เงินสะสม จากลูกจ้าง
 เงินสมทบ จากนายจ้าง
 ผลประโยชน์ตอบแทนการลงทุน
เป็ นนิติบุคคลแยกจากนายจ้างโดยเด็ดขาด
ดูแลโดยผูจ้ ดั การกองทุนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการลงทุน
กำรจัดตั้งกองทุนสำรองเลีย้ งชีพเกิดจำกควำม
สมัครใจของทั้งสองฝ่ ำย
 นายจ้าง และ
ลูกจ้าง
คณะกรรมการกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
กองทุนเดีย่ ว
กำรจัดตั้งกองทุนสำรองเลีย้ งชีพเกิดจำกควำม
สมัครใจของทั้งสองฝ่ ำย
 นายจ้าง และ
ลูกจ้าง
คณะกรรมการกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
 บริ ษท
ั จัดการกองทุน ทาหน้าที่บริ หารเงินให้เกิดผล
ประโยชน์
 ผูส
้ อบบัญชีรับอนุญาต
 การกากับโดย สานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์
โครงสร้ ำงของกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
 นายจ้าง
 ผูร้ ับฝากบัญชี
 ลูกจ้าง
 ผูร้ ับรองมูลค่า
 คณะกรรมการกองทุน
 นายทะเบียนสมาชิก
 บริ ษท
ั จัดการ
 ผูส
้ อบบัญชี
 กลต
กองทุนเดีย่ ว
รู ปแบบกองทุน
 Single Fund (กองทุนเดี่ยว)
 Pooled Fund (กองทุนร่ วม)
กองทุนร่ วม
กองทุนเดีย่ ว และกองทุนร่ วม
ข้ อแตกต่ ำงระหว่ ำงรู ปแบบกองทุน
ค่ ำใช้ จ่ำยของกำรจัดกำรกองทุน
 ค่าธรรมเนี ยมการจัดการ
 ค่าธรรมเนี ยมผูร้ ับฝากทรัพย์สิน อิงตามมูลค่าทรัพย์สิน
สุ ทธิของกองทุน
 ค่าทะเบียนสมาชิก
 ค่าผูส
้ อบบัญชี
กำรบริหำรกองทุน และรำยงำนผลกำรดำเนินงำน
 สามารถเลือกได้ตามความเหมาะสม (Employee’s choice)
 สามารถรับทราบเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์
ที่ตนได้รับ ปี ละ 2 ครั้ง
สิ่ งที่สมำชิกควรทรำบเพิม่ เติม
ใครเป็ นกรรมการกองทุนในที่ทางานของคุณ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อ
ได้
 ใครเป็ นผูจ้ ด
ั การกองทุน (บริ ษทั จัดการ) ของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
 นโยบายการลงทุนของกองทุนเป็ นอย่างไร ปั จจุบน
ั กองทุนลงทุนใน
อะไรบ้าง
 มีความเสี่ ยงอะไรที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของกองทุนบ้าง

สิ ทธิประโยชน์ ทำงภำษี 3E
หักลดหย่อนตามที่จ่ายจริ ง แต่ไม่เกินปี ละ 10,000 บาท สาหรับ
ส่ วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน
490,000 บาท รวมหักได้สูงสุ ด 500,000 บาท
 เงินสมทบที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน ถือเป็ นรายจ่ายของนายจ้างใน
การคานวณกาไรสุ ทธิเพื่อเสี ยภาษีตามจานวนที่จ่ายจริ ง แต่ไม่เกิน
15% ของค่าจ้าง
 ดอกเบี้ย เงินปั นผล และกาไรจากการขายหลักทรัพย์ ได้รบ
ั ยกเว้น
ภาษี

สิ ทธิประโยชน์ ทำงภำษี (เมื่อสิ้ นสุ ดสมาชิกภาพ)
ลำออกก่อนเกษียณอำยุรำชกำร


หากสมาชิกมีระยะเวลาการทางานน้อย
กว่า 5 ปี ต้องนาไปคานวณภาษีท้ งั
จานวน
ระยะเวลาทางานตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป
สามารถเลือกเสี ยภาษีแยกต่างหากจาก
เงินได้ประเภทอื่น โดยหักค่าใช้จา่ ยได้
7,000 บาท คูณด้วยจานวนปี ที่ทางาน
เหลือเท่าไรหักได้อีกครึ่ งหนึ่ง แล้ว
คานวณภาษีตามอัตราภาษีทวั่ ไป จานวน
วันทางานตั้งแต่ 183 วันนับเป้ น 1 ปี
น้อยกว่าปั ดทิ้ง
เกษียณอำยุรำชกำร


หากอายุ 55 ปี ขึ้นไป และมีระยะเวลาเข้า
กองทุนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป เงินที่ได้จาก
กองทุนจะได้รับการยกเว้นภาษีท้ งั หมด
หากอายุไม่ถึง 55 ปี หรื อเข้ากองทุนไม่
ถึง 5 ปี ขึ้นไปให้คานวณเช่นเดียวกับการ
ลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ
3 Exemptions (3E)
 เงินสะสม จ่ายเข้า ไม่ตอ
้ งเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 เงินผลประโยชน์จากการลงทุน ไม่ตอ
้ งเสี ยภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา
 เงินกองทุนที่ได้จากเงินสะสม เงินสมทบ และเงิน
ผลประโยชน์ หากเป็ นไปตามเงื่อนไข ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงิน
ได้บุคคลธรรมดา
สรุป ภำระภำษี
กำรเลือกแบบแผนกำรลงทุน
 อายุการทางานที่เหลือ
 ความเสี่ ยง
 ความต้องการใช้เงิน และแผนการใช้ชีวต
ิ หลังเกษียณ
6 รู ปแบบ
แบบระวัง
แบบโลดโผน
 แบบ1 =ตราสารหนี้
 แบบ 4 =แบบ 3 แต่มีหุน
้
ภาครัฐและสถาบัน
การเงิน 100%
 แบบ 2 =แบบ1 + ตราสาร
หนี้เอกชน
 แบบ 3 =แบบ2 +หุ น
้ 10%
เพิ่ม เป็ น 25%
 แบบ 5= แบบ 4 แต่มีการ
ลงทุนต่างประเทศปนหุ น้
 แบบ 6= หุ น
้ 100%
แบบ 1
(ตรำสำรหนีร้ ะยะสั้ นภำครัฐ สถำบันกำรเงิน)
แบบ 2
K Master Pooled Fund (ตรำสำรหนี)้
แบบ 3
K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่ เกิน 10%)
แบบ 4
K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่ เกิน 25%)
แบบ 5
(ผสมหุ้น และ FIF ไม่ เกิน 25%)
แบบ 6
ตรำสำรทุน
6 รู ปแบบ: ผลตอบแทนกำรลงทุน Q1 2556
แบบระวัง
แบบโลดโผน
 แบบ1 :
 แบบ 4:
0.62%
 แบบ2 : 0.71%
 แบบ3 : 1.54%
3.68%
 แบบ 5: 2.57%
 แบบ 6: 12.15%
กำรลงทุนในหุ้นมีควำมเสี่ ยงต่ อควำมผันผวน
 ดัชนี ตลาด เพิ่มสู ง ถึง 1631 เมื่อวันที่
22 พฤษภาคม 2556
ลดลงเหลือ 1403 เมื่อ 13 มิถุนายน แต่เมื่อวานลงมาเหลือ
1427
 หากเข้าไปผิดจังหวะอาจจะขาดทุนระยะสั้น
SET TRI (2002-2013)
10,000.00
9,000.00
8,000.00
7,000.00
6,000.00
5,000.00
SET TRI
SET50 TRI
4,000.00
SET100 TRI
mai TRI
3,000.00
2,000.00
1,000.00
0.00
SET TRI

ดัชนีผลตอบแทนรวม คือ การคานวณผลตอบแทนทุกประเภทของการลงทุน
ในหลักทรัพย์ให้สะท้อนออกมาในค่าดัชนี ทั้งผลตอบแทนที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ที่ลงทุน (Capital gain/loss) สิ ทธิในการจองซื้อ
หุน้ (Rights) ซึ่งเป็ นสิ ทธิที่ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิมในการซื้อหุน้ เพิ่มทุน ซึ่งมักจะ
ให้สิทธิซ้ือในราคาที่ต่ากว่าราคาตลาด ณ ขณะนั้น และเงินปันผล
(Dividends) ซึ่งเป็ นส่ วนแบ่งของกาไรที่จ่ายให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดยมีสมมติฐาน
เพิ่มเติมว่าเงินปันผลที่ได้รับนี้จะถูกนาไปลงทุนในหลักทรัพย์ดว้ ย (Reinvest)
เริ่มเป็ นสมำชิก แต่ เนิ่นๆ จะได้ ประโยชน์ จำก
ผลตอบแทนทบต้ น
 เริ่ ม เป็ นสมาชิก อายุ 30 ขวบจ่ายเข้า 398,746 บาท ได้เงิน
1,555,487 บาท
 เริ่ ม เป็ นสมาชิก อายุ 45 ขวบ จ่ายเข้า 269,238.49 บาทได้
เงิน 829,607 บาท
ประเด็นอืน่ ๆ ที่น่ำสนใจ
ความแตกต่างระหว่างเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกองทุนอื่นๆ
 อายุราชการแบบไหนควรเปลี่ยนมาเลือกกองทุนสารองเลี้ยงชี พ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 ความเสี่ ยงในการลงทุนกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 กองทุนสารองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีโอกาสล้มไหม

Q&A