Risk Management Strategy

Download Report

Transcript Risk Management Strategy

Risk Management Strategy
Rebalance Portfolio
• การ Rebalance Portfolio เป็ นการปรับน ้าหนักการลงทุนใหม่
หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่า Portfolio
– เวลาเปลี่ยนแปลงไป
– ราคาเปลี่ยนแปลงไป
– เงื่อนไขการลงทุนเปลี่ยนแปลงไป
• ใช้ ในการลงทุนแบบ Active Management
มูลค่าความเสี่ ยงกลุ่มหลักทรัพย์
• ขึ ้นอยูก่ บั
– พฤติกรรมความเสี่ยงของหลักทรัพย์
– การกระจายน ้าหนักการลงทุน
– จานวนเงินลงทุน
• ดังนันแนวทางการปรั
้
บเปลี่ยนเพื่อลดความเสี่ยงจึงทาได้ โดย
– เลือกหลักทรัพย์
– ปรับน ้าหนักใหม่
– ลดเงินลงทุน
การจัดการความเสี่ ยงอย่างเป็ นระบบ
กรอบการจัดการความเสี่ยง
W 0 ( w   Z 
w   w )  VaR *
โดยที่ VaR* เป็ นขนาดผลขาดทุนสูงสุดที่กาหนดเป็ นนโยบายไว้ ความ
เสี่ยงที่มีมากเกินไป (ด้ านซ้ ายมือน้ อยกว่าด้ านขวามือของสมการ อาจ
เป็ นเพราะ
-มีฐานะ (Exposure) มากเกินไปในกลุม่ หลักทรัพย์ หรื อ W0 มาก
เกินไป แก้ โดยการจัด Asset Allocation ใหม่
- กระจายน ้าหนักการลงทุนไม่เหมาะสม เช่น ให้ น ้าหนักที่มากเกินไปกับ
หลักทรัพย์เสี่ยงสูง และน้ อยเกินไปกับหลักทรัพย์เสี่ยงต่า
ผลกระทบของการปรับน้ าหนักการลงทุนต่อ VaR
• คานวณจากมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนไปต่อการเปลี่ยนแปลงค่าน ้าหนัก
 VaR
การลงทุน  w 

    z
w 

 VaR
 ip

    z
w 
P

จาก Jorion จะได้ วา่  VaR

W 0
w  w 
w
• จัดสมการใหม่ ได้ เป็ น

    z
W 0 w  
 VaR


w  w 
w
 ip 

    z


W 0 w
P 

 VaR

W 0

Marginal VaR
• เรี ยก VaR
ที่ได้ วา่ มูลค่าความเสี่ยงส่วนเพิ่ม (Marginal
w
VaR)
• และค่า
ว่าเป็ นมูลค่าความเสี่ยงส่วนเพิ่มของการปรับเงินลงทุน
ในหลักทรัพย์หนึง่ ในกลุม่ ให้ เพิ่มขึ ้นหรื อลดลง 1 บาท Marginal
VaR ชี ้ให้ เห็นถึง
 VaR
W 0 w 
ตัวอย่าง
• ผู้ลงทุนในหุ้นสามัญ ประกอบด้ วยหุ้น A B และ C เป็ นจานวนรวม
30,000 บาท โดยการกระจายน ้าหนักเท่าๆกัน ในหุ้นแต่ละตัว ทังนี
้ ้
อัตราผลตอบแทนรายวันของหุ้น มีการแจกแจงร่วมแบบปกติ มีค่าที่
คาดและค่าความแปรปรวนร่วมเท่ากับ
2

0
.
0015
0
.
05





  0 . 0023 ,    0 . 0005


 0 . 0007
 0 . 0031 

0 . 0005
0 . 07
2
0 . 0009
0 . 0007 

0 . 0009 
2
0 . 09 

Equally weighted Returns and Variance of Portfolio
1
 
3
1
w   
3
1
3
 
คานวณ returns, Variance ได้
  0 . 0023
2
 P  0 . 0468
2
คานวณ มูลค่าความเสี่ยง
VaR ( 1  0 . 99 )  ( 0 . 0023  2 . 33  0 . 0468 )  30 . 000   3201 . 00
คานวณ ความแปรปรวนร่ วมและ Unit Marginal VaR
 0 . 0012 


 w  0 . 0021


 0 . 0032 
Marginal VaR และ Unit Marginal VaR
 0 . 0015 
 0 . 0012 
 VaR
1




 0 . 0023 
 2 . 33  0 . 0021
 0 . 0468


W 0 w  
 0 . 0031 
 0 . 0032 
  0 . 0599 


  0 . 1023


  0 . 1579 
เมื่อลงทุนเพิ่มขึ ้น 1 บาท หุ้น C จะทาให้
มูลค่าความเสี่ยงเพิ่มเยอะที่สดุ
Rebalance Strategy
• ลดการลงทุนในหุ้น C หรื อลดเงินลงทุนในหุ้น C
• คานวณน ้าหนักการลงทุนใหม่
• คานวณ VaR ใหม่วา่ ต่ากว่า VaR ตามนโยบายหรื อไม่
*ใช้ เวลาเยอะ*
Incremental VaR
• กาหนดให้ a คือvector การปรับเปลี่ยนขนาด (n×1) ซึง่ สมาชิกตัว
ที่ ไอ แสดงขนาดเงินลงทุนที่ถกู ปรับเปลี่ยน (เครื่ องหมาย + แสดงถึง
การเพิ่มเงินลงทุนในหลักทรัพย์นนั ้ เครื่ องหมายลบแสดงการลดเงิน
ลงทุนในหลักทรัพย์นน)
ั้
• คานวณมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปได้ โดย

VaR
a
  VaR 
 VaR  
 a
 W 0 w 
ตัวอย่าง
• จากตัวอย่างที่ผ่านมาสมมติวา่ ผู้ลงทุนปรับการลงทุนในกลุ่มหุ้นสามัญ
โดยการลดขนาดการลงทุนในหุ้น B และ C ลงหุ้นละ 500 บาทแล้ วไป
เพิ่มการลงทุนในหุ้น A อีก 1000 บาท ดังนัน้ vector a เขียนได้
เป็ น
  1, 000 
a 


 500


  500 
คานวณ Incremental VaR
VaR
a
  3 , 201   0 . 0599
  3 , 201  70 . 18   3130 . 82
 0 . 1023
  1, 000 


 0 . 1579   500


  500 
แสดงว่าการปรับเปลี่ยนทาให้
มูลค่าความเสี่ยงลดลง 70.18 บาทได้
มูลค่าความเสี่ยงใหม่ 3130.82 บาท
CVaR
• CVaR คือ Component VaR มูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์
องค์ประกอบ หมายถึงมูลค่าความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์ที่ประกอบ
ในกลุม่ หลักทรัพย์ คานวณ CVaR ได้ จากสูตร
CVaR
โดยที่
i
  VaR
 
 W 0 wi

 ( w iW 0 )

n
VaR 

i1
CVaR
i
และ
VaR
wi

CVaR
VaR
i
ตัวอย่าง
• คานวณ CVaR จากตัวอย่างที่ผา่ นมา
– CVaRA=-0.0599×10,000 = -599
– CVaRB=-0.1023×10,000 = -1,023
– CVaRC=-0.1579×10,000 = -1,579
• ผลรวมมูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์องค์ประกอบเท่ากับ VaR
– VaR =-599-1023-1579 = 3,201 บาท
• คานวณน ้าหนักขององค์ประกอบ
VaR
wA

VaR

wB
VaR
wC

 599
 3 , 201
 1023
 3201
 1579
 3201
 18 . 71 %
 31 . 96 %
 49 . 93 %