การประชุมพิจารณาจัดทาร่ างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ประจาปี งบประมาณ 2553 ปฏิทินการดาเนินการ • • • • ส่ งโครงการภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2551 19 ธันวาคม ประชุมพิจารณากลัน่ กรองโครงการ 22 ธันวาคม นาเสนอ ผอ.ศอ.บต. 23 ส่ งโครงการ ส่ งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้

Download Report

Transcript การประชุมพิจารณาจัดทาร่ างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ประจาปี งบประมาณ 2553 ปฏิทินการดาเนินการ • • • • ส่ งโครงการภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2551 19 ธันวาคม ประชุมพิจารณากลัน่ กรองโครงการ 22 ธันวาคม นาเสนอ ผอ.ศอ.บต. 23 ส่ งโครงการ ส่ งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้

การประชุมพิจารณาจัดทาร่ างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ประจาปี งบประมาณ 2553
ปฏิทินการดาเนินการ
•
•
•
•
ส่ งโครงการภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2551
19 ธันวาคม ประชุมพิจารณากลัน่ กรองโครงการ
22 ธันวาคม นาเสนอ ผอ.ศอ.บต.
23 ส่ งโครงการ ส่ งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้ 5 จตช. ทาประชา
พิจารณ์
สภาพทัว่ ไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ชายแดน
ประชากร ณ เดือนธันวาคม 2550
จังหวัด
นราธิวาส
ชาย
346,672
หญิง
343,329
รวม
690,001
ปัตตานี
313,132
321,244
634,376
ยะลา
219,124
216,968
436,092
สงขลา
สตูล
รวม
641,931
141,723
1,662,582
670,694
142,475
1,694,710
1,312,625
284,198
3,357,292
สภาพทัว่ ไปของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ชายแดน
การปกครอง 5 จังหวัด ประกอบด้วย
จังหวัด
นราธิวาส
ปัตตานี
ยะลา
สงขลา
สตูล
รวม
อาเภอ
13
12
8
16
7
56
กิง่ อาเภอ
-
ตาบล
77
115
58
124
36
410
หมู่บ้าน
570
629
341
1,022
265
2,827
วิสัยทัศน์
ศูนย์ การผลิตส่ งออกยางพารา อาหารฮาลาล
การศึกษา การค้ าชายแดน
การท่ องเที่ยวของภาคใต้
ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
อยู่
ร่ วมกันอย่ างสั นติสุข
พันธกิจ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
พัฒนาและส่ งเสริ มผลิตภัณฑ์ยางพารา,ไม้ยางพารา แรงงาน และการวิจยั
(R&D)
ส่ งเสริ มและพัฒนามาตรฐานการผลิตและการวิจยั อาหารฮาลาล
ส่ งเสริ มและพัฒนา ปรับปรุ งหลักสูตรการเรี ยนการสอนโดยไม่แบ่งแยก
สร้างความเข็มแข็งด้านการบริ หารจัดการด้านการค้าชายแดน
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว
ส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต
สร้างความปลอดภัยเป็ นดินแดนแห่งโอกาสและคุณธรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การคุ้มครองความปลอดภัย การอานวยความเป็ นธรรมเพือ่
เสริมสร้ างความเชื่อมั่นใน อานาจรัฐ และสร้ างภูมิคุ้มกัน
แก่ คนกลุ่มเสี่ ยง
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 การเสริมสร้ างความมั่นคงทางอาชีพ และรายได้ แก่ ผู้มีรายได้ น้อย
ให้ พงึ่ ตนเองได้
ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพคนเพือ่ สร้ างโอกาสการมีงานทา ยกระดับ
คุณภาพชีวติ
ยุทธศาสตร์ ที่ 4 เสริมสร้ างความเข้ มแข็งฐานเศรษฐกิจของพืน้ ที่ และการพัฒนา
ความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 การคุ้มครองความปลอดภัย การอานวยความเป็ นธรรม
เพือ่ เสริมสร้ างความเชื่อมัน่ ในอานาจรัฐ และสร้ างภูมคิ ุ้มกันแก่ คนกลุ่มเสี่ ยง
เป้ าประสงค์
1)
2)
กลุ่มผูไ้ ด้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ความไม่สงบ ได้รับการช่วยเหลือและ
พัฒนาให้สามารถพึ่งตนเองได้
กลุ่มคนที่มีความเสี่ ยงต่อการถูกชักจูงให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับปั ญหาความไม่สงบ
ได้รับการดูแลป้ องกันและมีกระบวนการพัฒนาให้ปลอดจากภาวะเสี่ ยงได้อย่าง
ถาวร
ตัวชี้วดั /ค่ าเป้ าหมาย ปี 2552 :
 ระดับความสาเร็ จของร้อยละเฉลี่ยของหมู่บา้ นในพื้นที่กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการ
สร้างความเข็มแข็งในการรักษาความปลอดภัย ร้อยละ 25 ของหมู่บา้ น
เป้ าหมายทั้งหมด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 การเสริมสร้ างความมั่นคงทางอาชีพและรายได้ แก่ ผ้ มู ี
รายได้ น้อยให้ พงึ่ ตนเองได้
เป้ าประสงค์
คนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพทั้งทางร่ างกาย จิตใจ ความรู้
ทักษะการประกอบอาชีพ และมีความมัน่ คงในการดารงชีวติ ที่จะนาไปสู่ ความ
เข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และเกิดความสมานฉันท์ของสังคม
ตัวชี้วดั /ค่ าเป้ าหมาย ปี 2552 :
1. ร้อยละอัตราการว่างงานลดลง ร้อยละ 2 ต่อปี
2 ร้อยละจานวนครัวเรื อนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ.ลดลง ร้อยละ 25 ต่อปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพคนเพือ่ สร้ างโอกาสการมีงานทาและ
ยกระดับคุณภาพชีวติ
เป้ าประสงค์
1. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. การเป็ นศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้
ตัวชี้วดั /ค่ าเป้ าหมาย ปี 2552 :
ร้อยละของประชากรที่ได้รับการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษาเพิม่ ขึ้น
ร้อยละ 5 ต่อปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 เสริมสร้ างความเข้ มแข็งฐานเศรษฐกิจของพืน้ ที่และ
การพัฒนาความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
เป้ าประสงค์
(1) พัฒนาเศรษฐกิจให้มีฐานที่เข้มแข็ง มีความสมดุลเป็ นธรรม สามารถเติบโตอย่าง
มัน่ คงในระดับที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มโอกาสการพัฒนาอาชีพ การมีงานทา และ
รายได้ สร้างความหวังแก่ประชาชนให้มีความมัน่ ใจที่จะอยูใ่ นพื้นที่ ที่จะนาไปสู่
สันติสุขของสังคมได้อีกทางหนึ่งด้วย
(2) การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรและอุตสาหกรรม
(3) ภาคธุรกิจ การค้า การท่องเที่ยว และการบริ การ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
(4) เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมแปรรู ปผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 เสริมสร้ างความเข้ มแข็งฐานเศรษฐกิจของพืน้ ที่และ
การพัฒนาความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
ตัวชี้วดั /ค่ าเป้ าหมาย ปี 2552 :
1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ายางพาราที่ผลิตได้
2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร
3. ร้อยละรายได้ที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว
4. มูลค่าการค้าระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น
5. ประชาชนและผูป้ ระกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้เพิ่มขึ้น
6. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสิ นค้าอาหารฮาลาล
สรุ ปงบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ชายแดน (สงขลา สตูล ปัตตานี นราธิวาส ยะลา)
• กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนได้รับกรอบการจัดทางบประมาณประจาปี งบประมาณ
พ.ศ. 2552 ในวงเงิน 196,049,500 บาท
• กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนได้เสนอของบประมาณใน 2 ผลผลิต 14 โครงการ
งบประมาณ 195,718,000 บาท
– การพัฒนาคุณภาพคน เพื่อสร้างโอกาสการมีงานทาและยกระดับคุณภาพชีวติ 2 โครงการ
งบประมาณ 20,031,000 บาท
– เสริ มสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และการพัฒนาความร่ วมมือระหว่างประเทศ
12 โครงการ งบประมาณ 175,408,000 บาท
• สานักงบประมาณแจ้งจังหวัดว่าคณะกรรมาธิ การวิสามัญพิจารณาร่ าง พรบ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ 2552 ได้มีมติให้ตดั งบประมาณของกลุ่ม
จังหวัดทั้งหมด (วงเงินรวม 3,000,000,000 บาท) เนื่องจากการจัดทางบประมาณ
ของกลุ่มจังหวัดไม่มีกฎหมายรองรับ ทาให้การเสนอของบประมาณฯ ถูกตัดไปด้วย
สรุ ปงบประมาณรายจ่ ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ชายแดน (สงขลา สตูล ปัตตานี นราธิวาส ยะลา)
ประเด็นยุทธศาสตร์
จานวนโครงการ
งบประมาณ
จานวนร้ อยละ
1. การคุม้ ครองความปลอดภัย การอานวยความเป็ นธรรม
เพื่อเสริ มสร้างความเชื่อมัน่ ในอานาจรัฐ และสร้าง
ภูมิคุม้ กันแก่คนกลุ่มเสี่ ยง
-
-
-
2. การเสริ มสร้างความมัน่ คงทางอาชีพ และรายได้แก่ผมู้ ี
รายได้นอ้ ยให้พ่ ึงตนเองได้
-
-
-
3. การพัฒนาคุณภาพคนเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทาและ
ยกระดับคุณภาพชีวิต
2
20,310,000
10.38
4. เสริ มสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และ
การพัฒนาความร่ วมมือกับต่างประเทศ
12
175,408,000
89.62
14
195,718,000
100
รวม
หมายเหตุ ในยุทธศาสตร์ที่ 1 และ 2 เป็ นภารกิจของ ศอ.บต.
การวิเคราะห์ ปัจจัยสภาพแวดล้ อมภายในและภายนอก
โดย สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
แห่ งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
จุดแข็ง (Strengths)
เศรษฐกิจ
-เป็ นแหล่งศูนย์กลางอาหารฮาลาลของภูมิภาค ศูนย์รวมการคมนาคมขนส่งของภาคและเชื่อมโยงสู่
ระดับภูมิภาค เนื่องจากมีเส้นทางที่เชื่อมระหว่างฝั่งตะวันออก-ตะวันตกของภูมิภาค รวมถึงท่าเรื อน้ าลึก
ที่สามารถเชื่อมโยงนานาชาติได้
-มีชายแดนติดต่อกับประเทศมาเลเซีย เหมาะกับการค้าการลงทุน
-เป็ นศูนย์กลางการเพาะปลูกและแปรรู ปยางพาราและไม้ยางพารา ซึ่งเป็ นพืชเศรษฐกิจ
สั งคม
-มีวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่หลากหลาย โดยเน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น
-มีบุคลากร องค์กร โครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬา ที่สามารถรองรับการจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ และ
การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวได้
-มีสถาบันและบุคลากรทางการศึกษาพร้อมที่จะพัฒนาไปสู่ ระดับภูมิภาคและสากล
สิ่ งแวดล้ อม
-มีเขตพื้นที่ติดต่อทะเล เหมาะกับการประมงและยังพบน้ ามันและก๊าชธรรมชาติแถบจังหวัดสงขลา
-มีสภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และหลากหลาย มีป่าเขตร้อนชื้นบาลาฮาลา ป่ าพรุ สิรินธรที่อุดม
สมบูรณ์ และป่ าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์
จุดอ่อน (Weaknesses)
เศรษฐกิจ
สั งคม
-ขาดการพัฒนาด้านการผลิต การตลาดและการเพิ่มมูลค่าในสิ นค้าภาคการเกษตรอย่างต่อเนื่ อง
-การสนับสนุนและส่งเสริ มภาคบริ การการท่องเที่ยวจากภาครัฐยังมีขอ้ จากัด
-ต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงทาให้ขีดความสามารถในการแข่งขันต่า
-สภาพชีวิตความเป็ นอยูอ่ ยูใ่ นระดับต่า
-ระดับการศึกษาของประชาชนในกลุ่มจังหวัดอยูใ่ นระดับต่ากว่าค่าเฉลี่ยในด้านอัตราประชากรที่ไม่ได้
รับการศึกษา อัตราการเข้าเรี ยน และการบริ การทางการศึกษา
-ประชาชนในพื้นที่ขาดโอกาสและความมัน่ คงในการทางาน
-การคมนาคมและการสื่ อสารในท้องถิ่นไม่สะดวกและทัว่ ถึง
-ประชาชนบางส่วนยังไม่รู้และไม่นิยมใช้ภาษาไทยสาหรับการสื่ อสารในชุมชน
-ประชาชนยังมีปัญหาสุขภาพอนามัย อีกทั้งเป็ นพื้นที่ไกลจากศูนย์กลางของประเทศมากที่สุด ทาให้
โอกาสการเข้าถึงบริ การสาธารณะของภาครัฐยากขึ้น
สิ่ งแวดล้ อม -ทรัพยากรที่ดินบางส่วนเสื่อมโทรมไม่เหมาะต่อการเพาะปลูก มีดินเปรี้ ยว
-มีการบุกรุ กทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในบางพื้นที่
โอกาส (Opportunities)
เศรษฐกิจ
สั งคม
-การเข้าร่ วมโครงการ IMT-GT สามารถเป็ นศูนย์กลางการค้า การลงทุน การส่งออกสิ นค้าสู่ประเทศ
เพื่อนบ้าน
-สร้างฐานการแปรรู ปสิ นค้าเกษตรกรรม
-ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวที่หลากหลายวัฒนธรรม
-นโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาการท่องเที่ยว
-ความสามารถในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน
-เป็ นศูนย์กลางการเชื่อมโยงโลกมุสลิมในภูมิภาค เป็ นศูนย์กลางการศึกษาศาสนาอิสลาม และศูนย์กลาง
การผลิตเครื่ องแต่งกายมุสลิม
สิ่ งแวดล้ อม -สนับสนุนและส่งเสริ มการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ภัยคุกคาม (Threats)
เศรษฐกิจ
สั งคม
-ระเบียบ กฎหมาย ข้อตกลงบางประเด็นไม่เอื้อต่อการค้า การท่องเที่ยว การลงทุน ทั้งในและนอก
ประเทศ
-การลักลอบขนสิ นค้าหนีภาษีตามแนวชายแดน ซึ่งส่งผลต่อราคาสิ นค่าในพื้นที่ ทาให้สินค้าในพื้นที่
เสี ยราคา
-ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทัว่ โลก
-สภาพความไม่สงบในพื้นที่ มีปัญหาการก่อการร้าย ส่งผลกระทบทั้งในเศรษฐกิจและสังคม
-กลุ่มผูก้ ่อความไม่สงบใช้จุดอ่อนทางการศึกษาเป็ น
สิ่ งแวดล้ อม -การเกิดภัยธรรมชาติ
วิสัยทัศน์ กลุ่มจังหวัด
“ศูนย์ กลางการผลิตและส่ งออก ยางพารา
อาหารฮาลาล การศึกษา การค้ าชายแดน
การท่ องเทีย่ วของภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพ
ชีวติ ทีด่ แี ละอยู่ร่วมกันอย่ างสั นติสุข”
ยุทธศาสตร์ ที่ 4 เสริมสร้ างความเข้ มแข็งฐานเศรษฐกิจ
ของพืน้ ที่และการพัฒนาความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
โดย สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
แห่ งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร)
ด้านยางพารา
• เป็ นศูนย์กลางการผลิตและส่ งเสริ มการส่ งออกยางพารา และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในแถบ
ภูมิภาคเอเชีย
กลยุทธ์ ที่ 1 สร้างอานาจการเป็ นผูน้ าในการกาหนดราคายางพาราและผลิตภัณฑ์จากยางพาราในตลาดโลก
กลยุทธ์ ที่ 2 ขยายช่องทางการจัดจาหน่ายจากจีน ญี่ปุ่นไปยังตลาดใหม่ ๆ เช่นยุโรป
กลยุทธ์ ที่ 3 ส่งเสริ มการผลิตแบบครบวงจรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
กลยุทธ์ ที่ 4 วางแผนในการปรับตัวให้เข้ากับภาวะเศรษฐกิจโลก
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
- การแปรรู ปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพารา
- พัฒนาตลาดกลางยางพารา
- ส่งเสริ มพัฒนาทักษะแรงงาน
- ส่งเสริ มการวิจยั และพัฒนา (R&D)
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร)
ด้านอาหารฮาลาล
• เป็ นผูน้ าการส่ งออกอาหารฮาลาลของไทยไปยังตลาดต่างประเทศที่ได้มาตรฐานและเป็ นที่ยอมรับใน
ระดับชาติ
กลยุทธ์ ที่ 1 ส่งเสริ มเกษตรกรและผูผ้ ลิตในการผลิตมาตรฐานและกระบวนการการ
ผลิตอาหารฮาลาลให้เป็ นที่ยอมรับในกลุ่มผูบ้ ริ โภคมุสลิมทัว่ โลก
กลยุทธ์ ที่ 2 สนับสนุนการทาตลาดเชิงรุ กไปยังกลุ่มประเทศมุสลิม
กลยุทธ์ ที่ 3 สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูป้ ระกอบการภาคเอกชนในการลงทุนสร้าง
แปรรู ปอาหารฮาลาลในพื้นที่
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
- ตั้งศูนย์เรี ยนรู้ผลิตภัณฑ์ฮาลาล
- ส่งเสริ มการเลี้ยงรายย่อย/วิสาหกิจชุมชน (แพะ,แกะ)
- โรงเชือด
- อุตสาหกรรมอาหารทะเล
- ตั้งนิคมอุตสาหกรรมฮาลาลปัตตานี
- พัฒนาองค์ความรู้
โรงงาน
พันธกิจ ด้านเศรษฐกิจ (การค้า อุตสาหกรรม เกษตร)
ด้านการค้าต่างประเทศ
• เป็ นประตูเชื่อมโยงพัฒนาและเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
• การขนส่ งระบบราง
กลยุทธ์ ที่ 1 พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมสาหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
กลยุทธ์ ที่ 2 ส่ งเสริ มกิจกรรมและอานวยความสะดวกในการขยายโอกาสทาง
การตลาดในทุกๆ ด้าน
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
- เจาะอุโมงค์เพื่อเดินทางไปเบตง (ถนน 410)
- อบรมบุคลกรให้มีความรู้ในด้านการประกอบธุรกิจ นาเข้าส่ งออก
- ปรับปรุ งภูมิทศั น์และสิ่ งอานวยความสะดวกให้มีความทันสมัย
การศึกษา
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
– โรงเรี ยนตาดีกา
– ปรับและพัฒนาหลักสูตรการเรี ยน
– ส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนโดยไม่แบ่งแยก
การท่องเที่ยว
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
– ส่ งเสริ ม สนับสนุนและพัฒนาสิ นค้า บุคลากรและการตลาดด้านการท่องเที่ยว
– พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการท่องเที่ยว
คุณภาพชีวิต
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
– จัดตั้งศูนย์เวชศาสตร์ ฟ้ื นฟู(มอ.)
– จัดตั้งศูนย์แพทย์ฉุกเฉิ น
– การพัฒนาอาชีพ/การมีงานทา
– การจัดทั้งกลุ่มงานฝี มือ
– สถานพยาบาล
– อาการปลอดภัย
ความมัน่ คง
แนวทางในการเสนอโครงการตามพันธกิจรองรับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
• กลุ่มเยาวชน
– นอกระบบโรงเรี ยนที่เป็ นกลุ่มเสี่ ยง
– ในระบบโรงเรี ยน
– การสื่ อสารความเข้าใจกับเยาวชน
– ติดตามพฤติกรรมเยาวชนที่เข้ารับการเยียวยาแล้ว
– การเข้าถึงเยาวชนกลุ่มเสี่ ยงที่แท้จริ ง
เป้ าหมายการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน
ยางพารา
อาหารฮาลาล
การค้าต่างประเทศ
•
•
•
เพิ่มปริ มาณและความหลากหลายผลผลิตสิ นค้าแปรรู ปจากยางพารา
มีการดาเนินการจัดการอุตสาหกรรมยางพาราต่อเนื่องอย่างครบวงจร
เพิ่มรายได้จากการปลูกยางพารา โดยขายเป็ นสิ นค้าแปรรู ป และมีการ
จัดการด้านต้นทุนที่ดี
•
•
เกษตรกร
ผูป้ ระกอบการ
อุตสาหกรรม
ต่อเนื่อง
•
เพิ่มปริ มาณการผลิตอาหารฮาลาล โดยสนับสนุนให้มีผปู้ ระกอบการ
มากขึ้น
ผูป้ ระกอบการมีวิธีการที่ถูกต้อง มีมาตรฐานและมีตราสิ นค้าของกลุ่ม
ผูป้ ระกอบการ
•
•
เกษตรกร
ผูป้ ระกอบการ
อุตสาหกรรม
ขยายตลาดการค้าในต่างปรเทศ
ผูป้ ระกอบการธุรกิจส่งออกและนาเข้ามีทกั ษะในการดาเนินธุรกิจที่ดี
และมีความเข้มแข็ง
•
กลุ่มผูป้ ระกอบ
ธุรกิจนาเข้าและ
ส่งออก
ผูผ้ ลิต
•
•
•
•
โครงการสาคัญ ระดับกลุ่มจังหวัด
สาหรับการพัฒนายุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ ชายแดน
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
กลยุทธ์
โครงการด้ านการเกษตร
ระดับ
ความสาคัญ
1. วางแผนและ
ปรับตัวให้เข้ากับ
สถานการณ์การค้า
ยางพาราใน
ตลาดโลก
1.โครงการควบคุมพืน้ ทีใ่ นการปลูกยางให้ เหมาะสม
โดยการกาหนดพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูก
ยางพารา และประชาสัมพันธ์ปริ มาณพื้นที่การปลูก
ยางพาราทัว่ ประเทศให้เกษตรกรรับทราบ(ส่ วนกลาง
และกลุ่มจังหวัด)
มาก
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
กลยุทธ์
2.ส่ งเสริ มการ
ผลิตแบบครบ
วงจรเพื่อสร้าง
มูลค่าเพิม่ ทาง
เศรษฐกิจ
โครงการด้ านการเกษตร
ระดับ
ความสาคัญ
2.โครงการวิจัยการแปรรู ปผลิตภัณฑ์ จากยางพาราและไม้
ยางพารา
มาก
เพื่อเพิ่มมูลค่าและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่ชุมชน
สามารถผลิตได้เอง
3. โครงการสนับสนุนให้ มกี ารเพาะพันธุ์กล้ าไม้ ยางพารา
ในกลุ่มจังหวัด
เพื่อลดการนาเข้ากล้าไม้ยางพาราจากกลุ่มจังหวัดอื่น และเพิม่
โอกาสในการส่ งกล้าไม้ยางพาราภายในกลุ่มจังหวัดออกไปขายยัง
กลุ่มอื่นเพื่อป้ องกันไม่ให้ราคากล้าไม้ยางพาราสู งเกินไป
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
กลยุทธ์
2.ส่ งเสริ มการผลิต
แบบครบวงจรเพื่อ
สร้างมูลค่าเพิ่มทาง
เศรษฐกิจ
3.ขยายช่องทางการ
จัดจาหน่ายไปยัง
ตลาดใหม่ๆทั้ง
ภายในและ
ต่างประเทศ
โครงการด้ านการเกษตร
4.โครงการส่ งเสริม พัฒนาทักษะให้ กบั แรงงานและ
ส่ งเสริมการวิจัยเทคโนโลยีที่ใช้ แรงงานน้ อยลง
5.โครงการพัฒนาตลาดกลางสาหรับสิ นค้ ายาง
โดยเพิ่มพื้นที่การตลาดให้กว้างขึ้น ลดขั้นตอนการขายผ่าน
พ่อค้าคนกลาง เพิ่มช่องทางให้ผปู้ ระกอบการสามารถพบกับผูซ้ ้ือ
ได้โดยตรง
ระดับ
ความสาคัญ
ปานกลาง
มาก
1. ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา/ไม้ยางพารา
กลยุทธ์
โครงการด้ านการเกษตร
ระดับ
ความสาคัญ
3.ขยายช่องทางการ 6.โครงการสนับสนุนการดาเนินงานต่ อเนื่องจาก
จัดจาหน่ายไปยัง งานวิจัยต่ าง ๆ
ตลาดใหม่ๆทั้ง
โดยการสนับสนุนด้านเครื่ องจักร วิธีการ และเทคโนโลยี เช่น
ภายในและ
การผลิตยาง Compound, ยางแท่นฯ
ต่างประเทศ
มาก
7.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากยาง การแปรรู ป
ผลิตภัณฑ์ และสนับสนุนให้ ภาคเอกชนสร้ างตราสิ นค้ า
ของตัวเอง
มาก
เช่น การทาอวัยวะเทียม การทากระสุ นยาง เป็ นต้น
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
ระดับ
ความสาคัญ
1.ส่ งเสริ มเกษตรกร
และผูผ้ ลิตในการ
ผลิตตามมาตรฐาน
และกระบวนการ
ผลิตอาหารฮาลาล
ให้เป็ นที่ยอมรับใน
กลุ่มผูบ้ ริ โภค
1. จัดตั้งองค์ กร หรือคณะกรรมการร่ วม เป็ นหน่ วยงาน
เฉพาะกิจทีม่ ีส่วนเกีย่ วข้ อง เป็ น One stop service
มาก
เพื่อเป็ นหน่วยงานในการให้ความรู้ดา้ นมาตรฐาน ให้ความรู้ใน
เรื่ องของ Lab อาหารฮาลาล และ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
ฮาลาล ทั้งระบบ(ซึ่ งต้องปรึ กษากับคณะกรรมการอิสลามก่อน)
ประกอบด้วยคณะกรรมการอิสลามจังหวัด, อย., สาธารณสุ ข,
อุตสาหกรรมจังหวัด เป็ นต้น
2.โครงการพัฒนาบุคลากรในการให้ ความรู้ ด้าน
มาตรฐานด้ านการผลิตอาหารฮาลาล
มาก
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
ระดับ
ความสาคัญ
1.ส่ งเสริ มเกษตรกร
และผูผ้ ลิตในการ
ผลิตตามมาตรฐาน
และกระบวนการ
ผลิตอาหารฮาลาล
ให้เป็ นที่ยอมรับใน
กลุ่มผูบ้ ริ โภค
3. โครงการพัฒนาให้ โรงฆ่ าสั ตว์ ทมี่ อี ยู่แล้ วมีมาตรฐาน
และจัดประเภทให้ ถูกต้ อง
มาก
4.โครงการสร้ างศู นย์ วจิ ัยพันธุ์แพะ
ให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่และสภาพอากาศในภาคใต้ และมี
ความอดทนกับภูมิอากาศ โดยเฉพาะสายพันธุ์พ้นื เมือง
ปานกลาง
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
2.สนับสนุนการทา 5. โครงการศึกษา วิจัย ช่ องทางการจัดจาหน่ าย
การตลาดเชิงรุ ก ไป ทั้งภายใน และต่ างประเทศ
ยังต่างประเทศ
เช่น ศึกษามาตรฐาน สิ นค้าฮาลาล ของประเทศต่าง ๆ, ความ
ระดับ
ความสาคัญ
มาก
ต้องการของผูบ้ ริ โภคเพื่อเพิ่มโอกาสในการส่ งสิ นค้าฮาลาลไป
ขายยังตลาดใหม่ ๆ
6. โครงการสนับสนุนการสร้ างตราสิ นค้ าฮาลาลของ
กลุ่มจังหวัด / จังหวัด
เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กบั สิ นค้าฮาลาลในกลุ่มจังหวัดให้เป็ นที่
ยอมรับในระดับประเทศ
มาก
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
2.สนับสนุนการทา 7. โครงการจัดอบรมให้ กลุ่มผู้ผลิตชุ มชนมีความรู้ ใน
การตลาดเชิงรุ ก ไป การบริหารจัดการด้ านแผนธุรกิจ ตั้งแต่ ต้นนา้ -ปลายนา้
ยังต่างประเทศ
เช่น การจัดทาคลินิกอาหารฮาลาล ให้การให้ความรู ้ดา้ นการ
ระดับ
ความสาคัญ
มาก
วางแผนธุรกิจ
8. โครงการสนับสนุนให้ ชุมชนมีส่วนร่ วมในเครือข่ าย
การเกษตร หรือสถาบันการเกษตรต่ าง ๆ
เช่น จัดตั้งสหกรณ์ หรื อกลุ่มเครื อข่ายผูผ้ ลิตอาหารฮาลาล โดย
แยกตามประเภทสิ นค้า (cluster)
ปานกลาง
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
2.สนับสนุนการทา 9.จัดตั้งโครงการที่ปรึกษา การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหาร
การตลาดเชิงรุ ก ไป ฮาลาล
ยังต่างประเทศ
โดยการร่ วมมือกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และ
เอกชน ในการให้คาปรึ กษาแก่ผผู้ ลิตในการ เพิ่มมูลค่า, พัฒนา
บรรจุภณั ฑ์ฯ เช่นการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ของสิ นค้ากะปิ
ระดับ
ความสาคัญ
ปานกลาง
2. ด้านศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหาร/อาหารฮาลาล
กลยุทธ์
โครงการด้ านการท่ องเทีย่ ว
3.สร้างความมัน่ ใจ
10. โครงการจัดตั้งองค์ กรในการบริหารจัดการการ
ให้กบั ผูป้ ระกอบการ ผลิตอาหารฮาลาล (ดูแลควบคุมมาตรฐาน)
ภาคเอกชนในการ
เช่น ตัวอย่างในประเทศแคนนาดา
ลงทุนสร้างโรงงาน
แปรรู ปอาหารฮาลาลใน
พื้นที่และสร้างความ
มัน่ ใจแก่ผบู ้ ริ โภคใน
มาตรฐานสิ นค้าอาหาร
ฮาลาลของไทย
ระดับ
ความสาคัญ
มาก
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
1. พัฒนาบุคลากรให้มี 1. โครงการส่ งเสริมการสร้ างเครือข่ ายผู้ประกอบการ
ความพร้อม สาหรับ ธุรกิจขนาดเล็ก และผู้ลงทุนรายใหม่ ให้ มคี วามเข้ มแข็ง
การขยายตัวทาง
โดยจัดให้มีการสร้างเครื อจ่ายกลุ่มผูป้ ระกอบการในแต่ละพื้นที่
เศรษฐกิจ
อบรมและแลกเปลี่ยนความรู ้ซ่ ึงกันและกัน ในด้านต่าง ๆ เช่น
การเพิ่มทักษะด้านการบริ หารจัดการ การตลาด การพัฒนาบรรจุ
ภัณฑ์ เป็ นต้น
2. โครงการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั ผู้ประกอบการ
โดยให้ความรู้, และสนับสนุน กิจกรรม road show ต่าง ๆ
ระดับ
ความสาคัญ
ปานกลาง
มาก
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ระดับ
ความสาคัญ
1. พัฒนาบุคลากรให้มี 3. โครงการส่ งเสริมและสนับสนุนให้ ผ้ ปู ระกอบการ มี
ความพร้อม สาหรับ การสร้ างและใช้ เครื่องหมายการค้ า และทรัพย์ สิน
การขยายตัวทาง
ปัญญาทางพาณิชย์
เศรษฐกิจ
โดยมีการอบรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ และสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ในการจดทะเบียน
มาก
4. โครงการเตรียมความพร้ อมบุคลากรในการรองรับการ
เกิดท่ าเรือนา้ ลึกเพือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่ างประเทศ
มาก
โดยมีคณะกรรมการจัดทาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทาความ
เข้าใจกับชุมชนในผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่าง ๆ เช่น สิ่ งแวดล้อม
การจ้างงาน เป็ นต้น
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
1. พัฒนาบุคลากรให้มี 5. โครงการส่ งเสริมและพัฒนาบุคลากรของรัฐและ
ความพร้อม สาหรับ ผู้ประกอบการตามแนวชายแดนในการส่ งออกสิ นค้ า
การขยายตัวทาง
ในเรื่ องกฎระเบียบ, ภาษา, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯ
เศรษฐกิจ
6. โครงการอบรมบุคลากรให้ มคี วามรู้ในด้ านการประกอบ
ธุรกิจ นาเข้ าและส่ งออก
โดยมีคณะกรรมการจัดทาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทาความ
เข้าใจกับชุมชนในผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่าง ๆ เช่น สิ่ งแวดล้อม
การจ้างงาน เป็ นต้น
ระดับ
ความสาคัญ
มาก
มาก
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
2. ส่ งเสริ มกิจกรรม
และอานวยความ
สะดวก ในการขยาย
โอกาสทางการตลาด
ในทุก ๆ ด้าน
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ระดับ
ความสาคัญ
7. โครงการสรรหาสิ นค้ าและพัฒนาตลาดของต้ นแบบ
สิ นค้ าส่ งออก
ปานกลาง
เพื่อให้ได้สินค้าตามความต้องการของตลาด โดยคัดเลือกสิ นค้า
ที่มีศกั ยภาพในกลุ่มจังหวัด
8. โครงการศึกษา วิจัย แนวโน้ มการบริโภคสิ นค้ าของ
ผู้บริโภคต่ างประเทศ
เพื่อเพิม่ ช่องทางการขยายตลาด ในสิ นค้าใหม่ ๆ แก่
ผูป้ ระกอบการธุรกิจส่ งออก
มาก
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ระดับ
ความสาคัญ
2. ส่ งเสริ มกิจกรรม
และอานวยความ
สะดวก ในการขยาย
โอกาสทางการตลาด
ในทุก ๆ ด้าน
9. โครงการผลักดันให้ ผ้ บู ริหารระดับสู งในหน่ วยงานที่
เกีย่ วข้ อง ส่ งเสริมให้ เกิด One stop
service ทีบ่ ริเวณด่ านชายแดน ในกลุ่มจังหวัด
มาก
เพื่อให้ผปู้ ระกอบการสามารถเดินพิธีการส่ งออกและนาเข้าได้
สะดวกมากขึ้น
10. โครงการประชาสั มพันธ์ ระเบียบการค้ าที่มกี าร
เปลีย่ นแปลงให้ แก่ ผ้ ปู ระกอบการ
เพื่อให้ผปู้ ระกอบการสามารถปรับตัว และเตรี ยมความพร้อม
กับกฎระเบียบใหม่ ๆ ได้
มาก
2. ด้านการพัฒนาการค้าต่างประเทศ
กลยุทธ์
2. ส่ งเสริ มกิจกรรม
และอานวยความ
สะดวก ในการขยาย
โอกาสทางการตลาด
ในทุก ๆ ด้าน
โครงการด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
11. โครงการพัฒนาระบบ IT และอัตรากาลังให้ มี
ความพร้ อมในการให้ ข้อมูล
เพื่ออานวยความสะดวก รวดเร็ว และสนับสนุนข้อมูลด้าน
ต่าง ๆ แก่ผปู้ ระกอบการทางธุรกิจ
ระดับ
ความสาคัญ
มาก